QGEN - HR Practice Provider
ถ้าหากองค์กรฝากความหวังไว้ที่ "คน" องค์กรและ Leader ก็ต้องทำความเข้าใจ และใส่ใจในเรื่อง Employee Experience ให้มากพอ
Employee Experience หรือ EX เป็นอีกหนึ่งเรื่องประยุกต์จากการบริหารและจัดการลูกค้า ถ้าองค์กรและผู้บริหารเข้าใจ Customer Journey เป็นอย่างดี ก็อาจจะไม่ยากที่จะทำความเข้าใจ Employee Journey และ Employee Experience เพียงแค่ปรับมุมมองขององค์กรและผู้บริหาร ให้มองพนักงานเป็นลูกค้าคนนึง และสินค้าที่องค์กรมีให้กับลูกค้าประเภทนี้ก็คือ
งานที่มีคุณค่าในองค์กรที่ควรค่าที่จะทำงานด้วย
แปลเป็นภาษาที่ซับซ้อนน้อยลงหน่อยคือ องค์กร ผู้บริหาร รวมไปถึง HR ต้องร่วมมือกันในการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับพนักงานตั้งแต่ก่อนที่พนักงานจะรู้จักองค์กร จนมาเริ่มร่วมงานกับองค์กร ยาวไปจนถึงแยกย้ายไปจากองค์กรไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม
ผมยกตัวอย่างให้พอเห็นภาพ ถ้า Target Candidate ค้นหาชื่อบริษัทเราใน Search Engine แล้วไม่เจอ Website บริษัท เราคิดว่านั่นคือประสบการณ์ที่ดีของเค้ามั้ย หรือถ้าเจอ Website บริษัท แต่เป็น เวอร์ชันเก่ามากในขณะที่เราบอกทุกคนว่า บริษัทเราคือบริษัทที่ให้ความใส่ใจเรื่องเทคโนโลยี นั่นคือประสบการณ์ที่ดีที่เราให้เค้า ตั้งแต่ก่อนที่เค้าจะเข้ามาสมัครงานกับเราใช่มั้ย
แล้วทำไมองค์กรถึงต้องให้ความสำคัญกับ EX
อย่างที่เปิดหัวข้อมา อย่างแรกถ้าองค์กรบอกว่า เราจะเดินไปข้างหน้าได้ด้วยศักยภาพของคนเป็นสำคัญ ไม่ใช่แค่ศักยภาพของ Process หรือการมีเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ดีกว่าคนอื่น ๆ นี่แหละคือคำตอบแรกว่าทำไมเราถึงต้องใส่ใจใน EX
แล้วยิ่งย้ำไปอีกว่า สิ่งที่เราอยากได้จากคนของเราคือ Productivity เราก็ต้องถามตัวเราเองอีกเหมือนกันว่า องค์กรได้ส่งเสริมประสบการณ์ที่ดีที่มากพอให้พนักงานอยากที่จะ Productivity แค่ไหน ยิ่งเราอยู่ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเกิดขึ้นตลอดเวลา เทคโนโลยีที่บริษัทใช้อยู่ในตอนนี้ ทำให้พนักงานสัมผัสได้จริงๆ ใช่มั้ยว่าบริษัทได้พยายามสร้างประสบการณ์ที่ดีในการทำงานให้กับพนักงานอยู่
Employee Experience ที่ดีในทุกขั้นตอนของ Employee Journey จะส่งผลต่อ Employee Engagement และ Employer Branding ซึ่งนันแหละครับ ผลลัพธ์ที่ส่งผลต่อ Performance ขององค์กร
แล้วทีนี้ Employee Experience หรือ EX จะเริ่มต้นยังไง QGEN มีอยู่ 3 องค์ประกอบสำคัญที่เราต้องทำความเข้าใจ เพื่อวางแผนและออกแบบ EX ให้เหมาะกับองค์กรและพนักงานของเรา
อย่างแรก Organization Goal เป้าหมายขององค์กรของเราคืออะไร แล้วเป้าหมายเหล่านั้น พึ่งพาคนแค่ไหน เพื่อให้กำหนดได้ชัดเจนว่า ระดับของ EX ที่เราจะไป ไม่น้อยเกินไปหรือไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่ไม่สร้างผลลัพธ์ให้กับองค์กร
ถัดมาคือการทำความเข้าใจกับ Employee Needs ทั้งความคาดหวังที่จับต้องได้ และ Emotional หรืออารมณ์ร่วมของพนักงาน
และเรื่องสุดท้ายคือ Employee Journey & Key Touchpoint เพื่อที่เราจะออกแบบได้ถูกต้อง ตรงประเด็นและตรงสถานการณ์
Employee Experience หรือ EX อาจจะเป็นเรื่องใหม่สำหรับหลายองค์กร แต่ถ้าพิจารณากันให้ดี เราอาจจะลงมือทำไปแล้วโดยปริยาย สิ่งที่เราต้องคิดต่อก็คือ ทำอย่างไรให้ได้มาตรฐาน และยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น เพื่อให้ Employee Experience ที่เราตั้งใจสร้างขึ้นมา ส่งผลต่อไปยัง Employee Engagement และ Employer Branding อย่างเป็นรูปธรรม
#EmployeeExperience
#QGEN
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過244萬的網紅メンタリスト DaiGo,也在其Youtube影片中提到,📘この動画内で紹介したおすすめ動画・ニコニコ動画は 知識のNetflix【Dラボ】で見放題! 今なら20日間無料→https://daigovideolab.jp/ 🐈 3日坊主でも続く【習慣維持の7つのルール】 →【今なら20日間無料】https://daigovideolab.jp/ ▶︎...
employee productivity 在 IEObserve 國際經濟觀察 Facebook 的最讚貼文
減薪換一週工作四天,應該蠻多人願意接受的?
原薪每週工作四天不太可能對企業來說划算
employee productivity 在 Daphne Iking Facebook 的最佳解答
TOXIC WORK CULTURE MAKES BEST PEOPLE QUIT!
By Brigette Hyacinth.
Whenever a boss acts like a dictator – shutting down, embarrassing, or firing anyone who dares to challenge the status quo – you’ve got a toxic workplace problem.
And that’s not just because of the boss’ bad behavior, but because that behavior creates an environment in which everyone is scared, intimidated and often willing to throw their colleagues under the bus, just to stay on the good side of the such bosses.
A toxic company culture will erode an organization by paralyzing its workforce, diminishing its productivity and stifling creativity and innovation.
Now more than ever business leaders need to be addressing issues of workplace toxicity. It makes the difference in retaining good staff and also whether your company fails or succeeds.
Employees aren’t afraid to jump ship when faced with a toxic workplace—and it's usually your high performers who will go first.
The biggest concern for any organization should be when their most passionate people become quiet.
10 Signs your workplace culture is Toxic
•Company core values do not serve as the basis for how the organization functions.
•Employee suggestions are discarded. People are afraid to give honest feedback.
•Micromanaging -Little to no autonomy is given to employees in performing their jobs.
•Blaming and punishment from management is the norm.
•Excessive absenteeism, illness and high employee turn over.
•Overworking is a badge of honor and is expected.
•Little or strained interaction between employees and management.
•Gossiping and/or social cliques.
• Favoritism and office politics.
•Aggressive or bullying behavior.
•What’s the cure for a toxic work culture?
While toxic work cultures are the end result of many factors, it’s generally a combination of poor leadership and individuals who perpetuate the culture. It starts with those at the top.
Leaders must show - Respect, Integrity, Authenticity, Appreciation, Empathy and Trust.
Toxicity in the workplace is costly. Unhappy or disengaged employees cost companies billions of dollars each year in lost revenues, settlements and other damages.
Once you identify the major problems by gathering information. Develop a plan and follow through. It may mean training, moving or simply getting rid of bad bosses who are the root cause of toxicity in the work place.
Show employees you care and are committed to improving their workplace environment. Your employees can be your greatest asset but it all depends on how you treat them.
Sadly, if you do not cure the cancer in the root of the tree, not only with the branches and leaves die; but so will the tree.
employee productivity 在 メンタリスト DaiGo Youtube 的最讚貼文
📘この動画内で紹介したおすすめ動画・ニコニコ動画は
知識のNetflix【Dラボ】で見放題!
今なら20日間無料→https://daigovideolab.jp/
🐈
3日坊主でも続く【習慣維持の7つのルール】 →【今なら20日間無料】https://daigovideolab.jp/
▶︎本日のオススメ
ヤバい集中力 1日ブッ通しでアタマが冴えわたる神ライフハック45 を Amazon でチェック! https://amzn.to/2ZOku5g
【通常3000円が今だけ無料】僕のオーディオブックがAmazonで無料で聞けます。詳しくは↓
▶︎ 超習慣術 https://amzn.to/2yLgJT4
▶︎知識を操る超読書術 https://amzn.to/39AZpfT
▶︎自分を操る超集中力 https://amzn.to/2w7RpFw
▶︎人を操る禁断の文章術 https://amzn.to/2yrHn2N
▶︎後悔しない超選択術 https://amzn.to/346QeTv
▶︎ポジティブチェンジ https://amzn.to/3cC6nTZ
▶︎ ポジティブ・ワード https://amzn.to/3eBo86U ※Audible無料体験にて1冊無料
Ulrica von Thiele Schwarz, Henna Hasson. (2011)Employee Self-rated Productivity and Objective Organizational Production Levels.
この動画は上記の参考資料・動画を元に考察したもので、あくまで一説です。リサーチ協力の鈴木祐さんの論文解説チャンネルはこちら→http://ch.nicovideo.jp/paleo #今なら
#Dラボとオーディオブックが概要欄から無料
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/O0jCxzkcmDI/hqdefault.jpg)