幾個月前, 我接到 #加州大學法學院 的邀請, 希望我在國際法學期刊上發表一篇有關區塊鏈和加密貨幣的文章, 我想這也是對我在立法委員任內關注這個題目和推動政策的一項肯定吧, 我就答應的這個邀約, 我選了央行數位貨幣 (Central Bank Digital Currency, #CBDC), 題目訂的是: An Alternative Monetary System Reimagined:
The Case for Central Bank Digital Currency.
主要是探討各國央行CBDC 的策略和做法, 包含中國實行的數位人民幣 (e-RMB),也把台灣的案例也放進去, 央行目前實行的兩階段試驗, 這個文章除了分析CBDC之外, 也提出對於極權貨幣制度和去中心化貨幣制度的比較論點, CBDC實際的實行狀況還有一段時間和需要驗證的過程, 對於主權和發幣權的辯證也是需要被討論的觀點。無論如何,這個浪已起,我們是否乘浪或是被浪推倒, 端看我們的態度。
很高興這篇文章正式被刊在法學期刊了,今天飄洋過海來到台灣, 雖然還沒親自看到,甚感欣慰..特別要謝謝與我共同撰寫的蔡孟凌 我給了大致的方向,她做了大部分的功課,調研和校對, 如果沒有她這篇論文不可能完成.。
也特別感謝加州大學法學院 James Cooper 教授的邀請
#國際期刊發表成就解鎖
Extremely humbled to see the article that I author published on California Law Review. The article --An Alternative Monetary System Reimagined:The Case for Central Bank Digital Currency -- examines CBDC and several case studies including China and Taiwan. Clearly, it still takes time to prove implementation but the concept is being tested and technology is ready.
I am thankful for Professor James Cooper's invitation and my co-author Lindy Tsai's effort in making this possible. It is with great honor to be able to get my thoughts published on an international journal.
cbdc article 在 คอมคร้าบ Facebook 的最讚貼文
🎏 ไทยเตรียมศึกษาและพัฒนา "บาทดิจิทัล" ภายในปี พ.ศ. 2564-2565
.
หลังจากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ ธปท. (แบงก์ชาติ) ได้ออกมาเปิดเผยผลการพัฒนาระบบต้นแบบการชำระเงินในภาคธุรกิจโดยใช้ "สกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารกลาง" ผลปรากฏว่าเทคโนโลยีดังกล่าวสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การชำระเงินให้แก่ภาคธุรกิจได้เป็นอย่างดี
.
และทาง ธปท. ได้ออกมาเปิดเผยด้วยว่าภายในปี พ.ศ. 2564-2565 จะมุ่งเน้นการศึกษาและพัฒนาสกุลเงินดิจิทัลสำหรับภาคประชาชนใช้งานทั่วไป (Retail CBDC)
.
.
**อธิบายเพิ่มเติม CBDC ถือเป็น "สกุลเงิน" ในรูปแบบดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารกลาง ซึ่งมีคุณสมบัติในการเป็นสื่อกลางเพื่อชำระค่าสินค้าและบริการ สามารถรักษามูลค่า และเป็นหน่วยวัดทางบัญชีได้ ซึ่งต่างจากคริปโตเคอร์เรนซีอย่าง Bitcoin Ether หรือ Ripple ที่ออกโดยภาคเอกชน และมีมูลค่าผันผวนจากการใช้เพื่อเก็งกำไร จึงไม่เหมาะสำหรับการนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการชำระค่าสินค้าและบริการ
.
.
🧵 สำหรับโครงการ CBDC ที่ทดสอบการใช้กับภาคธุรกิจนั้น ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่เดือนมิถุนายนปี 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นของการชำระเงินในการรองรับการสร้างนวัตกรรมทางการเงินใหม่ ๆ ให้กับภาคธุรกิจ
.
โดยต้นแบบดังกล่าวใช้เทคโนโลยีประมวลผลแบบกระจายศูนย์ (Distributed Ledger Technology : DLT) เชื่อมต่อกับระบบบริหารการจัดซื้อ การวางบิล และการชำระเงิน ระหว่างเอสซีจีกับคู่ธุรกิจ (Suppliers)
.
ซึ่งผลการทดสอบพบว่าผู้ใช้สามารถกำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ใน CBDC (Programmable Money) ให้สอดรับกับกิจกรรมทางธุรกิจได้ดี เช่น การกำหนดเงื่อนไขให้มีการชำระเงินตามข้อมูลที่ระบุไว้ในใบแจ้งหนี้ (Invoices) ในธุรกิจ Supply Chain Financing และการกำหนดเงื่อนไขการชำระเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการเท่านั้น เพื่อลดปัญหาการบริหารเงินสด เป็นต้น
.
🎪 อย่างไรก็ดีระบบต้นแบบที่พัฒนาโดยใช้ DLT ยังมีข้อจำกัดบางอย่างอยู่เช่น ความสามารถในการรองรับปริมาณธุรกรรมจำนวนมาก และการปกปิดความเป็นส่วนตัวของธุรกรรมทางการเงิน ที่ยังคงต้องหาแนวทางจัดการทั้งในเชิงเทคโนโลยี หรือการออกแบบระบบต่อไป
.
เรียกได้ว่านี่เป็นครั้งแรกของ ธปท. ที่ขยายขอบเขต CBDC ไปสู่ผู้ใช้งานในภาคธุรกิจ ซึ่งถือเป็นก้าวสำคัญในการเตรียมความพร้อม เพื่อให้เท่าทันพัฒนาการของสกุลเงินดิจิทัลทั้งในและต่างประเทศที่อาจเข้ามามีบทบาทมากขึ้นต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเงินในอนาคต
.
ที่มา : https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/bot-cbdc-08032021
https://www.facebook.com/efinanceThai/photos/a.338126440488/10159057062395489/
.
ป.ล. ทำข่าวพี่จีนไปเมื่อบ่าย ตอนเย็นพี่ไทยก็เขากับเขาด้วยเหมือนกันแฮะ
-------------------------------------------------
ฝากกดติดตามด้วยนะครับ
YouTube : https://www.youtube.com/c/comcraftds
กรุ๊ป FB : https://www.facebook.com/groups/2594751244112180