Colorectal cancer awareness month - get to know your gut better and find out what we can do in terms of nutrition to care for our gut. Join a dietitian specialising in cancer, Mr.Ng Kar Foo and I tomorrow(14th March ) at 3.30pm on #talkinglifewithmeisze! C u then!
#cancerawareness #cancersurvivor #colorectalcancerawareness #nutrition #FBliveshow
colorectal cancer and nutrition 在 王姿允醫師。我的無齡秘笈。 Facebook 的最讚貼文
[飲食指引的商業利益、政治文化考量背景]
前幾天看到一個新聞,是美國醫師學會(American College of Physicians)編輯的「內科醫學年鑑」(Annals of Internal Medicine)公布了新指南,認為過去視為有害的紅肉「有害證據不夠」,建議「成人繼續攝取未加工的紅肉」,並「繼續攝取加工肉品」。
———————————————————————
在這裡說說我的想法。
過去美國的營養部由酪農業把持,所以國人飲食建議裡加入了牛奶的攝取(即使後來有很多喝牛奶到底好不好的爭議出現)。
過去地中海飲食建議每天來點紅酒有益心血管疾病,直到去年的權威期刊Lancet 雜誌推翻,發現不管什麼酒都會降低生存年限。義大利盛產紅酒,會有這樣的建議不意外。
看到這個新指引我其實有點不置可否,大腸直腸癌一直是我國癌症發生率及死亡率的第2位及第3位。
目前國際癌症研究基金會(IARC)把紅肉列為2A級「可能致癌」的癌症風險因子,而加工肉品(香腸、培根等)列為1級「確定致癌」的癌症風險因子。之前世界癌症研究基金會與美國癌症研究所也發表一份大腸癌的研究報告(Diet, Nutrition, Physical Activity and Colorectal Cancer, 2017),其中將紅肉列為「有強烈證據可能提高罹患大腸癌的風險」。
原因除了紅肉比起白肉屬於「高脂肪肉類」,高脂肪食物產生的自由基危害跟對腸道菌的破壞已經是鐵一樣的實證。再來,紅肉如果經過高溫燒烤,其中兩種胺基酸會形成異環胺(Herterocyclic amine),還有多環芳香烴(polyaromatic hydeocarbons, PAHs)。這兩類物質都會破壞DNA,是確定的致癌物。
而這些學者在分析過去研究後,認為每週少吃3份紅肉,每1000人可減少7人死亡。「降低的比率不高」所以可以繼續吃。
#這是非常不負責任的建議‼️
營養學的研究本來就存在許多限制,例如愛喝咖啡跟酒的人,可能有活躍的社交,所以結果發現有較高的生存率。少吃紅肉的人可能多吃了糖,少吃糖的人可能多吃了紅肉,你不是在「吃一模一樣食物的兩組人,一組多加紅肉,觀察追蹤若干年後的癌症跟死亡發生率」的前提下,就不該不負責任的建議民眾繼續食用一個「含有已知有致癌物」的食品。
這有點像菸的議題,菸裡面有確定的60種致癌物,連電子菸都有一級致癌物甲醛,但流行病學研究去觀察沒抽菸跟有抽菸的人,搞不好得肺癌的機率有抽菸的人高出沒抽菸的沒多少(廢話!!pm2.5跟旁邊的二手菸三手菸、廢氣每天吸,當然比一手菸更容易致癌!)
難道要因為「不抽菸的人得肺癌的機率沒有比較低」「所以大家可以繼續抽不用停沒關係」?
#真的太誇張的神邏輯
這位領導研究的加拿大教授居然告訴法新社:「不吃紅肉,癌症、心臟疾病與糖尿病風險會有非常小幅的降低,但證據不是那麼肯定。」
「所以有可能降低,也有可能不會降低。」
「大家要自行決定。」
—->那跟不抽菸的人未來得肺癌的機率有可能降低,也有可能妳每天吸pm2.5所以不會降低有何兩樣?!
提供攝取建議供大家參考,紅肉沒有完全不能碰,依國健署建議的一天3-8份的蛋豆魚肉奶,蛋白質來源最好2顆全蛋、剩下植物多於動物,動物最好挑低脂肉類,若是紅肉,一天不要超過兩份也就是70g約一塊手掌大的肉片。
#研究認為抗癌食物的豆類製品一堆人怕多吃
#研究認為可能致癌食物的紅肉卻一堆人想吃
#人類果然是鬼遮眼的生物
#拼命幫自己找理由又只相信自己想相信的
colorectal cancer and nutrition 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
"นมวัว ไม่ได้มีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง" ครับ
เจอคลิปของ "โค้ช" คนนึงที่ออกมาพูดโจมตีการดื่มนมวัว โดยอ้างว่าในน้ำนมวัวมีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง และจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีกมากมาย ... แต่จริงๆ ฮอร์โมนเอสโทรเจนในนมวัวนั้น มีอยู่น้อยมากนะครับ น้อยกว่าที่ร่างกายเราผลิตเองได้ และน้อยกว่าอาหารอื่น อย่างถั่วเหลือง อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่าเลย
"นมวัว ไม่ได้มีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง" ครับ
เจอคลิปของ "โค้ช" คนนึงที่ออกมาพูดโจมตีการดื่มนมวัว โดยอ้างว่าในน้ำนมวัวมีฮอร์โมนเอสโทรเจนสูง และจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีกมากมาย ... แต่จริงๆ ฮอร์โมนเอสโทรเจนในนมวัวนั้น มีอยู่น้อยมากนะครับ น้อยกว่าที่ร่างกายเราผลิตเองได้ และน้อยกว่าอาหารอื่น อย่างถั่วเหลือง อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่าเลย
ในน้ำนมวัวนั้นมีเอสโทรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนกลุ่มเสตียรอยด์ที่ผลิตมาจากแม่วัว ไม่ต่างอะไรกับในน้ำนมคนหรือของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ
แต่ปริมาณของฮอร์โมนกลุ่มเสตียรอยด์ทั้งหมดที่อยู่ในนม หรือผลิตภัณฑ์อาหารจากนมนั้น มีอยู่น้อยกว่าปริมาณที่ร่างกายของคนเราผลิตขึ้นเองตามธรรมชาติ อยู่เป็นแสนเป็นล้านเท่า
ตัวอย่างเช่น เนยที่มีปริมาณไขมัน 80 เปอร์เซนต์ จะมีเอสโทรเจนอยู่เพียงแค่ 1.9 นาโนกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค / น้ำนมหนึ่งแก้ว (8 ออนซ์ หรือ 236 มิลลิลิตร) มีเอสโทรเจนอยู่เพียง 2.2 นาโนกรัม ยิ่งถ้าเป็นนมพร่องมันเนยหนึ่งแก้ว มีเอสโทรเจนเหลือเพียง 0.8 นาโนกรัมเท่านั้น ... ขณะที่ร่างกายของคนเรา ทั้งหญิงและชาย จะผลิตเอสโทรเจนได้อยู่ในระดับตั้งแต่ 54,000 นาโนกรัมจนถึง 630,000 นาโนกรัมในแต่ละวัน (ข้อมูลจาก https://www.bestfoodfacts.org/is-there-estrogen-in-milk/)
ยิ่งถ้าดูจากภาพประกอบ (http://www.dairymoos.com/are-there-hormones-in-milk/) จะยิ่งเห็นชัดเลยว่า ไม่น่าจะต้องกังวลแต่อย่างไรถึงปริมาณของเอสโทรเจนที่เราจะได้รับจากการดื่มนม เมื่อเทียบกับที่ร่างกายผลิตขึ้น ไม่ว่าจะในเด็ก ผู้หญิง หรือผู้ชาย ... อาหารอย่างอื่น เช่น ถั่วเหลือง เต้าหู้ ยังจะมีเอสโทรเจนสูงกว่าในน้ำนมวัว มหาศาล
ส่วนเรื่องที่ว่า "ดื่มนม จะทำให้เป็นโรคมะเร็ง" นั้น ขอยกเนื้อหาที่เคยโพสต์ไว้ (https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJe…/…/400496943766698…) มาให้อ่านครับ ว่ามีงานวิจัยอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้บ้าง .. ซึ่งสรุปสั้นๆ ว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ไม่พบหลักฐานยืนยันว่าการดื่มนมในปริมาณปรกติจะทำให้เกิดมะเร็งขึ้น ครับ
-----------------
ประเด็นใหญ่เลย "การดื่มนมทำให้เป็นโรคมะเร็ง" จริงเหรอ .. หรือมันช่วยป้องกันมะเร็ง
นับเป็นประเด็นที่คนสับสนกันมากเวลาอ่านข่าวทางด้านการแพทย์ เพราะจะมีข่าวทำนองว่า มีงานวิจัยใหม่บอกว่าการดื่มนมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง ขณะที่ก็มีข่าวเช่นกันว่า พบว่าการดื่มนมช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งได้ เอาไงกันแน่
เรื่องนึงที่เราควรจะเรียนรู้กันก่อน คือว่า งานวิจัยเกี่ยวกับ "ความเชื่อมโยงระหว่างอาหารกับโรค" ทำนองนี้มันมีข้อจำกัดอยู่นะ เพราะมันเป็นการวิจัยเชิง "สำรวจ" โดยเอาสถิติไปประเมินว่าอาหารที่กินเข้าไปนั้นมีความสัมพันธ์ทางสถิติกับ "ความเสี่ยงที่จะเกิดโรค" แค่ไหน แต่ไม่ได้จะเป็นการพิสูจน์ใดๆ เลยว่าอาหารนั้นเป็น "สาเหตุ" ก่อให้เกิดโรค ... บ่อยครั้ง ที่งานวิจัยเชิงสำรวจแบบนั้น พบว่าผิดพลาด เมื่อนำไปทำการทดลองจริงทางการแพทย์
พวกงานวิจัยเกี่ยวกับนมและมะเร็งนั้น พบว่าแทบทั้งนั้นที่เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ มันจึงไม่ได้เป็นตัวพิสูจน์แต่อย่างไรว่า นมหรือผลิตภัณฑ์นมจะก่อให้เกิดโรค เพียงแค่บอกว่ามันมีความเชื่อมโยงกัน (ซึ่งสาเหตุของโรค อาจจะเป็นอย่างอื่น ที่บังเอิญไปเชื่อมโยงกับนิสัยการนิยมดื่มนม ก็เป็นได้)
เรามาลองดูงานวิจัยกันไปทีละชนิดของโรคมะเร็งแล้วกัน (ข้อมูลจาก https://www.healthline.com/nutrition/dairy-and-cancer…)
5.1 มะเร็งลำไส้ Colorectal Cancer
ผลการศึกษาวิจัยนั้น พบว่าส่วนใหญ่แล้ว จะเอียงไปในทางที่่ว่าผลิตภัณฑ์จากนมนั้นช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้ได้ (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21617020 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19116875 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19116875 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15240785 ) โดยองค์ประกอบบางอย่างในนมนั้น ที่น่าจะมีส่วนช่วยในการป้องกันมะเร็ง ได้แก่ แคลเซี่ยม วิตามินดี และแบคทีเรียที่ให้กรดแล็กติก ถ้าเป็นพวกนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต
5.2 มะเร็งต่อมลูกหมาก Prostate Cancer
งานวิจัยส่วนใหญ่ ระบุว่าการดื่มนมเป็นปริมาณมากๆ ในแต่ละวันนั้น จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก ( https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25527754 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16333032 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15203374 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/22190107) ที่เป็นเช่นนั้น อาจจะเป็นเพราะว่านมมีสารประกอบทางชีวภาพอยู่มากมายหลายชนิด บางชนิดช่วยป้องกันมะเร็ง แต่บางชนิดก็อาจให้ผลตรงกันข้าม เช่น สาร Insulin-like growth factor 1 (IGF-1) ฮอร์โมน Estrogen
5.3 มะเร็งกระเพาะอาหาร Stomach Cancer
งานวิจัยส่วนใหญ่ ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ระหว่างนมที่ดื่มเข้าไปกับการเกิดมะเร็งกระเพาะ (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25006674 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25923921 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25400475 ) ในน้ำนม มีทั้งสารที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งกระเพาะได้ เช่น สาร conjugated linoleic acid (CLA) และเชื้อแบคทีเรียโปรไบโอติก ในนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต แต่ก็มีสาร IGF-1 ที่อาจกระตุ้นให้เกิดมะเร็งกระเพาะได้
5.4 มะเร็งเต้านม Breast Cancer
โดยรวมแล้ว งานวิจัยบอกว่าผลิตภัณฑ์นมไม่ได้ส่งผลกระทบอะไรกับการเกิดโรคมะเร็งเต้านม (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15213021 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11914299 https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24330083 ) และงานวิจัยบางงานก็บอกว่า ผลิตภัณฑ์จากนมนั้นช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมอีกด้วย ( https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21442197 )
แล้วอย่างนี้เราควรจะดื่มนมได้มากแค่ไหนถึงจะปลอดภัย ... คำแนะนำคือ ควรจะดื่มทุกวัน แต่ไม่ควรจะเกินวันละ 2 แก้ว (ซึ่งถ้าเกินกว่านี้ จะเป็นระดับที่เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก)