【和弦譜大包裝上線囉!】
-Lead Sheet大包裝第四彈-
📎購買連結:https://slsmusic.gumroad.com/#fVchM
🎼曲目列表:
01. ~The Memories Of Phantasm~ 月に叢雲華に風
02. 春はゆく- Fate/stay night [Heaven's Feel]
03. Again - Fullmetal Alchemist: Brotherhood
04. Aerith Theme - Final Fantasy VII
05. Main Theme - Final Fantasy VII
06. Hakujitsu 白日 - King Gnu
07. History Maker - Yuri!!! on Ice
08. Kerning City / Bad Guys - Maplestory
09. only my railgun - A Certain Scientific Railgun
10. Pretender - Official HIGE DANdism
11. The First Town - Sword Art Online
12. Yesterday - HELLO WORLD
-
❗️NOTICE❗️
Lead Sheet - 單行譜為記載主旋律及和絃代號的單行樂譜,常被樂手用於流行與爵士的即興與演奏,並非完整鋼琴獨奏樂譜。
Lead Sheet is a form of musical notation that specifies the essential elements of a popular song: the melody, and the chord symbols.
同時也有44部Youtube影片,追蹤數超過249萬的網紅Pan Piano,也在其Youtube影片中提到,🍞YouTubeメンバー、こちらから入れます/Join my YouTube Member/加入小p的YouTube會員 https://www.youtube.com/channel/UCI7ktPB6toqucpkkCiolwLg/join スポーツアニメ メドレー Tokyo 2020 がん...
「history maker」的推薦目錄:
- 關於history maker 在 Facebook 的最佳解答
- 關於history maker 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於history maker 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於history maker 在 Pan Piano Youtube 的最佳解答
- 關於history maker 在 超認真少年Imserious Youtube 的最佳解答
- 關於history maker 在 DEAN FUJIOKA Youtube 的最讚貼文
- 關於history maker 在 Dean Fujioka - History Maker (Yuri On Ice Opening FULL) 的評價
- 關於history maker 在 History Maker【Yuri on ice-op】中文字幕- YouTube 的評價
- 關於history maker 在 History Maker(動畫“Yuri!!! On ICE”片頭曲) - Facebook 的評價
history maker 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
รู้จัก บริษัทผลิตธนบัตร ใหญ่สุดในโลก /โดย ลงทุนแมน
รู้หรือไม่ว่าเกือบ 90% ของธนบัตรทั่วโลก ถูกพิมพ์โดยหน่วยงานภาครัฐ เช่น ธนาคารกลางหรือกระทรวงการคลัง เหมือนกับธนบัตรของประเทศไทย ที่พิมพ์โดยธนาคารแห่งประเทศไทย
แต่ไม่ใช่ทุกประเทศที่มีโรงพิมพ์ธนบัตรเป็นของตัวเอง
ประเทศเหล่านั้นจึงยังต้องสั่งพิมพ์ธนบัตรจากบริษัทในต่างประเทศอยู่
โดยบริษัทที่ทำธุรกิจรับผลิตธนบัตรที่ใหญ่สุดในโลก เป็นบริษัทจากประเทศอังกฤษ ที่มีชื่อว่า “De La Rue” ซึ่งก่อนที่ไทยจะมีโรงพิมพ์ธนบัตรเป็นของตัวเอง ก็เคยสั่งพิมพ์ธนบัตรจาก De La Rue มาก่อนเช่นกัน
เรื่องราวของบริษัท De La Rue มีความเป็นมาอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ประเทศไทยเริ่มใช้ “ธนบัตร” เป็นครั้งแรกในปี 1902 (พ.ศ. 2445) หรือตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5
แต่ประเทศไทยเริ่มพิมพ์ธนบัตรเองเป็นครั้งแรกในปี 1941 (พ.ศ. 2484) โดยกรมแผนที่ทหารบก
ก่อนที่เราจะมีโรงพิมพ์ธนบัตรเป็นของตัวเองในปี 1969 (พ.ศ. 2512) ซึ่งอยู่ในความดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย
ก่อนที่ประเทศไทยจะเริ่มพิมพ์ธนบัตรเอง ธนบัตรรุ่นแรก ๆ ของไทยพิมพ์มาจากบริษัทในประเทศอังกฤษที่ชื่อ “De La Rue” อ่านว่า เดอ ลา รู
De La Rue เป็นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ลอนดอนมาตั้งแต่ปี 1947
โดยธุรกิจหลักของบริษัทแห่งนี้ ก็คือบริการที่เกี่ยวกับการผลิตธนบัตรแบบครบวงจร ทั้งการรับออกแบบธนบัตร พิมพ์ธนบัตร รวมไปถึงขายเครื่องพิมพ์ธนบัตรและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แม้ว่าจะมีบริษัทที่รับพิมพ์ธนบัตรเหมือนกับ De La Rue เช่น
บริษัท Crane ในประเทศสวีเดนและสหรัฐอเมริกา
บริษัท Canadian Bank Note ของแคนาดา
หรือบริษัท Giesecke & Devrient ของเยอรมนี
แต่ในปัจจุบัน De La Rue เป็นบริษัทที่พิมพ์ธนบัตร มากที่สุดในโลก
โดยมีการประเมินว่า ทั่วโลกจะมีธนบัตรพิมพ์ใหม่ประมาณ 1.7 แสนล้านฉบับโดยเฉลี่ยต่อปี
คิดเป็นธนบัตรที่พิมพ์โดยบริษัทรับจ้างพิมพ์ธนบัตร 1.9 หมื่นล้านฉบับ หรือราว 1 ใน 10
ในจำนวนนั้น จะเป็นธนบัตรที่พิมพ์โดย De La Rue ราว 7 พันล้านฉบับ คิดสัดส่วนมากถึง 1 ใน 3
โดยลูกค้าของ De La Rue ส่วนใหญ่ คือธนาคารกลาง รวมถึงหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่พิมพ์ธนบัตร ในกว่า 140 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมักเป็นประเทศขนาดเล็ก ยกตัวอย่างเช่น ประเทศคูเวต, เฮติ, กาตาร์, เปรู และนิการากัว
ประเทศเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังไม่มีโรงพิมพ์ธนบัตรเป็นของตัวเอง เพราะการผลิตธนบัตรที่มีคุณภาพ ปลอมแปลงได้ยาก มีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง รวมถึงเครื่องพิมพ์ธนบัตร 1 เครื่อง ก็จะมีกำลังการผลิตที่สูงเกินกว่าความต้องการใช้ธนบัตรในประเทศเหล่านี้มาก เรียกได้ว่าไม่คุ้มที่จะผลิตธนบัตรเองในประเทศ
การจ้างบริษัทต่างประเทศเพื่อพิมพ์ธนบัตร จึงคุ้มค่ากว่าและมีความน่าเชื่อถือมากกว่า ซึ่ง De La Rue ก็ถือเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีการพิมพ์ธนบัตรของโลก
สำหรับจุดเริ่มต้นของบริษัท De La Rue ต้องย้อนกลับไปเมื่อ 200 ปีก่อน
ในปี 1821 ที่ประเทศอังกฤษ ชายที่ชื่อว่า “Thomas de la Rue” ได้ก่อตั้งโรงงานสิ่งพิมพ์เล็ก ๆ โดยโรงพิมพ์ของเขาเริ่มมีชื่อเสียงจากการพิมพ์ไพ่ด้วยเทคนิคเคลือบมัน
ต่อด้วยการคิดค้นเครื่องพับซองจดหมาย ซึ่งได้กลายเป็นจุดเริ่มต้นของรูปแบบซองจดหมายมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน รวมไปถึงการผลิตอากรสแตมป์
จนกระทั่งในปี 1860 บริษัท De La Rue เริ่มพิมพ์ธนบัตรเป็นครั้งแรกให้กับประเทศมอริเชียส
ซึ่งประเทศแห่งนี้เป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคมของอังกฤษ ก่อนที่ในเวลาต่อมา บริษัทจะเริ่มพิมพ์ธนบัตรให้ธนาคารกลางอังกฤษในปี 1914
ก่อนหน้าที่ De La Rue จะผลิตธนบัตรให้กับธนาคารกลางอังกฤษนั้น
ธนาคารอังกฤษเคยพิมพ์ธนบัตรกับบริษัท Portals มาก่อน
ในภายหลัง De La Rue ได้เข้าซื้อกิจการ Portals
De La Rue จึงกลายเป็นบริษัทเดียวที่พิมพ์ธนบัตรให้ธนาคารกลางอังกฤษ แบบในปัจจุบัน
De La Rue รวมถึง Portals ก็ถือเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับธนบัตร ยกตัวอย่างเช่น ในปี 1957 De La Rue เริ่มผลิตเครื่องนับธนบัตรขาย เป็นครั้งแรกของโลก
ในด้านเทคโนโลยีการผลิตธนบัตร ตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1720 Portals ถือเป็นบริษัทแรกที่นำเทคนิคการพิมพ์แบบลายน้ำมาใช้กับธนบัตร
ซึ่งเทคนิคการพิมพ์ลักษณะนี้จะทำให้เนื้อกระดาษหนาบางไม่เท่ากัน มีลายนูน
ส่งผลให้ปลอมแปลงยาก เหมือนที่เรานำธนบัตรไปส่องกับแสงเพื่อดูว่าเป็นของจริงหรือปลอม
ส่วนเทคโนโลยีการผลิตธนบัตรที่ทำจากพอลิเมอร์ แม้จะถูกคิดค้นที่ประเทศออสเตรเลียในปี 1988 แต่ De La Rue ก็ยังมีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้เทคโนโลยีนี้ถูกใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น
ซึ่งในปัจจุบัน De La Rue เป็นเพียง 1 ใน 2 บริษัท ที่ขายพอลิเมอร์สำหรับทำธนบัตร และเป็นบริษัทเดียวในโลกที่ขายพอลิเมอร์ทำธนบัตร และรับพิมพ์ธนบัตรพอลิเมอร์ควบคู่ไปด้วย
การเป็นผู้นำเทคโนโลยีการพิมพ์ธนบัตร รวมถึงการสร้างความน่าเชื่อถือตลอด 200 ปีที่ผ่านมา เลยเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ De La Rue เป็นหนึ่งในบริษัทรับผลิตธนบัตร ที่เป็นผู้นำของโลก มาอย่างยาวนาน
มาถึงตรงนี้ อาจเกิดคำถามว่า โลกที่หมุนเข้าสู่สังคมไร้เงินสด
กระทบกับบริษัท De La Rue หรือไม่ ?
แม้ว่าทั่วโลกจะยังมีความต้องการใช้ธนบัตรอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะประเทศในทวีปเอเชีย แอฟริกา และตะวันออกกลาง ที่ยังใช้จ่ายด้วยเงินสดเป็นหลัก
แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า การชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ก็กำลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น
สะท้อนให้เห็นจากการใช้จ่ายทั่วโลกราว 20% ยังคงเป็นเงินสด
แต่สัดส่วนนี้ลดลงจาก 60% ในช่วง 10 ปีก่อนหน้า
ที่น่าสนใจก็คือ ในช่วงเวลาดังกล่าว หลายประเทศโดยเฉพาะประเทศที่เป็นผู้นำด้านการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเช่นประเทศในยุโรป แคนาดา และสิงคโปร์ กลับพบว่ามูลค่าธนบัตรที่หมุนเวียนในระบบมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้แต่ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่เป็นปัจจัยเร่งให้การใช้จ่ายแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วก็ตาม
ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลจากธนาคารกลางอังกฤษ (BoE) ระบุว่ามูลค่าธนบัตรหมุนเวียนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว แม้แต่ในปี 2020 ก็ยังเพิ่มขึ้นได้ราว 8% ซึ่งก็สอดคล้องกับข้อมูลของธนาคารกลางยุโรป (ECB) ที่ระบุว่าในปี 2020 มูลค่าธนบัตรหมุนเวียนเพิ่มขึ้นราว 11%
ซึ่งทางธนาคารกลางอังกฤษได้ให้เหตุผลว่า มูลค่าธนบัตรหมุนเวียนที่ยังคงเพิ่มขึ้นแม้การใช้จ่ายแบบอิเล็กทรอนิกส์จะได้รับความนิยมสูงขึ้น เป็นเพราะว่าคนส่วนใหญ่ยังมองว่าการเก็บเงินสดเป็นการเก็บของที่มีมูลค่าในตัวมันเองอยู่
จากข้อมูลเหล่านี้ เลยทำให้ผู้บริหาร De La Rue มองว่าความต้องการธนบัตร จะยังคงเพิ่มขึ้นต่อไปได้ในอนาคต
แต่อย่างไรก็ตาม ธุรกิจรับผลิตธนบัตรยังคงมีความเสี่ยงอีกหลายด้าน อย่างเช่น การที่ลูกค้าเป็นประเทศขนาดเล็กหรือเศรษฐกิจไม่มีเสถียรภาพ ความต้องการพิมพ์ธนบัตรเพิ่ม จึงไม่แน่นอน
ในกรณีเลวร้ายกว่านั้นคือ สั่งพิมพ์ธนบัตรไปแล้วแต่กลับจ่ายเงินไม่ได้ อย่างกรณีของประเทศเวเนซุเอลา ที่ในปี 2018 บริษัท De La Rue ต้องบันทึกหนี้สูญ 800 ล้านบาท เพราะธนาคารกลางเวเนซุเอลาไม่สามารถจ่ายเงินค่าสั่งพิมพ์ธนบัตรได้
นอกจากนั้นแล้ว หลายประเทศที่เคยเป็นลูกค้า ก็หันมาสร้างโรงพิมพ์ธนบัตรของตัวเองกันมากขึ้นเรื่อย ๆ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศไทยที่เคยพิมพ์ธนบัตรกับ De La Rue แค่ช่วงแรก นอกจากนั้นก็มีฮ่องกงและอินเดีย โดยเฉพาะอินเดียที่เคยเป็นลูกค้ารายใหญ่ ก็หันไปพิมพ์ธนบัตรเองกันหมดแล้ว
แม้ว่า De La Rue จะไม่ได้มีธุรกิจผลิตธนบัตรอย่างเดียว แต่ยังมีธุรกิจผลิตพาสปอร์ต รวมถึงผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีการป้องกันไม่ให้ถูกปลอมแปลงอยู่ด้วย แต่รายได้หลักกว่า 70% ยังมาจากธุรกิจธนบัตร
แล้วผลประกอบการตามปีงบประมาณของ De La Rue ช่วง 4 ปีที่ผ่านมา เป็นอย่างไรบ้าง ?
ปี 2017 รายได้ 22,200 ล้านบาท กำไรจากการดำเนินงาน 2,800 ล้านบาท
ปี 2018 รายได้ 25,400 ล้านบาท กำไรจากการดำเนินงาน 2,700 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 21,200 ล้านบาท กำไรจากการดำเนินงาน 1,900 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 17,900 ล้านบาท กำไรจากการดำเนินงาน 650 ล้านบาท
จากรายได้และกำไรจากการดำเนินงานที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ก็ได้สะท้อนมาที่มูลค่าของบริษัท De La Rue ในปัจจุบัน ที่มีมูลค่า 1.6 หมื่นล้านบาท ลดลงจากปี 2017 กว่า 70%
ทำให้เราสรุปได้ว่าแม้แต่บริษัทผลิตธนบัตร ที่เรียกได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวัน
ก็หนีไม่พ้นยุคแห่งความท้าทาย และการเปลี่ยนแปลง จากเทคโนโลยี เช่นกัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.ft.com/content/2585aaa7-6708-4ecc-ae60-6ddc407c6c95
-https://www.bloomberg.com/opinion/articles/2019-11-26/world-s-biggest-banknote-maker-de-la-rue-is-running-out-of-money
-https://www.economist.com/business/2017/04/06/de-la-rue-rethinks-its-strategy
-https://www.bbc.com/news/business-50557097
-https://www.bbc.com/news/business-45272704
-https://www.bbc.co.uk/news/business-43807190
-https://www.forbes.com/sites/francescoppola/2020/01/30/why-is-a-company-that-prints-money-running-out-of-cash/?sh=43b903eb3b5d
-https://www.americanbanker.com/news/watermarks-an-appreciation-for-a-timeless-feature-of-currency
-https://www.delarue.com/about-us/our-history-orig
-https://www.delarue.com/investors/results-and-reports
-https://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/HistoryAndSeriesOfBanknotes/Pages/All_Series_of_Banknotes.aspx
history maker 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
วิวัฒนาการ NBA จากลีกบาสเกตบอลไม่มีคนดู สู่ธุรกิจ 2 ล้านล้าน /โดย ลงทุนแมน
หากพูดถึงลีกการแข่งขันบาสเกตบอลที่ใหญ่ที่สุดในโลก
คงหนีไม่พ้น “NBA” ลีกบาสเกตบอลของสหรัฐอเมริกา
ที่ก่อตั้งมายาวนานกว่า 72 ปี
รู้หรือไม่ว่าฤดูกาลแข่งขันปี 2019/2020 NBA มีรายได้ 2.4 แสนล้านบาท
เพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว เมื่อเทียบกับเมื่อ 9 ปีที่แล้ว แสดงให้เห็นถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ Forbes ยังได้ประเมินว่าทีมบาสเกตบอล
ที่อยู่ในการแข่งขัน NBA ทั้ง 30 ทีม มีมูลค่าตลาดรวมกันเกือบ 2 ล้านล้านบาท
แล้ว NBA มีกลยุทธ์อย่างไร
และปัจจัยใดที่ทำให้ความนิยมของ NBA
เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
NBA ย่อมาจาก National Basketball Association ก่อตั้งขึ้นในปี 1949
โดยเป็นการรวมตัวกัน ระหว่างลีกบาสเกตบอลของสหรัฐอเมริกา 2 ลีก
คือ Basketball Association of America (BAA) ก่อตั้งในปี 1946
และ National Basketball League (NBL) ก่อตั้งในปี 1937
แม้ในปัจจุบัน NBA จะมีทีมบาสเกตบอลถึง 30 ทีม
แต่ในช่วงเริ่มแรกนั้น NBA มีทีมบาสเกตบอลทั้งหมดเพียง 17 ทีม
แถมในช่วงเริ่มต้น NBA ก็ไม่ได้รับความนิยมมากนัก
เพราะในปี 1955 มีทีมบาสเกตบอลแข่งขันกันเพียง 8 ทีมเท่านั้น
แต่สิ่งที่ทำให้ NBA กลับมาเป็นที่นิยม และกลับมาเติบโตได้
มาจากการปรับโครงสร้างการแข่งขันขึ้นใหม่
เริ่มต้นจากการเปลี่ยนแปลงกฎกติกาการแข่งขัน
ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มเขตทำคะแนน 3 แต้ม
จากเดิมที่มีการทำคะแนนได้เพียง 2 แต้มต่อการชูตลง 1 ลูกเท่านั้น
ซึ่งลูก 3 แต้มนี้ทำให้เกิดความหลากหลายและรูปแบบการเล่นใหม่เข้ามาในเกม
หรืออีกกฎที่เพิ่มเข้ามาคือ การเพิ่มระบบ “Shot Clock”
ที่กำหนดเวลาในการครอบครองบอลของแต่ละฝั่ง
ทำให้แต่ละทีมต้องรีบทำคะแนนภายในเวลาที่กำหนด
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้เกมการแข่งขันมีความรวดเร็ว
มีรูปแบบที่กระตุ้นให้นักกีฬาต้องแข่งกันทำแต้มตลอดเวลา
ส่งผลให้เกมดูสนุกและตื่นเต้นมากขึ้น และผู้ชมก็เริ่มให้ความสนใจเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
นอกจากนี้ อีกหนึ่งในโครงสร้างของ NBA ที่แตกต่างจากลีกกีฬาอื่น
คือรูปแบบโมเดลธุรกิจของ NBA ที่สร้างความมั่นคงให้กับทุกทีมที่มีส่วนร่วม
และลดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบระหว่างกัน
เช่น การเลือกตัวนักกีฬาหน้าใหม่เข้าทีมหรือการดราฟต์
ด้วยระบบที่เน้นให้โอกาสกับทีมที่ทำผลงานได้ไม่ดี
มีโอกาสในการคว้าตัวนักกีฬาอันดับต้น ๆ ในระบบดราฟต์ มากกว่าทีมที่มีผลงานดี
โดยปัจจุบัน 3 ทีมที่มีผลงานแย่สุด จะมีโอกาสเท่ากันที่ 14% ที่จะคว้าสิทธิ์ดราฟต์อันดับ 1
ซึ่งสิทธิ์ดราฟต์ที่แต่ละทีมได้มา สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการเจรจาแลกเปลี่ยน
ตัวนักกีฬาระหว่างทีมได้อีกด้วย
นอกจากการรักษาสมดุลระหว่างผู้เล่นในแต่ละทีม
NBA ก็ยังได้กำหนดเพดานค่าจ้างนักกีฬาของแต่ละทีม
โดยมีระบบการคำนวณมาจากรายได้รวมของลีก
ทำให้แต่ละทีมมีเพดานสำหรับการจ่ายค่าจ้างเท่ากัน และหากทีมใดจ้างนักกีฬาเกินเพดานที่กำหนด
จะต้องเสียภาษีเพดานค่าจ้างในอัตราที่สูงมาก ระบบนี้จึงกลายมาเป็นการป้องกันการซื้อตัวนักกีฬาดังไม่ให้ไปอยู่รวมกันภายในทีมเดียวมากเกินไป
อีกระบบที่สำคัญไม่แพ้กันคือ ระบบการคำนวณรายได้มวลรวมของลีก
เป็นระบบที่ช่วยการกระจายรายได้ของแต่ละทีม
โดยทุกทีมจะต้องนำรายได้ส่วนหนึ่งมารวมกันและเฉลี่ยไปยังทีมอื่นเท่า ๆ กัน
เพื่อเป็นการปรับช่องว่างรายได้ ระหว่างทีมที่อยู่ในตลาดขนาดเล็กและใหญ่
เช่น LA Lakers ที่อยู่ในเมืองลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีประชากรเกือบ 4.0 ล้านคน
กับทีม Phoenix Suns ที่อยู่ในเมืองฟีนิกซ์ รัฐแอริโซนา ซึ่งมีประชากรเพียง 1.6 ล้านคน
จะเห็นได้ว่าทั้ง 2 ทีม อยู่ในเมืองที่มีฐานประชากรห่างกันมาก และส่งผลต่อรายได้ของทีม
แต่ระบบของ NBA จะทำให้ทีมที่มีรายได้น้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับเงินอุดหนุนจำนวนหนึ่ง
จากทีมที่มีรายได้มากกว่าเกณฑ์
ทั้งนี้ทีมขนาดเล็กก็ต้องมีรายได้ไม่ต่ำกว่า 70% ของรายได้เฉลี่ยที่แบ่งกันในแต่ละทีม จึงจะสามารถรับส่วนแบ่งได้เต็มอัตรา เพื่อเป็นการจูงใจและผลักดันให้ทีมขนาดเล็กปรับปรุงและพัฒนาทีมอยู่ตลอดเวลา
เมื่อองค์ประกอบทุกอย่างถูกสร้างสรรค์และออกแบบมาอย่างดีแล้ว
ก็ส่งผลให้ความนิยมและรายได้ของ NBA เพิ่มขึ้นตลอดหลายปีที่ผ่านมา
ทีนี้เรามาดูกันว่าการหารายได้ของ NBA เป็นอย่างไร ?
NBA เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องของความหลากหลายของช่องทางการหารายได้
ซึ่งก็คือการกระจายความเสี่ยงจากการพึ่งพารายได้เพียงไม่กี่ช่องทาง
โดยรายได้หลักของ NBA มาจาก 4 ช่องทางด้วยกันคือ
1. ค่าลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสด
รายได้ส่วนนี้ ถือเป็นรายได้หลักของ NBA ซึ่งในปี 2016 NBA ได้มีการเซ็นสัญญากับสื่อกีฬายักษ์ใหญ่ของสหรัฐอเมริกาอย่าง ESPN และ Turner Sports ด้วยสัญญา 9 ปี มูลค่าราว 720,000 ล้านบาท
หรือเฉลี่ยปีละ 80,000 ล้านบาท สำหรับการถ่ายทอดสดการแข่งขันของ NBA
โดยสัญญานี้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 180% จากสัญญาเดิมที่ได้ 29,000 ล้านบาทต่อปี
และแต่ละทีมสามารถเซ็นสัญญาถ่ายทอดสดกับสื่อท้องถิ่นได้อีกด้วย
นอกจากนี้ NBA ยังมีระบบสตรีมมิง ชื่อว่า NBA League Pass ที่ให้ผู้ชมสามารถเลือกซื้อได้ทั้งแบบ รายสัปดาห์ รายเดือน และรายปี ทำให้ผู้ชมทั่วโลกสามารถรับชมการแข่งขันได้แบบถูกลิขสิทธิ์
2. ลิขสิทธิ์ทางด้านสินค้าและการสนับสนุนจากสปอนเซอร์
ถึงแม้จะไม่ใช่รายได้ที่มีสัดส่วนที่มาก แต่ก็มีสินค้าหลากหลายแบรนด์ที่พร้อมจะร่วมสนับสนุนกับ NBA
อย่างเช่น การซื้อป้ายโฆษณาบนเสื้อนักกีฬา ซึ่งป้ายดังกล่าวมีขนาดประมาณบัตรประชาชนเท่านั้น แต่กลับมีมูลค่าที่สูงมาก
ในปี 2019 ป้ายแบรนด์เหล่านี้ทำรายได้ให้กับ NBA กว่า 4,500 ล้านบาท
อย่างเช่น Rakuten แบรนด์ E-commerce จากญี่ปุ่น ที่ยอมจ่ายถึง 600 ล้านบาทต่อปี
ให้กับทีม Golden State Warriors เพื่อซื้อโฆษณาบนเสื้อดังกล่าว
หรือจะเป็นสัญญากับ Nike แบรนด์เสื้อผ้ากีฬาอันดับหนึ่งของโลก
ที่ยอมจ่าย 30,000 ล้านบาทให้กับ NBA เพื่อแลกกับสิทธิ์ในการผลิตและจัดจำหน่ายชุดบาสเกตบอลของ NBA ทั้ง 30 ทีมเป็นระยะเวลา 8 ปี ซึ่งมีมูลค่าเพิ่มขึ้น 2.5 เท่าของสัญญาเดิมที่เคยทำร่วมกับ Adidas
และ Nike จะต้องจ่ายค่าเครื่องแต่งกายของนักกีฬาใน NBA เป็นมูลค่ากว่า 3,750 ล้านบาทต่อปี ซึ่งคาดว่ามากกว่าที่ Adidas เคยจ่ายให้ถึงเท่าตัว เช่นกัน
3. รายได้จากการจำหน่ายตั๋วเข้าชมในสนาม
น่าแปลกใจที่รายได้ส่วนนี้กลับไม่ใช่รายได้หลักของแต่ละทีม เนื่องจากปัจจุบัน ผู้ชมสามารถรับชมผ่าน ระบบออนไลน์ได้ทุกที่ แต่มีรายงานว่าในฤดูกาล 2019/2020 ค่าใช้จ่ายในการเข้าชมการแข่งขัน 1 เกมสำหรับครอบครัว 4 คน ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายหลัก ๆ เช่น ค่าตั๋ว ค่าที่จอดรถ และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตกเฉลี่ยเกมละ 13,000 บาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 2.5% จากฤดูกาลก่อนหน้า
4. รายได้จากต่างประเทศ
NBA ได้มีการขยายตลาดไปยังต่างประเทศมาหลายปีแล้ว และได้กลายมาเป็นรายได้สำคัญของลีก โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งมีการประเมินว่า NBA มีรายได้จากประเทศจีนปีละกว่า 15,000 ล้านบาท ตัวเลขนี้รวมถึงดีลระหว่าง NBA กับ Tencent บริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของจีนด้วยสัญญา 5 ปี 45,000 ล้านบาท
ในการเป็นพาร์ตเนอร์ที่ได้รับสิทธิ์ในการถ่ายทอดสดการแข่งขันจาก NBA เพียงรายเดียวในจีน
และกลยุทธ์สำคัญที่ผลักดันให้ NBA สามารถขยายไปยังต่างประเทศได้
ก็คือการเปิดรับนักกีฬาต่างชาติเข้ามาในลีกมากขึ้น โดยในฤดูกาล 2019/2020 มีจำนวนนักกีฬาที่ไม่ได้ถือสัญชาติอเมริกันกว่า 108 คน จาก 38 ประเทศ ซึ่งคิดเป็น 4 เท่าของฤดูกาล 1994/1995
กลยุทธ์นี้ได้ช่วยเพิ่มฐานคนดูของ NBA ในต่างแดน เพราะสำหรับบางประเทศที่กีฬาบาสเกตบอลยังไม่เป็นที่นิยม และไม่มีทีมที่คุ้นเคยไว้ตามเชียร์ คนดูก็สามารถเริ่มต้นได้ด้วยการเชียร์นักกีฬาของประเทศตัวเอง
ถึงตรงนี้ก็คงบอกได้ว่า NBA คือองค์กรที่มีโมเดลธุรกิจที่หลากหลาย
เป็นตัวอย่างขององค์กรที่พร้อมเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งที่ดีกว่า
และกระตุ้นให้มีการแข่งขันกันเองภายในลีกอยู่ตลอดเวลา
นำมาซึ่งผลงานที่น่าประทับใจแก่คนดูและเจ้าของทีมเอง
ก็เป็นที่น่าติดตาม ว่าถ้าหาก NBA เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
จะมีมูลค่าเท่าไร และในอนาคตจะมีอะไรใหม่ ๆ มาให้เราได้ศึกษา
แต่ดูเหมือนว่าทุกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
นอกจากจะทำให้ผู้ชื่นชอบบาสเกตบอลสนุกขึ้นแล้ว
มันก็ยังได้กลายมาเป็นโครงสร้างที่แข็งแกร่ง จน NBA สามารถเติบโต
จากวันที่เหลือเพียง 8 ทีมในปี 1955 จนกลายมาเป็นธุรกิจ
ที่มีมูลค่าตลาด 2 ล้านล้านบาทไปแล้ว นั่นเอง..
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
Joseph Tsai ผู้ร่วมก่อตั้งและรองประธานบริหารของ Alibaba Group
ได้เข้าซื้อทีม Brooklyn Nets ในปี 2019 ด้วยจำนวนเงิน 70,500 ล้านบาท
ซึ่งถือว่าเป็นมูลค่าที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์การซื้อทีมกีฬาของสหรัฐอเมริกา..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.investopedia.com/articles/investing/070715/nbas-business-model.asp
-https://www.investopedia.com/articles/personal-finance/071415/how-nba-makes-money.asp#citation-9
-https://www.forbes.com/sites/kurtbadenhausen/2021/02/10/nba-team-values-2021-knicks-keep-top-spot-at-5-billion-warriors-bump-lakers-for-second-place/?sh=2ea4a89645b7
-https://www.statista.com/statistics/193467/total-league-revenue-of-the-nba-since-2005/
-https://www.nba.com/news/nba-rosters-feature-108-international-players-2019-20
-https://bleacherreport.com/articles/1039092-nba-revenue-sharing-small-market-teams-to-benefit-from-new-sharing-structure
-https://nba.nbcsports.com/2015/06/10/nike-to-replace-adidas-as-official-maker-of-nba-uniforms-apparel/related/
-https://www.netsdaily.com/2019/8/15/20806783/with-joe-tsai-purchase-confirmed-nets-incredible-summer-continues
-https://www.history.com/this-day-in-history/nba-is-born
history maker 在 Pan Piano Youtube 的最佳解答
🍞YouTubeメンバー、こちらから入れます/Join my YouTube Member/加入小p的YouTube會員
https://www.youtube.com/channel/UCI7ktPB6toqucpkkCiolwLg/join
スポーツアニメ メドレー Tokyo 2020 がんばれ! [ピアノ]
Sports Anime Medley Tokyo 2020 You can do it! [piano]
The arrangement of イマジネーション is created by 紫垣佳予子
The arrangement of 心絵―ココロエ― is created by Nice piano sheets
The arrangement of Rage on is created by Kayoko Kishimoto
The arrangement of 燃えてヒーロー is created by ナオミ先生(Teacher Naomi)
The arrangement of 僕の声 is created by 内田美雪
The arrangement of うまぴょい伝説 is created by すだち風味
Cover by pan piano
Tokyo 2020 がんばれ!ヽ(✿゚▽゚)ノ
#メドレー
#君が好きだと叫びたい
#イマジネーション
#OLYMPICS2020
#弾いてみた
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
Support me by Patreon!!(*´∀`)~♥
https://www.patreon.com/panpiano
My Instagram
https://www.instagram.com/panpianoatelier/
My Blog(中文)
http://panpiano.com
小P的音樂工房鋼琴初級課程(中文)
http://panpiano.com/basic_class/
My Twitter!(日本語)
https://twitter.com/panpianoatelier
My facebook page(中文/English):
https://www.facebook.com/panpianoatelier
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
history maker 在 超認真少年Imserious Youtube 的最佳解答
為了讓工作更好做
隨時更新工具也算應該的
DIY新手常常買工具遇到困難
這集告訴初心者可以從哪些開始入手
懶人買法就是直上工具組
收藏口袋小怪獸
一個人的生產工廠
#超認真少年 #DIY #makerx #worx
本集包含:
【WORX 威克士】造物者 Maker-X系列 調速刻磨機/電烙鐵組合(WX988)
【WORX 威克士】造物者 Maker-X系列 噴筆 WX742.9
【WORX 威克士】造物者 Maker-X系列 砂輪機 WX741.9
【WORX 威克士】造物者 Maker-X系列 熱風槍 WX743
成為頻道會員並獲得獎勵:
https://www.youtube.com/channel/UCckzc03-ycrpB1XIUfRhpnw/join
➡️訂閱我們 ➡️ https://pse.is/Q26YB
【超認真少年IG】https://www.instagram.com/imseriou
【超認真少年FB】https://www.facebook.com/Imseriou
【工業技術交流平台】https://www.facebook.com/groups/imseriou
【熱門影片】
「空壓機」-基礎示範教學,原來每個家裡都要買一台空壓機 How to use Air compressor
https://youtu.be/Wghd4LpM6DE
沒有切不斷的金屬 [電]等離子切割基礎教學plasma cutter
https://youtu.be/DkMWxk3LTzo
五金行連女兒都賣?台灣五金行攻略 Taiwan Hardware Store
https://youtu.be/_Y0jLEeENp8
氬焊教學-5分鐘教五彩魚鱗焊 TIG Welding Tips and Techniques
https://youtu.be/fSFLGxh6AUw
1台車床抵6間工廠 車床基礎介紹 傳統車床 CNC 自動化整合 Taiwan lathe history (traditional lathe , CNC, DMG MORI )
https://youtu.be/60u4TepzKlo
history maker 在 DEAN FUJIOKA Youtube 的最讚貼文
<Download & Streaming>
https://A-Sketch-Inc.lnk.to/DEAN_FUJIOKA_Take_Over
-----------------------------------------------------------
Director - Spikey John
Colorist - Seiya Uehara
Online Editor - Naoto Kiyota (629 Inc.)
Mixing Engineer - Satoshi Fukuda
MA - Satomi Agematsu (629 Inc.)
Producer - Koki Takei, Keita Watanabe (isai Inc.)
Production - project K, isai Inc.
-----------------------------------------------------------
<リリース情報>
New Single "Take Over"
2021.3.10 Release!
◆Special Site:https://www.deanfujioka.net/takeover
■Tracks(初回・通常共通)
01. Take Over (日本テレビ系 「スッキリ」3月テーマソング)
02. Follow Me
03. Plan B
【初回限定盤】
CD+DVD/¥2,700+Tax/AZZS-114
■DVD
01. Take Over Live Music Video
02. History Maker “Plan B Remix" Live Music Video
03. Neo Dimension Lyric Video
04. Neo Dimension / The Reborn
・DEAN FUJIOKA FamBam Exclusive “# Acoustic”
01. Made In JPN
02. Sakura
03. Echo
04. Shelly
05. My Dimension
【通常盤】
CD/¥1,400+Tax/AZCS-2083
【完全生産限定プレミアムセット】
CD(通常盤)+GOODS/¥5,500+Tax/AZNT-56
※完全生産限定プレミアムセットはアーティストオンラインショップ「アスマート」での数量限定販売!
<GOODS>
“Plan B”オリジナルハット
◆ご購入はこちら!
https://www.asmart.jp/Form/Product/ProductDetail.aspx?shop=0&cat=100139&swrd=&pid=10027654&vid=&_ga=2.224817565.60588170.1611715356-577202253.1611715356
【CD先着購入予約特典】
対象商品:「Take Over」 (AZZS-114/AZCS-2083/AZNT-56)
・タワーレコード:オリジナルポストカード (タワーレコードver.)
・Amazon.co.jp:メガジャケ
・楽天ブックス:アクリルキーホルダー
・アスマート:オリジナルポストカード(アスマートver.)
・一般CDショップ:オリジナルポストカード(ノーマルver.)
◆詳細はこちら!
https://www.deanfujioka.net/takeover
Follow DEAN FUJIOKA:
Twitter: http://smarturl.it/DF-twitter
Instagram: http://smarturl.it/DF-instagram
Facebook: http://smarturl.it/DF-facebook
Weibo: http://weibo.com/tenggangdian
TikTok:https://www.tiktok.com/@tenggangdian
YouTube:https://www.youtube.com/user/deanfujiokanetjp
DEAN FUJIOKA Information:
Staff Twitter: https://twitter.com/TeamDF819
Official Site: http://www.deanfujioka.net
Official Fanclub「FamBam」: https://www.deanfujioka.net/fc_login/
#DEANFUJIOKA #TakeOver #スッキリ #FollowMe #PlanB
history maker 在 History Maker【Yuri on ice-op】中文字幕- YouTube 的推薦與評價
History Maker 作詞:DEAN FUJIOKA作曲:DEAN FUJIOKA 梅林太郎松司馬拓演唱者:DEAN FUJIOKA 藤岡靛歌詞 ... ... <看更多>
history maker 在 History Maker(動畫“Yuri!!! On ICE”片頭曲) - Facebook 的推薦與評價
Electone演奏History Maker (動畫“Yuri!!! On ICE”片頭曲) 作曲:DEAN FUJIOKA、梅林太郎、松司馬拓 編曲:洪宇軒這個週末是國中教育會考, ... ... <看更多>
history maker 在 Dean Fujioka - History Maker (Yuri On Ice Opening FULL) 的推薦與評價
『LYRICS』Can you hear my heartbeat?Tired of feeling never enoughI close my eyes and tell myself that my dreams will come trueThere'll be no ... ... <看更多>