“過去的故事和傳奇,就是下一個爆炸性成長或是崩盤所參考的劇本”
(Stories and legends from the past are scripts for the next boom or crash)
**此書有中文版**
一般來說教授的書我都會讀得比較慢,獲得諾貝爾經濟學獎的教授所寫的這一本也不例外。雖然相對沒有那麼容易讀,卻非常引人入勝。是屬於那種讀完之後,會衍生出更多想探索的問題的書籍。
故事,對於人的大腦,有一種獨特的吸引力和黏著度。這本書很有趣的是把故事的傳播性,與病毒的傳播新做了一個類比。病毒傳播的有利因素,包括感染力,在許多人群聚的地方,超級傳播者,以及不斷的變種,等等。世界上有那麼多的消息,所以會產生動能的常常是那些容易讓人記住或是難以忘記(感染力),在許多人聚集討論的言論(群聚),與名人產生關係 (超級傳播者),還有與人性會關注的事情 (特別是恐懼)結合產生變種而具有更強的傳播力。
作者提到一個很有趣的例子,在30年代,有人設計具有輪子的行李箱,卻被視為是一種滑稽愚蠢的發明 (現在的我們,能想像行李箱沒有輪子嗎?)。直到90年代,廠商把它與航空公司機組人員,做了一個連結,讓這些看起來專業有光鮮亮麗的人,拉著有輪子的行李箱在機場走動著,突然之間這樣的發明變成是專業時尚的代表,也才成為主流。一個實用的發明,被嘲笑了幾十年,直到與一種鮮明可羨慕的形象產生關係,才真正的打開市場。
關於人腦對於故事的接受度,大於事實和數據,作者用一些摔角比賽舉例。明明是安排好的套路,觀眾也知道,但卻仍然樂此不疲的喜愛觀賞。這原因是大家喜歡腦中的故事表演出來,勝於不確定性。故事的黏著性之強,即便之後有事實或是數據佐證,也很難翻轉之前故事已經留下的印像或是渲染力。常常一句巧妙的話,也容易讓人印象深刻 (即便說的人,不見得是原創者),更不用說現在的 hashtag 或是迷因梗圖 (memes)的渲染與黏著度了。
作者提到,在凱因斯經濟學裡就已經講到,經濟當中還是有人的動物本性 (animal spirits),是不應該被忽略的因素。除了心理因素之外,在20世紀隨著氣象預測科學逐漸發達,人們也開始既望經濟景況,可以像氣象一般預測。所以我們會聽到一些用詞,如 “股市空氣中瀰漫著一股不確定的氣氛” ,然後把某些 “信心指數” 當成氣壓數據來思考。
根據這些邏輯作者介紹了過去市場上,七大關於經濟故事的類型 (與它們的變種):
- Panic versus confidence 恐慌與信心
- Frugality versus conspicuous consumption
(提倡簡約或是鼓勵消費)
- The gold standard versus bimetallism
(貨幣與黃金掛勾或是複本位經濟)
- Labor saving machines replace many jobs
(機器會取代許多工作)
- Automation and AI replace almost all jobs
(自動化與人工智慧,可以取代幾乎所有的工作)
- Real estate booms and busts (房地產的繁榮與泡沫)
- Stock market bubbles (股票市場泡沫)
- Boycotts, profiteers, and evil business (抵制購買,與邪惡貪財的企業)
- The wage-price spiral and evil labor unions (薪資與價格的連動,以及邪惡自私的工會)
每一個例子當中,都可以看到不同時空下同個故事套路的變種。同時也會發現一個字詞,在不同的時代是具有不同的意義 (例如 “美國夢” 曾經講的是社會公義,甚至還有一度是提倡節約生活形式,到後來變成買大房大車的代名詞了)
我認為作者寫這本書的目的,是要鼓勵經濟研究學者跳出自己的同溫層。所謂的“行為經濟學”已經是跨出一步,但他認為經濟學家必須正視心理學,社會科學,甚至是哲學對經濟實質的影響。因為人不是完全理性,而市場不是絕對有效率的。
對我來說讀這樣的書最大的收穫,是再次的被提醒,很多習以為常的用詞和觀念,是經過時空環境變異,並非那麼絕對的。雖然這樣會讓思考變累,但是碰到問題的時候,如果能用這樣的方式回歸事物的本質,又何嘗不是一種可以跳脫框架,找出新的可能性和創造性的方式呢?這樣的意識和思考習慣,讓我們可以不用效法世界習俗慣性思考,心意更新而變化的找出創新之路。
全文與中文版連結和相關報導在部落格中👇
https://dushuyizhi.net/narrative-economics-故事經濟學/
#NarrativeEconomics #RobertSchiller #故事經濟學
labor economics 在 BennyLeung.com Facebook 的最讚貼文
打破同工不同酬,由公開薪酬開始?- Billy Tong
香港作為國際金融中心,是世上最富有的城市之一,但勞工剝削問題嚴重。例如在 2019 年「全球競爭力報告」中,香港因缺乏權益保障,在「勞工市場」一欄僅列全球 116 位,比新加坡低近 100 位。打工仔除了壓力大、工時超長、缺乏退休保障,還可能面對同工不同酬的問題。近年學界愈來愈多有關同工不同酬的研究,今年美國一份新報告就指,公開薪酬是解決問題的關鍵。
同工不同酬可以由身份背景因素所致,包括年齡、性別和種族。2015 年,研究組織 Institute of Labor Economics 就指出,踏入 90 年代,各國社會的性別意識增加,男女收入也愈趨平等,但 45 歲或以上的女性依然平均比男性少賺 45%。在香港,同工不同酬的情況也很普遍,撇除身份因素,有職場顧問指出,同工不同酬亦與入職時的整體市道有關,同時視乎個別員工當初有否向公司爭取更好人工,「正負 10% 差距很正常」。
康奈爾大學人力資源學家 Elena Belogolovsky 就表示,「薪酬透明度」(Pay transparency)是解決同工不同酬的關鍵。她認為收入不均源於工資資訊不平等,僱主比僱員更了解職位的市場價值,員工更難向老闆爭取加人工。只有公開薪酬,企業才會更有動力履行商業責任。Belogolovsky 認為,公開薪酬對老闆未必是壞事,一些案例反映,薪酬透明度愈高,同事之間士氣愈好,她在 2016 的研究文章亦指,員工若知道大家薪酬,遇到工作疑難時會更易找到幫助。
現時美國有少數企業會採取「薪酬透明政策」(salary transparency policies),比如大型連鎖店 Whole Foods、分析機構 SumAll,以及社交應用程式商 Buffer。其中 Buffer 更會在網站公開員工收入,其公關經理 Hailley Griffis 向「時代週刊」透露,公司公開薪酬後,應徵者的數目比以往多。可是,Belogolovsky 估計很多公司依然對此有所保留,老闆會擔憂不能以低薪留著自己的星級員工,再者,對他們來說,推動薪酬公平,誘因不大。
今年初,由華盛頓大學和西安大略大學學者共同發表的報告,就從政策角度反思美國同工不同酬的問題。目前為止,美國有「1963 年公平薪酬法案」,針對因性別歧視而造成的薪酬不公,惟實踐多年一直被指成效存疑。與此同時,美國「全國勞資關係法」理論上保障員工討論薪酬的權利,但執行上依然存在很多漏洞。近年,有參議員一直推動「公平收入法案」(Paycheck Fairness Act),更清晰表明僱主不能處分公開討論薪酬的員工,但草案在國會一直闖關失敗。
該報告指出,表示所屬私營企業設有薪酬保密政策(pay secrecy policy)的受訪者,相比 2010 年減少 6%;然而,依然有接近一半的全職員工受訪者指出,他們被明文禁止,或者被非正式地阻撓討論工資。研究人員表示,從法制層面來看,政府和各黨派顯然要付出更大決心堵塞漏洞。在香港,有關政策討論明顯遠遠落後美國,多年來政府甚至被指帶頭剝削非公務員合約僱員,連公營機構也未能做到同工同酬。
原文:CUP
#職場 #社會
labor economics 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
เศรษฐกิจเวียดนาม จะแซงไทย จริงหรือ? /โดย ลงทุนแมน
“อีกไม่นานเศรษฐกิจเวียดนามจะแซงประเทศไทย”
ประโยคนี้ จะกลายเป็นความจริง จริงหรือไม่?
ทุกวันนี้ เศรษฐกิจของเวียดนามกับไทย
ห่างไกล หรือ ใกล้เคียงกัน แค่ไหนกันแน่?
และอะไร คือสัญญาณเตือน ที่ทำให้ช่วงนี้ เราได้ยินกันบ่อยขึ้นว่า
เศรษฐกิจของเวียดนาม กำลังจะแซงไทย
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เริ่มต้นกันที่ เศรษฐกิจของ 2 ประเทศ มีความแตกต่างกันมากแค่ไหน
ปี 2019 ประเทศไทยมีขนาดเศรษฐกิจ 16.4 ล้านล้านบาท ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 ของโลก ประชากรมีรายได้เฉลี่ยคนละ 236,000 บาทต่อปี อยู่อันดับที่ 82 ของโลก
ขณะที่เวียดนาม ในปี 2019 มีขนาดเศรษฐกิจ 7.9 ล้านล้านบาท อยู่อันดับที่ 44 ของโลก ประชากรมีรายได้เฉลี่ยคนละ 82,000 บาท อยู่อันดับที่ 135 ของโลก
และด้วยรายได้เฉลี่ยต่อหัวของคนไทยในระดับนี้ ทำให้ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับสูง (Upper middle income country)
ขณะที่เวียดนาม ปัจจุบันยังถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลางระดับต่ำ (Lower middle income country)
สรุปแล้ว ในตอนนี้เศรษฐกิจไทยยังคงใหญ่กว่าเวียดนาม 2 เท่า
ขณะที่รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปีของคนไทย ก็มากกว่าของเวียดนามเกือบ 3 เท่า
เห็นแบบนี้แล้ว เราอาจสรุปได้ว่า
เศรษฐกิจของประเทศไทยในตอนนี้
ยังนำหน้าเวียดนามอยู่พอสมควรเลยทีเดียว
แต่รู้ไหมว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของเวียดนาม มากกว่าไทยถึง 2 เท่า
ในช่วงปี 2009-2019 เศรษฐกิจไทย เติบโตเฉลี่ยปีละ 3%
ขณะที่เศรษฐกิจของเวียดนามเติบโตเฉลี่ยปีละ 6%
สำหรับปีนี้ การระบาดของโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของหลายประเทศทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ไทยและเวียดนาม
หลายฝ่ายคาดการณ์กันว่า เศรษฐกิจไทยในปีนี้ จะติดลบประมาณ 6.4%
ส่วนเศรษฐกิจเวียดนาม จะยังคงเติบโตที่ 2.4%
แต่ถ้าสมมติว่า โรคระบาดนี้ผ่านพ้นไป
ถ้าเราให้เศรษฐกิจทั้ง 2 ประเทศ กลับมาเติบโตด้วยอัตราเฉลี่ยเดิมเหมือนกับช่วงปี 2009-2019
คือไทยเติบโตเฉลี่ยปีละ 3% และเวียดนามเติบโตเฉลี่ยปีละ 6%
หมายความว่า กว่าที่ขนาดเศรษฐกิจเวียดนามจะแซงไทย ต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 24 ปี จากวันนี้..
แต่ถ้าลองมองให้ลึกลงไปที่พื้นฐานเรื่องต่างๆ
ก็จะพบว่า เวียดนามกำลังเติบโตด้วยศักยภาพเพิ่มมากขึ้นทุกที
ปัจจุบัน เวียดนามมีประชากรกว่า 97 ล้านคน
มากเป็นอันดับที่ 15 ของโลก และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 111 ล้านคนในอีก 30 ปีข้างหน้า
ขณะที่ไทย มีประชากรประมาณ 69 ล้านคน
มากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก และคาดว่าประชากรไทยจะไม่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะอยู่ที่ 60-69 ล้านคน ในอีก 30 ปีข้างหน้า
ส่วนอายุเฉลี่ยของคนเวียดนามในวันนี้คือ 32 ปี ขณะที่อายุเฉลี่ยของคนไทยคือ 40 ปี
จำนวนประชากรในอนาคตของเวียดนามที่มากกว่าไทย
และอายุเฉลี่ยของคนเวียดนามที่น้อยกว่าไทย
อาจทำให้เวียดนามได้เปรียบกว่าประเทศไทยในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านแรงงานเพื่อการผลิต
ปี 2020 เวียดนามมีจำนวนแรงงานเท่ากับ 58 ล้านคน
ขณะที่ของประเทศไทยอยู่ที่ 38 ล้านคน
ปริมาณแรงงานที่อายุน้อยและมีจำนวนมาก จึงทำให้ต้นทุนค่าแรงของเวียดนามต่ำกว่า เมื่อเทียบกับประเทศไทย
ค่าแรงขั้นต่ำของเวียดนามอยู่ที่ประมาณ 132-190 บาทต่อวัน
ขณะที่ค่าแรงขั้นต่ำของไทยอยู่ที่ประมาณ 313-336 บาทต่อวัน
ต้นทุนแรงงานที่ต่ำ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญ ที่ดึงดูดให้บริษัทต่างชาติย้ายฐานการผลิตไปลงในเวียดนามหลายรายในช่วงที่ผ่านมา ยกตัวอย่างเช่น
Samsung บริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่จากเกาหลีใต้
LG บริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่จากเกาหลีใต้
Foxconn บริษัทผู้ผลิตและรับผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้กับ Apple
Panasonic บริษัทผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่จากญี่ปุ่น
ซึ่งนอกจากปัจจัยเรื่องค่าแรงแล้ว ยังอาจมีอีกหลายๆ ปัจจัย ที่ทำให้เวียดนามสามารถดึงดูดเงินลงทุนเข้าประเทศได้ เช่น ทักษะแรงงาน และกฎหมาย กฎเกณฑ์ที่เอื้อต่อการย้ายฐานการผลิตเข้ามาลงทุนในประเทศ
ส่วนเรื่องการไหลเข้าของเงินลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ หรือ Foreign direct investment (FDI) อย่างเช่นเงินลงทุนสำหรับตั้งโรงงานการผลิต ก็เป็นอีกตัวเลขที่น่าสนใจ
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ที่ไหลไปยังเวียดนาม
ในปี 2011 อยู่ที่ 222,000 ล้านบาท
ในปี 2019 อยู่ที่ 465,000 ล้านบาท
ขณะที่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ที่ไหลเข้ามาประเทศไทย
ในปี 2011 อยู่ที่ 74,100 ล้านบาท
ในปี 2019 อยู่ที่ 189,000 ล้านบาท
ขณะที่ของประเทศไทย หลังจากที่ยอด FDI เคยขึ้นไปสูงสุดที่ 477,000 ล้านบาท ในปี 2013 ก็ยังไม่เคยกลับไปจุดนั้นอีกเลยจนถึงวันนี้
มาถึงตรงนี้ ก็ต้องบอกว่า มีโอกาสไม่น้อยที่เวียดนามจะเติบโตต่อเนื่องอีกนานพอสมควร และยังอาจโตด้วยอัตราเฉลี่ยประมาณ 6% ต่อปี
และถ้าเศรษฐกิจไทยโตด้วยอัตราเฉลี่ยที่น้อยกว่าเดิม
เศรษฐกิจเวียดนาม อาจไล่ตามไทย ได้เร็วมากขึ้น
เช่น จาก 24 ปี เหลือ 20 ปี หรืออาจใช้เวลาน้อยกว่านั้น ถ้าเศรษฐกิจไทยอยู่กับที่..
ซึ่งคำถามที่ว่า เศรษฐกิจเวียดนาม จะแซงไทย จริงหรือ?
คำตอบคือ ถ้าช่วง 5-10 ปีนี้ ก็คงจะยังเป็นเรื่องยาก
แต่ถ้าในระยะยาว 20-30 ปี ข้างหน้า ก็ต้องยอมรับว่า “มีความเป็นได้” เหมือนกัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)
-https://data.worldbank.org/country
-https://en.wikipedia.org/wiki/Developing_country
-GDP growth (annual %) | Data (worldbank.org)
-https://e.vnexpress.net/news/business/economy/vietnam-gdp-growth-to-be-among-world-s-highest-in-2020-imf-4194065.html#:~:text=The%20International%20Monetary%20Fund%20has,percentage%20points%20to%202.4%20percent.
-https://www.thailand-business-news.com/economics/81636-thai-bank-revised-up-2020-gdp-forecasts-to-6-4-and-projected-2021-growth-at-3-3.html
-https://www.worldometers.info/world-population/population-by-country/
-https://www.statista.com/statistics/444584/average-age-of-the-population-in-vietnam/#:~:text=The%20median%20age%20in%20Vietnam,to%2041%20years%20by%202050.
-https://tradingeconomics.com/vietnam/labor-force-total-wb-data.html#:~:text=Labor%20force%2C%20total%20in%20Vietnam,compiled%20from%20officially%20recognized%20sources.
- https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=638&language=eng
-https://www.vietnam-briefing.com/news/vietnams-competitive-minimum-wages-how-fares-with-regional-peers.html/#:~:text=This%20year%20Vietnam%20increased%20its,%24190%20depending%20on%20the%20region.
-https://vietnamtimes.org.vn/more-foreign-manufacturers-move-to-vietnam-amid-covid-19-pandemic-19842.html#:~:text=Specifically%2C%20multinational%20companies%20such%20as,Vietnam%20rather%20than%20in%20China.
-https://www.reuters.com/article/uk-foxconn-vietnam-apple-exclusive/exclusive-foxconn-to-shift-some-apple-production-to-vietnam-to-minimise-china-risk-idUKKBN2860XN
-https://data.worldbank.org/indicator/BX.KLT.DINV.CD.WD?locations=VN
-https://data.worldbank.org/indicator/BX.KLT.DINV.CD.WD?locations=TH
labor economics 在 Labour Economics | Journal | ScienceDirect.com by Elsevier 的相關結果
Labour Economics is devoted to publishing international research on empirical, theoretical and econometric topics that are of particular interest to labour ... ... <看更多>
labor economics 在 IZA - Institute of Labor Economics 的相關結果
IZA coordinates and supports the world's largest research network in labor economics, comprising more than 1,600 scholars from over 60 countries. Our extensive ... ... <看更多>
labor economics 在 Labour economics - Wikipedia 的相關結果
Labour economics, or labor economics, seeks to understand the functioning and dynamics of the markets for wage labour. Labour is a commodity that is ... ... <看更多>