ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน กำลังมีสัดส่วนลดลงเรื่อย ๆ /โดย ลงทุนแมน
รู้หรือไม่ว่า จากการจัดอันดับ 10 มหาเศรษฐีชาวมาเลเซียที่มีทรัพย์สินมากที่สุดโดยนิตยสาร Forbes
จะเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนถึง 9 คน
ปี 2020 ประเทศมาเลเซียมีจำนวนประชากรที่ถือสัญชาติมาเลย์ทั้งหมด 29.7 ล้านคน
- 69.6% คือจำนวนประชากรภูมิบุตร หรือชาวมาเลเซียเชื้อสายมาเลย์ที่นับถือศาสนาอิสลาม
- 22.6% คือจำนวนชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน
- 7.8% คือจำนวนชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดียและอื่น ๆ
จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ถึงแม้จะเป็นมหาเศรษฐีอันดับต้น ๆ ของประเทศ
สร้างผลประโยชน์ให้กับเศรษฐกิจของมาเลเซียมากมาย
แต่ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน ก็ยังคงมีจำนวนประชากรที่เป็นส่วนน้อยของประเทศ
และสัดส่วนนี้ก็กำลังจะลดน้อยลงเรื่อย ๆ ..
เรื่องราวนี้น่าสนใจอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์ระหว่างชาวจีนกับมาเลเซีย ต้องย้อนกลับไปในช่วงต้นศตวรรษที่ 15
ซึ่งเป็นช่วงแรกของการเดินทางมายังดินแดนแห่งนี้ของชาวจีน
จากการที่ราชวงศ์หมิงจากจีนและอาณาจักรมะละกามีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
จึงทำให้มีชาวจีนมากมายเดินทางมาค้าขายที่ดินแดนแห่งนี้เรื่อยมา
ความอุดมสมบูรณ์ ทำให้พ่อค้าชาวจีนบางกลุ่มได้ตัดสินใจตั้งรกรากที่นี่
และได้มีการแต่งงานข้ามเชื้อชาติกับชาวมาเลย์
โดยลูกหลานของชาวจีนที่แต่งงานกับชาวมาเลย์จะถูกเรียกว่า “เปอรานากัน”
ซึ่งในภาษามาเลย์แปลว่า “เกิดที่นี่”
ชาวเปอรานากันคือกลุ่มลูกครึ่งมาเลย์-จีนกลุ่มแรก ที่สร้างวัฒนธรรมแบบผสมผสาน
และเป็นต้นแบบของการอยู่ร่วมกันในสังคมที่หลากหลายของมาเลเซีย
การเปลี่ยนแปลงสำคัญ คือช่วงศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา
ซึ่งตรงกับช่วงประเทศจีนเกิดความวุ่นวายมากมาย ทั้งการปฏิวัติซินไฮ่ สงครามมหาเอเชียบูรพา และการปฏิวัติของพรรคคอมมิวนิสต์
ด้วยปัญหามากมายของประเทศจีน จึงทำให้ชาวจีนจำนวนมากอพยพไปยังต่างประเทศ
ด้วยความต้องการชีวิตที่ดีกว่า โดยจุดหมายยอดนิยมในสมัยนั้นก็คือประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไม่ว่าจะเป็น ไทย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และมาเลเซีย
ซึ่งในขณะนั้น ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่ยังถูกปกครองโดยเจ้าอาณานิคมชาวตะวันตก โดยประเทศที่ถูกปกครองโดยจักรวรรดิอังกฤษในสมัยนั้นจะถูกวางรากฐานทางด้านการเมือง การศึกษา เศรษฐกิจ และโครงสร้างพื้นฐานเป็นอย่างดี
ประกอบกับในสมัยนั้น อังกฤษต้องการแรงงานจำนวนมากเพื่อที่จะทำงานในเหมืองแร่และการเกษตร
ด้วยเหตุนี้เอง จึงทำให้บริติชมาลายา หรือมาเลเซียในปัจจุบัน
กลายเป็นหนึ่งในจุดหมายที่ชาวจีนนิยมย้ายมาตั้งถิ่นฐาน
ชาวจีนในมาเลเซียและประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค มีความเหมือนกันตรงที่พวกเขาอพยพมาแค่เสื่อผืนหมอนใบ ไม่มีอะไรติดตัวมาเลย นอกจากความหวังในการแสวงหาชีวิตที่ดีกว่าจีนแผ่นดินใหญ่ จึงทำให้ชาวจีนโพ้นทะเลมีความขยันขันแข็งและหนักเอาเบาสู้
ด้วยความที่ไม่เกี่ยงงาน จึงทำให้คนจีนได้เป็นลูกจ้างในงานที่คนมาเลเซียเดิมไม่อยากทำ
ไม่ว่าจะเป็นงานในหมืองแร่ สวนยางพารา สวนปาล์ม หรือตำแหน่งที่อยู่หน้างานเป็นหลัก
เวลาผ่านไปเรื่อย ๆ ส่งผลให้คนจีนสามารถขยับตัวมาเป็นพ่อค้าแม่ค้าหรือนักธุรกิจ
ที่ทำมาค้าขายจนสามารถสร้างเนื้อสร้างตัวจนกลายเป็นเชื้อชาติที่มีฐานะมากที่สุดในมาเลเซีย
ข้อมูลจาก MIROnline ระบุว่าชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนจะมีรายได้เฉลี่ยมากกว่าเชื้อชาติอื่น ๆ ในมาเลเซีย
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมีความแตกต่างกับชาวไทยเชื้อสายจีนตรงที่ ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนยังคงตั้งชื่อลูกหลานของตัวเองเป็นชื่อภาษาจีน และจะใช้ภาษาจีนในการสื่อสารกับชาวจีนด้วยกันเอง
ด้วยเหตุนี้เอง ทำให้ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมีความได้เปรียบทางด้านภาษาที่สามารถสื่อสารทั้งภาษาจีน, ภาษามาเลย์ และภาษาอังกฤษ จึงทำให้สามารถได้รับโอกาสจากบริษัทข้ามชาติและการค้าขายระหว่างประเทศมากกว่าเชื้อชาติอื่น ๆ
ซึ่งไม่เหมือนกับชาวไทยเชื้อสายจีน ที่จะมีชื่อเป็นภาษาไทยและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
จากเชื้อชาติที่เริ่มต้นจากศูนย์ กลับกลายมาเป็นเชื้อชาติที่สามารถวางรากฐาน
ให้กับเศรษฐกิจของมาเลเซียมากมาย..
ไม่ว่าจะเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดและมีมูลค่ามากที่สุดในตลาดหลักทรัพย์มาเลเซียอย่าง Maybank ก็ถูกก็ตั้งโดยชาวจีนชื่อว่าคุณ Khoo Teck Puat
แอปพลิเคชันที่คนไทยใช้สั่งอาหารออนไลน์อย่าง Grab ก็ถูกก่อตั้งโดยคุณ Anthony Tan
ซึ่งเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน เช่นกัน
จากข้อมูลของ Department of Statistics Malaysia ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของรัฐบาลมาเลเซีย
ในปี 2010 จากจำนวนประชากรที่ถือสัญชาติมาเลย์ทั้งหมด 26.0 ล้านคน
มีชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน 6.4 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน 24.6%
ปี 2020 จากจำนวนประชากรที่ถือสัญชาติมาเลย์ทั้งหมด 29.7 ล้านคน
มีชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน 6.7 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน 22.6%
ถึงแม้ว่าประชากรเชื้อสายจีนจะเพิ่มมากขึ้น แต่เมื่อเทียบกับสัดส่วนของประชากรมาเลเซียทั้งหมดแล้ว ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนกำลังมีสัดส่วนลดน้อยลงเรื่อย ๆ
ภายในปี 2030 สัดส่วนของคนเชื้อสายจีน ถูกคาดว่าจะเหลือเพียง 19.6%
สาเหตุหนึ่งมาจากอัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลง แต่สาเหตุสำคัญมาจากการอพยพออกนอกประเทศของคนเชื้อสายจีน โดยรัฐบาลมาเลเซียคาดการณ์ว่า
มีคนเชื้อสายจีนอพยพออกนอกประเทศไม่ต่ำกว่า 300,000 คน ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
สาเหตุหลักของการอพยพออกนอกประเทศมากขนาดนี้ เกิดจากความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติในมาเลเซียที่มีมาเป็นเวลานาน
จุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง คือเหตุการณ์ในปี 1969 ซึ่งเกิดการปะทะกันระหว่างชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนและมาเลย์
เหตุการณ์ดังกล่าวมีสาเหตุมาจากการที่พรรคพันธมิตรฝ่ายค้าน ซึ่งมีสมาชิกส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน และมีนโยบายเน้นความเสมอภาคของทุกเชื้อชาติในประเทศ สามารถคว้าที่นั่งในสภาได้ถึง 38 ที่นั่ง ซึ่งมากที่สุดเป็นประวัติศาสตร์ ส่งผลให้สมาชิกพรรคพันธมิตรฝ่ายค้านและชาวจีนออกมาเดินขบวนแสดงความดีใจเป็นจำนวนมาก
การเดินขบวนของชาวจีนในครั้งนั้น สร้างความไม่พอใจให้กับชาวมาเลย์จำนวนมาก จึงทำให้พรรค UMNO ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซียได้มีการตอบโต้โดยการรวบรวมชาวมาเลย์มาเดินขบวนเช่นกัน
กระแสความเกลียดชังต่อชาวจีนที่ได้ถูกจุดมาสักระยะหนึ่งแล้วจากความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และที่สำคัญที่สุดก็คือความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชาวจีนและมาเลย์
สุดท้ายปัญหานี้ก็ได้ระเบิดขึ้น ส่งผลให้ชาวมาเลย์มากมายออกมาเดินขบวน จนกลายเป็นการปะทะกันระหว่างชาวมาเลย์และชาวจีน
เหตุการณ์ดังกล่าวกินเวลานานถึง 2 เดือน ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 100 คน
และมีผู้บาดเจ็บนับไม่ถ้วน ยังไม่รวมความเสียหายในด้านทรัพย์สินอีกมากมาย
หลังจากการปะทะที่นองเลือดได้สิ้นสุดลง รัฐบาลมาเลเซียที่นำโดยพรรค UMNO ได้ประกาศนโยบายเศรษฐกิจใหม่หรือ “นโยบายภูมิบุตร” เพื่อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจในประเทศ
ลดฐานะความยากจนของคนเชื้อสายมาเลย์ และเพิ่มความสามัคคีของคนในชาติ
นโยบายดังกล่าวจะสนับสนุนเฉพาะชาวมาเลเซียที่สืบเชื้อสายมาเลย์ และนับถือศาสนาอิสลามเท่านั้น โดยจะได้สิทธิพิเศษทั้งด้านการศึกษา การสงวนที่ดินบางส่วน ตำแหน่งข้าราชการบางตำแหน่ง และสิทธิพิเศษอื่น ๆ อีกมากมาย
นโยบายดังกล่าวถูกวิพากษ์วิจารณ์โดยชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนและอินเดียจำนวนมาก
โดยถูกมองว่าเป็นนโยบายที่เอาเปรียบคนเชื้อชาติอื่น ๆ มีความเป็นสองมาตรฐาน
ทำให้ชาวจีนและอินเดีย กลายเป็นประชากรชนชั้นสองของประเทศไปในที่สุด
แม้ปัจจุบันนี้ฐานะของคนมาเลย์จะดีขึ้นกว่าเดิมมาก ซึ่งเป็นผลสำเร็จของนโยบายภูมิบุตร
แต่นโยบายดังกล่าวยังคงมีอยู่ต่อไป โดยไม่มีทีท่าว่าจะเปลี่ยนแปลง..
ด้วยความเหลื่อมล้ำนี้เอง ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนจึงเริ่มอพยพไปยังประเทศอื่น ๆ
เพื่อมองหาความเสมอภาคทางเชื้อชาติ และโอกาสทางธุรกิจที่ดีกว่า
ชาวจีนที่มีความสามารถ ส่วนหนึ่งเลือกที่จะไปทำงานที่สิงคโปร์เนื่องจากความคล้ายคลึงกันของวัฒนธรรมของชาวจีนทั้งในมาเลเซียและสิงคโปร์ รองลงมาก็จะเป็นออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และแคนาดา
ตัวอย่างที่เราพอจะเห็นได้ในปัจจุบัน เช่น บริษัท Grab Holdings Inc. หรือ Grab ที่ได้ย้ายสำนักงานจากมาเลเซียไปตั้งที่สิงคโปร์ หรือ คุณ James Wan ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง The Conjuring ที่ได้อพยพไปยังออสเตรเลีย และถือสัญชาติออสเตรเลียเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
การอพยพไปยังประเทศอื่นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดภาวะสมองไหล ที่จะทำให้สูญเสียแรงงานที่มีทักษะสูง และมีประสิทธิภาพที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
รัฐบาลมาเลเซียพยายามแก้ปัญหานี้โดยจัดตั้งโครงการ TalentCorp เพื่อที่จะดึงดูดชาวมาเลเซียที่เป็นแรงงานทักษะสูงในต่างประเทศให้กลับมาทำงานที่บ้านเกิด
เว็บไซต์ Malay Mail ระบุว่าโครงการดังกล่าวสามารถดึงดูดชาวมาเลเซียได้เพียง 3,000 คน เท่านั้น
จากจำนวนแรงงานมาเลเซียที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลก
ตราบใดที่นโยบายภูมิบุตรยังคงมีอยู่ต่อไป ก็เป็นไปได้ว่า
มาเลเซียกำลังสูญเสียทรัพยากรที่มีค่าที่สุดของประเทศไปเรื่อย ๆ
ไม่มีใครรู้ว่าอนาคตทางเศรษฐกิจของมาเลเซียจะเป็นอย่างไร เมื่อกำลังสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจกำลังลดน้อยลงทุกที..
นโยบายภูมิบุตรของมาเลเซียจึงนับเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
เพราะนโยบายนี้เกิดขึ้นมา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
แต่สุดท้ายกลับกลายเป็น สร้างความเหลื่อมล้ำครั้งใหม่ ขึ้นมาเสียเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.dosm.gov.my/v1/index.php?r=column/ctheme&menu_id=L0pheU43NWJwRWVSZklWdzQ4TlhUUT09&bul_id=MDMxdHZjWTk1SjFzTzNkRXYzcVZjdz09
-https://www.dosm.gov.my/v1/index.php?r=column/cthemeByCat&cat=155&bul_id=OVByWjg5YkQ3MWFZRTN5bDJiaEVhZz09&menu_id=L0pheU43NWJwRWVSZklWdzQ4TlhUUT09
-https://www.forbes.com/real-time-billionaires/#7f178efb3d78
-https://www.mironline.ca/malaysias-chinese-population-leaving-droves/
-http://km-ir.arts.tu.ac.th/files/original/d110118c633ff3969f6916f77579af60f4db8275.pdf
-http://factsanddetails.com/southeast-asia/Malaysia/sub5_4c/entry-3645.html
-https://www.straitstimes.com/asia/se-asia/falling-malaysian-chinese-population-worrying-analysts
-http://www.aseanthai.net/sub_convert.php?nid=4300
-http://aseancities.net/?p=800&lang=th
-https://www.bbc.com/news/world-asia-22610210
-https://www.malaysianbar.org.my/article/news/legal-and-general-news/general-news/the-tragedy-of-may-13-1969
-https://www.malaymail.com/news/what-you-think/2020/07/06/brain-drain-in-malaysia-why-malaysians-dont-want-to-come-back-home-rueben-a/1881901
「department of statistics malaysia」的推薦目錄:
department of statistics malaysia 在 Isaactan.net Facebook 的最佳解答
3 Family Cars That Make Driving Fun
https://www.isaactan.net/2019/10/3-family-cars-that-make-driving-fun.html
department of statistics malaysia 在 Auguste關德輝 Facebook 的精選貼文
所以马来西亚最大的问题是。不。投。票。
如果感觉失望的人民不是选择不投票,而是积极投票,1999年烈火莫息时早就换政府了!
<2018 大选 (一): 什麼才是我們最大的問題>
GE14 大選應該很快就要到了。可能就是幾個月以內的事。
很多人覺得大選是要評審政府的時候。但其實,它也是評估我們馬來西亞人民的智慧、勇氣和素質的時候。也考驗著我們對民主制度的了解,民主程序的意義,還有政治知識的滲透有多少。
在過去五年裡發生的事情,國際上的政治觀察家和媒體,到了這一天,會張大眼睛看我們怎樣反應。我們國家的政府鬧上近代來牽連最廣的挪用公款事件,被幾個國家的司法部和銀行徹查著,被不少國際媒體報導著,Wall Street Journal, Bloomberg。在那樣震撼的醜聞的前提下,我們是無動於衷,姑息養奸,嘻哈作樂,不當一回事,還是,把那樣的政權,投反對票,拉下來。如果是不當一回事,那大選後的國際頭條就會是:
“馬來西亞人民作出了選擇,依然保持原狀讓前任政府繼續執政。雖然這顯得有點難以置信。”
過去的 505,我們反對票得到強大的勝利,拿到 51% 選票,國陣只拿 47%。之後大家都朗朗上口說我們是 51%的那群。然後因為我們勝了人數卻輸了選舉,開始有人覺得要變天,太難了,難道要贏得 70% 嗎?
那,我們真的是 51% 嗎?
其實不是的。
這些日子以來,一直看著大選的數據。發現到我們並沒有看到事情的全貌。我們要看的,其實是 Voting Age Population (VAP)。那是大馬可以投票的總人口(21歲及以上)。我從一個叫 IDEA (International Institute for Democracy and Electoral Assistance) 的網站找到VAP 的數據,然後自己再去 Department of Statistics Malaysia 找到了 直到 2015 年的大馬人口結構數據,做了簡單的計算,得到跟 IDEA 大約相近的 VAP 數據 (除了 1999 IDEA 的數據有點脫線)。
以下是 2013 的大選數據:
BN: 5,237,699
PR: 5,623,984
但是我們要再看幾個數字:
Voting Age Population: 17,883,697-18,400,570
Registered but didn't vote: 2,010,855
Didn't registered: 4,615,695-5,132,568
Total didn't vote: 6,626,550-7,143,423
以 VAP 為總數的巴仙率的話:
BN: 28.46%-29.29%
PR: 30.56%-31.45%
Didn't vote: 37.05%-38.82%
我們反對票只是在這個國家佔 30%。
最多的一群,其實是,不投票的一群,達到六百六十萬到七百一十萬人,而國陣只有區區的五百二十萬人吧了。
七百萬人沒投票,決定了這個國家的命運。就是在那麼多人那麼努力想要拯救這個國家的時候,上街反抗暴政,付出了心血生命的時候,七百萬大馬人,選擇了無動於衷,在家裡,什麼也不做,覺得事不關己,覺得政治不是嚴肅的事,覺得自己的個人選擇對大局沒影響的自我良好感覺下,選擇不投票,結果,國陣漂亮的贏了這個國家,雖然他們只有 28% 或 29% 的支持率。
難以置信,是不是?
讓我們再看之前幾屆大選的成績,會更令人吃驚。因為 2013 年大選是個全民熱烈出動呼籲投票的一次,所以那時其實已經比之前好很多了。之前,更糟。
1995:
Voting Age Population: 9,671,410-10,175,010
BN: 3,881,214 (38.14%-40.13%)
Total didn't vote: 3,518,601-4,022,201 (36.38%-39.53%)
1999 :
Voting Age Population: 11,216,640 (沒有IDEA 數據,因為不太準確,只拿我自己的估算)
BN: 3,748,511 (33.42%)
Opposition: 2,667,818 (23.78%)
Total didn't vote: 4,585,546 (40.88%)
2004 :
Voting Age Population: 13,485,960-13,802,493
BN: 4,420,452 (32.03%-32.78%)
Opposition: 2,356,338 (17.07%-17.47%)
Total didn't vote: 6,216,604-6,533,137 (46.10%-47.33%)
2008 :
Voting Age Population: 15,283,282-15,698,540
BN: 4,082,411 (26.01%-26.71%)
PR: 3,796,464 (24.18%-24.84%)
Total didn't vote: 7,122,243-7,537,501 (46.60%-48.01%)
1999 年烈火莫息的時候,國陣支持率明顯變低了。但這些人並沒有完全變成反對票,反而不投票。結果?國陣依然拿下政權。如果這四百多萬人把他們對政治的死心轉換成反對票,國陣早在二十年前就倒台了。
2004年,2008年,不投票的巴仙率越來越恐怖,甚至去到接近一半的成年馬來西亞人沒有去投票。差不多等於投給國陣和反對黨的人數的總和。2008 年國陣的支持率暴跌,讓民聯拿超過三分一國會議席,否決了國陣三分二,但是那一年,也是不投票達到高峰的一年(46%-48%)。如果這些人投票的話?國陣早就在十年前倒台了。
所以我們最大的問題是,我。們。不。投。票。
不投票的人,一直都是這些年來佔最多數的一群。不投票一直讓國陣穩坐寶座,甚至拿下三分二。過去六十多年來,我們也只有過去兩屆才很辛苦的否決了三分二,停止他們繼續修改憲法。
所以,最可怕的是國陣嗎?不是,最可怕的是冷漠及在逃避政治的我們,國陣只不過有區區的平均 30%支持者,不投票的人在過去卻有超過45%接近50%一半的人口。是誰真正讓小部分人統治著大部分人的?是選區劃分嗎?不完全是。真正讓馬來西亞被小眾統治大眾的,是我們自己,因為我們放棄了民主制度,以為單獨的放棄行為不影響整體,而直接造就這個國家命運被擺佈被玩弄被獨裁統治。
不投票,才是我們的常態。我們只是在上一屆出盡全力,才勉強改善一點。
我真的不曉得要如何再強調,投票的重要性。我們繼續不投票,不單止國陣會更腐敗,反對黨,也會慢慢變質來取得更大的支持。如果沒能在 45% 不投票的人口裡拉攏過來,反對黨唯有變得越來越像國陣,從國陣那邊的支持者,拉攏人數過來,取得勝利。這也是現在發生的事。
我們越遲讓這六十年腐敗政權下台,只會把規則定得越低、越爛,因為我們等於告訴一切政治工作者,要拿下馬來西亞政權,只能變得越像國陣。為什麼呢?很簡單的邏輯啊,做國陣可以六十年不倒,做好人不會贏,那誰還要做好人?
七百萬沉默的大多數啊,你們是不是要醒來救救這國家了?你們再不投票,一切可能沒法再扭轉了。
每當前線的政治工作者在奮鬥的時候,誰挑戰誰,就看到有人在面書裡說,“這次有好戲看了”。
我想說,在這一切的抗爭裡,我們從來都不是觀眾。我們都是正在台上演著戲的一份子。一個國家的最大悲哀,莫過於其人民以為自己是觀眾,但其實,他們都是主角,影響一切的主角。
現在要做什麼呢?
去登記成為選民。
真的,懇求你。
雖然已經很遲,但不要再管那麼多,去郵政局登記就是了。
那些已經登記的五百萬人要做什麼?全力發揮你在你社交圈子的影響力,去保證你身邊不再有21歲以上公民是還沒登記的,登記之後在當天一定要投票。
因為你的社交圈不等同於我的社交圈,你擁有別人無法達到的群體,你擁有只有你可以達到的城鎮,學校,行業,興趣小組和年齡層,你,有你獨特的力量 。
也因為你只有一票,如果今天到投票日那天你靜靜不出聲只是默默地去投票,你沒法更大地扭轉現在的劣勢。唯有去宣傳你的想法,你的投票選擇,你的一票才可以發揮最大的力量。因為我們現在面對的,不是一小批人,而是六七百萬不投票的人。
一個國家偉大因為其人民偉大。一個國家有素質因為其人民有素質。國家即是我們,我們即是國家的縮影。我們要令這國家被人瞧得起,我們自己需要先令人瞧得起。
政治是生命的一部分。生命有時很累,政治有時很累,我知道。累了,可以歇息。但當這個世界需要到我們的時候,向我們求救的聲音響起時,我們還是要站出來,做我們該做的部分。
號角聲已近,是時候了。
(資料來源會放在下面的 comment 處。)
department of statistics malaysia 在 Department of Statistics, Malaysia | Putrajaya - Facebook 的推薦與評價
Department of Statistics, Malaysia. 39947 likes · 1200 talking about this · 4759 were here. For Official Correspondences, please visit... ... <看更多>