มีผู้สนใจในเวปเพจเสนอ ให้ผมเขียนสรุป "ทฤษฎีว่าด้วยกำเนิดรัฐ"
"ทฤษฎีว่าด้วยการกำเนิดรัฐ"
ทฤษฎีว่าด้วยรัฐที่กล่าวถึงการกำเนิดรัฐนั้นมีมาตั้งแต่กรีก นักปราชญ์การเมืองที่สำคัญสมัยนั้น ได้แก่ โสเกรติส (Socratis) เพลโต (Plato) และ อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งอริสโตเติล ได้พูดถึงรัฐได้ชัดเจนจนได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งรัฐศาสตร์ และมีอิทธิพลต่อการพัฒนาการกฎหมายมหาชนมาก ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับความหมายของรัฐ กำเนิดรัฐ การจัดรูปแบบของรัฐ และความสิ้นสุดของรัฐไว้อย่างละเอียด อริสโตเติล ถือว่ารัฐเป็นประชาคมหรือที่รวมของบุคคลทั้งหลายซึ่งอยู่ภายใต้ระเบียบกฎเกณฑ์ของประชาคมที่เรียกว่า “การปกครอง”
ซึ่งมีทฤษฎีที่อธิบายว่ารัฐเกิดขึ้นมาได้อย่างไร พบว่ามีทฤษฎีว่าด้วยรัฐมีอยู่หลายทฤษฎีด้วยกันแต่ทฤษฎีที่สำคัญและก็น่าสนใจมีอยู่ด้วยกัน 4 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีเทวสิทธิ์ ทฤษฎีสัญญาประชาคม ทฤษฎีกำลังอำนาจ และทฤษฎีวิวัฒนาการ ดังนี้
1. ทฤษฎีเทวสิทธิ์
นักปราชญ์ในอดีตครุ่นคิดและถกเถียงกันมาในเรื่อง “การกำเนิดรัฐ” ซึ่งเมื่อสืบย้อนหลังไปแล้วจะเห็นว่าความคิดในทางศาสนาเข้ามามีอิทธิพลไม่น้อย ทำให้มีทฤษฎีหลายทฤษฎีซึ่งต่างก็ให้คำตอบไม่ตรงกัน ในยุคแรกเมื่อความเชื่อเรื่องพระเจ้ายังมีอิทธิพลอยู่มาก นักปราชญ์ก็เชื่อกันว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างมนุษย์ ประทานดินแดนแก่มนุษย์ ประทานอำนาจตั้งรัฐบาลปกครองดินแดนและบางครั้งก็ส่งตัวแทนมาใช้อำนาจปกครองแทนพระเจ้าเอง ทฤษฎีนี้เรียกว่า “ทฤษฎีเทวสิทธิ์” (Diving King Theory) มีสาระสำคัญ 3 ประการ ดังนี้
1. รัฐเป็นสถาบันซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงสร้างขึ้นเหมือนกับที่ทรงสร้างโลกสร้างมนุษย์ทุกสิ่งทุกอย่างพระผู้เป็นเจ้าสร้างขึ้นรวมทั้งรัฐ
2. ผู้ปกครองไม่ว่าจะเรียกว่าพระมหากษัตริย์หรือจักรพรรดิก็ตามเป็นบุคคลซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงแต่งตั้งขึ้นประทานให้แก่มนุษย์ มนุษย์ไม่ได้ร่วมกันตั้งผู้ปกครอง ผู้ปกครองมาจากสวรรค์ พระผู้เป็นเจ้าแต่งตั้งประทานมาให้แก่มนุษย์
3. เมื่อผู้ปกครองได้รับแต่งตั้งโดยพระผู้เป็นเจ้า เพราะฉะนั้นผู้ปกครองจึงไม่จำเป็นจะต้องรับผิดชอบต่อมนุษย์ในการปกครองมนุษย์ ต้องรับผิดชอบก็แต่เฉพาะต่อพระผู้เป็นเจ้าเท่านั้น
2. ทฤษฎีสัญญาประชาคม
สาระสำคัญของทฤษฎีสัญญาประชาคม (Social Contract Theory) ที่เสนอโดยนักปราชญ์ทุกท่านมีเหมือนกันอยู่ประการหนึ่งว่า “รัฐเป็นผลิตผลของข้อตกลงระหว่างมนุษย์” แต่เดิมดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะธรรมชาติเป็นสภาวะที่ปราศจากผู้ปกครอง เพราะฉะนั้น ผู้ที่เสนอทฤษฎีสัญญาประชาคมทุกคนจะแบ่งประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติออกเป็น 2 ช่วงด้วยกัน ช่วงแรก เป็นช่วงก่อนมีรัฐ และช่วงที่ 2 เป็นช่วงที่มีรัฐเกิดขึ้นแล้ว กล่าวคือ มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะธรรมชาติ (State of Nature) ในสภาวะธรรมชาตินี้อาจจะพูดได้ว่า เป็นสภาวะซึ่งไม่มีผู้ปกครองมนุษย์แต่ละคนดำรงชีวิตอยู่โดยกระทำการต่าง ๆ ได้ตามใจปรารถนา ไม่มีแม้กระทั่งกฎหมายที่กำหนดว่าอะไรถูกอะไรผิด อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ ถ้ามีอยู่บ้างก็เป็นกฎธรรมชาติ ได้แก่ กฎเกณฑ์ทางกายภาพที่ว่า หิวก็ต้องรับประทาน ป่วยก็ต้องรักษา หนาวก็ต้องหาเครื่องนุ่งห่มห่อหุ้มร่างกายกับการดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะธรรมชาติ นั่นคือ “ช่วงก่อนมีรัฐ” หลังจากนั้น เมื่อมนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะธรรมชาติได้ช่วงเวลาหนึ่งผ่านพ้นไป มนุษย์หันหน้าเข้าหากันและตกลงกันสถาปนาผู้ปกครองขึ้น โดยยอมตนอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของคนคนหนึ่งหรือคณะหนึ่ง เราเรียกว่า “ผู้ปกครอง” และให้คำมั่นสัญญาต่อกันและกันว่าแต่ละคนจะเคารพเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำสั่งคำบัญชาของผู้ปกครอง โดยมีสัญญาที่มนุษย์ตกลงกันว่าแต่ละคนจะเคารพเชื่อฟังผู้ปกครองและปฏิบัติตามคำสั่งคำบัญชาของผู้ปกครองที่เราเรียกว่า “สัญญาประชาคม” (Social Contract) ช่วงนี้เป็น “ช่วงที่มีรัฐเกิดขึ้น”
สาระสำคัญในประวัติศาสตร์ข้างต้นเกี่ยวสภาวะธรรมชาติของมนุษย์นักทฤษฎีนี้มีความเห็นร่วมกัน แต่สิ่งที่ผู้เสนอทฤษฎีนี้มีแตกต่างกันออกไปในรายละเอียด คือ ประเด็นปัญหาว่าอะไรจะมีเหตุจูงใจให้มนุษย์ละทิ้งการดำรงชีวิตอยู่ในสภาวะธรรมชาติและหันหน้ามาทำข้อตกลงจัดตั้งรัฐบาลหรือผู้ปกครองขึ้น อันนี้มีคำอธิบายที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งทฤษฎีสัญญาประชาคมสามารถอธิบายรูปแบบของทฤษฎีสัญญาประชาคมได้ ดังนี้
1. สัญญาจัดตั้งรัฐบาลหรือสถาปนาผู้ปกครอง (Governmental Contract) คือ สัญญาระหว่างราษฎรฝ่ายหนึ่งกับผู้ปกครองซึ่งอาจจะเป็นกษัตริย์หรือใครก็ได้อีกฝ่ายหนึ่งเป็นสัญญาระหว่างราษฎรกับผู้ปกครอง
2. สัญญาก่อตั้งสังคมการเมืองหรือสัญญาก่อตั้งสถาบันการเมือง (Institutional Contract) ในระหว่างบุคคลด้วยกันเราพบทฤษฎีสัญญาประชาคมในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งใน 2 รูปแบบ ทั้งในคำสอนของนักปราชญ์ตะวันตกและในคำสอนของนักปราชญ์ชาวตะวันออก อย่างเช่นในตำราว่าด้วยการปกครองของอินเดียโบราณเราก็พบคำสอนว่าด้วยสัญญาประชาคมรูปแบบที่ 1 หรือสัญญาก่อตั้งสัญญาระหว่างราษฎรกับผู้ปกครองใกล้เคียงกับในสมัยกลางในยุโรป
3. ทฤษฎีกำลังอำนาจ
ทฤษฎีกำลังอำนาจหรืออาจเรียกว่า “ทฤษฎีพละกำลัง” (Power Theory) ซึ่งเชื่อว่ารัฐเกิดขึ้นจากการยึดครองและการใช้กำลังบังคับ ทฤษฎีนี้เองที่นำไปซึ่งความเชื่อในเรื่องชาตินิยม และความคิดที่ว่ารัฐคืออำนาจซึ่งอยู่เหนือศีลธรรมทั้งปวง ทฤษฎีกำลังอำนาจสอนว่า รัฐเกิดขึ้นเพราะสงครามที่ทำให้ต้องมีการรบกันระหว่างเผ่าต่าง ๆ ในสมัยโบราณมีชนเผ่าต่าง ๆ ซึ่งทำมาหากิน คือ เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์อยู่ในบริเวณที่ใกล้เคียงกัน ทำสงครามกันเพื่อเหตุผล 2 ประการ ดังนี้
ประการที่ 1 ต้องการแสวงหาดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ขยายดินแดนออกไป และเมื่อได้ดินแดนที่อุดมสมบูรณ์มากขึ้นมันก็สามารถที่จะทำการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์เพื่อผลิตผลมีความเจริญรุ่งเรืองขึ้น
ประการที่ 2 การทำสงครามเพื่อให้ได้คนจากเผ่าอื่นมาเป็นทาสสำหรับใช้แรงงานในไร่นาหรือว่าในคอกปศุสัตว์ สภาวะสงครามระหว่างเผ่าอาจจะไม่ใช่สงครามที่โจมตีกันจริง แต่อาจจะต้องสร้างแสนยานุภาพทางทหารเพื่อป้องกันไม่ให้เผ่าอื่นมารุกรานหรือว่าสร้างแสนยานุภาพให้เกรียงไกรเพื่อจะไปรุกรานผู้อื่น นอกจากมีอำนาจในการทำสงครามการรบพุ่ง โดยสภาวะเช่นนี้สิ่งที่เราเรียกว่า “รัฐบาล” หรือ “ผู้ปกครอง” (Government) ก็ค่อย ๆ เกิดขึ้นและกลายมาเป็นบุคคลซึ่งได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นผู้ปกครองโดยมีอำนาจที่จะออกคำสั่งให้คนในเผ่าเคารพและปฏิบัติตามรวมทั้งวินิจฉัยชี้ขาดกรณีพิพาทระหว่างคนในเผ่าเดียวกันเป็นเผ่าที่ดีที่สุด จึงเป็นเผ่าที่มีฐานะเหนือกว่าองค์กร สถาบันสมาคมใด ของประชาชนอยู่ในถานะเหนือหลักศีลธรรมทั้งปวง
จากทฤษฎีกำลังอำนาจนี้อธิบายว่า รัฐเกิดขึ้นจากกำลังอำนาจอย่างเดียวไม่ได้เกิดขึ้นจากปัจจัยอื่น ซึ่งเป็นคำสอนที่มีส่วนถูกอยู่มากแต่ว่าเป็นการมองด้านเดียว รัฐนอกจากเกิดขึ้นจากสงครามคือต้องใช้กำลังอำนาจรบพุ่งแล้วอาจเกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยอื่นอีก ซึ่งทฤษฎีนี้นำไปสู่ความเชื่อในเรื่องชาตินิยม และความคิดที่ว่ารัฐ คือ อำนาจรัฐที่มีความชอบธรรมในตัวเองและอยู่เหนือศีลธรรมทั้งปวง ทฤษฎีนี้มีผู้นำแปรผันไปเป็นผลในทางปฏิบัติเป็นหลักฟาสซิสต์ของประเทศอิตาลีสมัยมุสโสเลนีและหลักนาซีของประเทศเยอรมนี สมัยฮิตเลอร์ เป็นต้น
4.ทฤษฎีวิวัฒนาการ
ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolution Theory) อธิบายการเกิดขึ้นของรัฐโดยอาศัยเหตุปัจจัยหลายอย่างนอกจากสงครามแล้วยังมีเหตุปัจจัยหลายอย่าง เช่น ปัจจัยทางสายโลหิต ปัจจัยทางสัญชาติญาณ ปัจจัยทางเครือญาติ ปัจจัยการรวมเผ่า ปัจจัยการรวมเป็นชาติ เป็นต้น
ดังนั้น รัฐไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน แต่การที่อยู่ ๆ มนุษย์ก็หันหน้ามาทำสัญญาแล้วก็จัดตั้งผู้ปกครองมันค่อย ๆ วิวัฒนาการเป็นระยะเวลาที่ยาวนานจากสังคมมนุษย์เริ่มรูปแบบแรก คือ ครอบครัวกลายเป็นโคตรตระกูล จากโคตรตระกูลกลายเป็นเผ่าจากเผ่ามารวมเป็นชาติและกลายเป็นรัฐ กล่าวคือ สมาชิกของสังคมมนุษย์สังคมนั้นเริ่มตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นภายในรัฐเริ่มตระหนักที่จะต้องเคารพเชื่อฟังคำสั่งคำบัญชาของผู้ปกครองและเวลาที่สมาชิกของสังคมซึ่งเป็นผู้ปกครองซึ่งตระหนักว่าตัวเองไม่อาจที่จะแยกตัวออกไปอยู่อย่างเป็นเอกเทศนอกรัฐได้ สังคมมนุษย์ซึ่งเป็นนั้นมันก็กลายมาเป็น “องค์การ” (Organization) กลายมาเป็นสมาคมซึ่งถือเป็นทฤษฎีว่าด้วยกำเนิดของรัฐที่สามารถให้เหตุผลการกำเนิดรัฐได้สมเหตุสมผลมากกว่าทฤษฎีอื่น ๆเมื่อพิจารณาศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการกำเนิดรัฐตามที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ผู้เขียนเห็นว่าแนวคิดการกำเนิดรัฐว่า รัฐเกิดจากการวิวัฒนาการของมนุษย์ตามทฤษฎีวิวัฒนาการน่าจะสมเหตุผลสมผลมากที่สุด โดยอาศัยปัจจัยหลายๆอย่าง คือ มนุษย์ในโลกนี้แยกกันอยู่เป็นรัฐ ๆ ตั้งบ้านอยู่ในดินแดนใดดินแดนหนึ่งที่มีอาณาเขตแน่นอน มีการแยกสมาชิกของสังคมออกเป็นผู้ปกครองและผู้ถูกปกครองและก็ผู้ปกครองแต่ละรัฐนั้นก็มีอำนาจสูงสุดเด็ดขาดไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของรัฐอื่น สิ่งที่สำคัญว่ารัฐเกิดขึ้นแล้วก็วิวัฒนาการจากรัฐในสมัยโบราณก็วิวัฒนาการขยายตัวเติบโตขึ้นมาจนเป็นรัฐสมัยใหม่ในปัจจุบัน
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「institutional theory」的推薦目錄:
institutional theory 在 丹眼看電影 Facebook 的最讚貼文
《#離開夢幻莊園》Leaving Neverland:善行與惡狀都可以是一種愛的展現
(警語⚠️本文包含一些不避諱的性描述,兒童不宜請自行斟酌閱讀)
「他會叫我全裸狗爬式地趴在床角背對他,把臀部雙頰撥開,他則看著我的肛門手淫。我只能瞪著前方牆壁的彼得潘海報,因為我無法轉頭看著他對著我做那件事。」
上週好不容易把一部四小時的紀錄片看完,不容易的不是片長,而是內容太令人痛苦。
這部電影是日前在美國日舞影展首映的《離開夢幻莊園》(Leaving Neverland),為英國導演 Dan Reed 透過訪談與舊畫面交替剪輯,鉅細靡遺地拼湊出美國流行天王麥可傑克森(Michael Jackson)被指控性侵的兩名男童的故事。
Wade Robson,澳洲人,5 歲時透過模仿傑克森的舞蹈而成名,進而結識傑克森,並為了能長期在傑克森的巡迴演唱會上擔任舞者而舉家搬遷到美國。他控訴傑克森從他 7 歲至 14 歲性騷、性侵他無數次。James Safechuck,美國人,幼時因與傑克森一同拍攝廣告而變熟,也受到傑克森的鼓舞而成為一名導演。二十年後他也受不了創傷後壓力症候群和恐慌症的發作而發聲控訴。兩人不約而同地詳述傑克森如何在他的私人豪宅「夢幻莊園」中,在各個密室與角落偷情,甚至支開父母一同過夜。傑克森承認他跟多名男童都有同室共枕過夜經驗,但自始至終否認有踰矩行為。
最近常在想紀錄片的本質究竟是公共性重要,還是藝術性重要。這部片的藝術性除了剪輯的巧思之外,沒有太大亮點,但毋庸置疑他將會是重要的時代代表(age-defining)作品。這部電影花了極少的篇幅去探討麥可傑克森的過去成長背景、明星時期的種種爭議,或是司法上的攻防手段。這部電影並不是一部憤怒的控告、一個試圖抹煞一個個體全部的追殺,反而是把幾乎所有的篇幅都留給了受害者及其家庭的心境發展曲線,透過訴說的記憶再現,去試圖拼湊出一個並非那麼非黑及白的扭曲、矛盾、痛苦、但明顯仍有愛的影子在當中的心理狀態。這部四小時的片長,讓我們很完整地走一遍兩位受害者從小到大的心理發展、創傷經驗當下的認知失調、後續的情緒壓抑與防衛機制、對親友社會支持的崩毀性傷害、面對親密關係和親子關係的遲疑與二次傷害、對加害者的斯德哥爾摩症候群和愛恨難解,完全就可以作為發展心理學、認知心理學、變態心理學,與司法心理學的重要教材。
許多人在尚未看影片就先拼命捍衛麥可的清白,並質疑:麥可一輩子投身公益、是一個大善人,怎麼可能會做這種齷齪的事?當年小孩在法庭上為麥可辯護,怎麼現在又突然改口,他的說詞誰能相信?事實上,若分析群眾的反應,也是一個極為有趣的社會心理學觀察。人們普遍相信世界是有公理可言(公正世界理論,Just-World Theory),好人有好報、惡人有惡報,因此我們常常難以相信孩童會遭遇這種事情,也因為基本歸因謬誤(Fundamental Attribution Error),而容易相信一件行為的發生是取決於行為者的善惡本質,而忽略了更多的情境因素。麥可的諸多善行和流行文化上的創舉,都讓人們對他產生了光暈效應(Halo Effect),使其所有層面都被賦予的正面價值。而當歌迷們長期以來投資鉅額的時間、心力、金錢成本的去支持、擁護他時,就容易因為沈默成本謬誤(Sunk-Cost Fallacy)而選擇拒絕考慮他可能有任何一絲犯錯的可能性,而這也是一種潛意識中保護自己的防衛機制(defense mechanism)。
而受害的幼兒們為何當年不說,現在才又突然跳出來呢?或許,這也是一種防衛機制,正因為過去的事情太難以被消化、被理解、被重述,而使得孩童們無意識或有意識地將其情緒或記憶孤立(isolation)、壓抑(repression)或否定(denial)。這也是為什麼根據 The Royal Commission into Institutional Responses to Child Abuse Final Report (2017) 研究報告指出,孩童受害者平均要 25.7 年才會自我揭露。平均每 6 名受害者,只有 1 名會說出來。在過往的例子中,我們常看到許多兒童性虐待的關係當中,其實並非我們想像中的充滿暴力、傷害、蹂躪,反而是一種循循善誘、逐漸取得一種排他性的尊榮感的親密連結。而這也就是在兒童性誘拐/誘導(child grooming)中常見的現象:「他是最要好的朋友,而不是可怕的人,他對我做的事情,一定是一種愛我的舉動,而我接受並且隱匿實情,也一定是因為我愛他」。在認知失調(cognitive dissonance)、習得性無助感(learned helplessness)與分離焦慮(separation anxiety)的交互作用之下,就容易演變成我們熟知的 斯德哥爾摩症候群(Stockholm Syndrome,或稱創傷羈絆,traumatic bonding)。(補充:這部分可以搭配《房思琪的初戀樂園》一書服用。)
因此,在愛中,惡並非完全是不存在的。這是一部述說愛的電影,只是我們往往對於愛情/親情的想像都太過侷限在健康的關係之中的樣態。片中的孩子們隱忍了二十多年,那是基於愛護麥可的一種愛的展現。父母親願意讓孩子們與麥可一同過夜、每天連續講好幾小時的電話,也是一種愛的展現;他們始終抱持著小孩能藉此闖出一片事業的希望。而麥可如果是真的做了這些事,是不是也是一種愛的展現?何嘗不是。
這部電影是由英國 Channel 4 與美國 HBO 共同製播,本月播出時已創下電視台的收看紀錄。歐普拉特別製作了訪談節目邀請兩位主角現身說法、多個國際音樂電台下架了傑克森的音樂作品、相關的芝加哥音樂劇也已延檔。除此之外,《辛普森家庭》也把 1991 年有一集傑克森客串配音的集數撤銷、英國某個博物館移除了傑克森的雕像、饒舌歌手 Drake 也取消在巡迴演唱會中演出傑克森的作品。更重要的是,當年替傑克森辯護的一名童星 Corey Feldman,也在看完電影說「我無法繼續為他辯解」。當然另一方也是動作頻頻,代表傑克森的遺產集團特地選在本片首播的兩個晚上,陸續免費上架了兩部傑克森演唱會的 live 錄影、並對 HBO 發起了天價的法律告訴;各地歌迷們也都群情激憤認為這是一起為了金錢而惡意抹黑的陰謀。然而,片中的受訪者並沒有收到半分酬勞。
不管你的預設立場為何,都請你有機會看看這部電影,拒絕鄉愿、打定主意你要站在誰的那一邊。在 Harvey Weinstein, Louis CK, Kevin Spacey 的時代,作家與作品已無法輕易切割討論。至少請你睜大你的雙眼,看看這個世界上,離我們理想的夢幻莊園,還有多大的差距。
-
#MichaelJackson
#LeavingNeverland
本片目前已在 FOX+ 平台上架,且有提供一個月免費試用期,歡迎前往觀賞: https://www.foxplus.com/tw (非業配,但也歡迎 FOX+找我業配)
參考資料:
http://bit.ly/2Wb5idD
http://bit.ly/2umbSlL
institutional theory 在 百工裡的人類學家 Facebook 的精選貼文
提起「藝術」,往往大家都會想起美麗的畫像或是雕塑,但遊歷世界,接觸各地原住民的人類學家們卻有不一樣的想法。
這篇來自【香港01】上的文章,介紹了藝術人類學家阿爾弗雷德.吉爾(Alfred Gell)與他的最後遺作《藝術與能動性:一套人類學理論》(Art and Agency: an Anthropological Theory),但我們看到人類學家看待藝術的獨特視角。
---------------------------
在理解藝術方面,人類學家雖會考慮哲學上的思辯和論證,但他們不一定全盤接受哲學家們的立足點。藝術人類學家阿爾弗雷德.吉爾(Alfred Gell)在他的最後遺作《藝術與能動性:一套人類學理論》(Art and Agency: an Anthropological Theory)裡聲稱,人類學對藝術的理解,是獨立於哲學和一般藝術理論的。
甚麼是藝術?吉爾認為,即使藝術就如亞瑟.丹托(Arthur Danto)所說,是由一幫在藝術圈裡的藝評家、拍賣者、收集者、理論家等所決定的東西,人類學理論所關心的卻是另一回事。他指出,丹托的藝術機構理論(institutional theory of art)或許有其一定的解釋能力;但在人類學的角度,藝術是一種社交行為;因此,理論的建構應以社會成員間的藝術互動作為中心。吉爾不反對社會互動終有一天會發展成藝術機構;他只是認為,在藝術機構之下,更根本的是人類間的社會互動。
(雖然,必須一說,吉爾對丹托的藝術機構理論,似乎存在著某種誤解 ── 丹托所說的,絕不只是隨隨便便的藝術圈)。
吉爾繼而進一步說明,在一個人類學的觀點下,對藝術的研究,其實是對「社會能動者(social agency)的社會關係」的研究。所謂的藝術品(art object)不一定就是《蒙娜麗莎》(Mona Lisa)那種,更準確的說它是社會關係的產物,所以,就連社會中的人(能動者)也是藝術品。他說,藝術的人類學理論必須要像其他的人類學理論 ── 例如,就像研究人類經濟交易的理論,只是把「經濟交易」換上「藝術品」。
吉爾對藝術的理解,聽上來有點極端,但卻道出了一些思考要點。首先,藝術是人類這種生物間的活動,它不像道德,需要放諸四海皆準(意思是,假如有具有智慧的外星生物,他或許跟人類共享類似的道德觀,但卻不必跟大類共享一套藝術觀)。其次,我們問甚麼是藝術,猶如把藝術視作獨立於人類的東西,吉爾把藝術的重點帶回社交上的面向。由此,我們又看到了藝術這個概念的一個意味:藝術活動的特質不單是藝術家的創作,還有欣賞者的回應。
(以上引用網頁原文)