ผู้สนับสนุน..
หุ้นกู้ PTT เรทติ้ง AAA (tha) ที่หลายคนรอคอย
กรีนบอนด์อายุ 3 ปี ดอกเบี้ย 2.25% และหุ้นกู้อายุ 7 ปี ดอกเบี้ย 2.85% ต่อปี
เดินหน้าส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์แก่สังคม และชุมชน
เห็นบริษัทต่างๆ เสนอขายหุ้นกู้แก่ผู้ลงทุนประชาชนทั่วไปกันมากมาย นักลงทุนหลายคนก็รอลุ้นว่า บริษัทพลังงานข้ามชาติชั้นนำรายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย อย่าง บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท. (PTT) จะเสนอขายหุ้นกู้เมื่อไร
ล่าสุดหลังจากประสบความสำเร็จในการเสนอขายหุ้นกู้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2563 ที่ผ่านมา ปตท. ได้เปิดตัวหุ้นกู้ 2 รุ่นสำหรับเสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป รุ่นนึงเป็นหุ้นกู้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือกรีนบอนด์ อายุ 3 ปี ดอกเบี้ย 2.25% ต่อปี กับอีกรุ่นเป็นหุ้นกู้อายุ 7 ปี ดอกเบี้ย 2.85% ต่อปี ซึ่งรุ่นนี้มีให้สิทธิกับผู้ถือหุ้นกู้เดิมของ ปตท. (8 รุ่น ที่ครบกำหนดไถ่ถอนไปแล้วระหว่างปี 2559 ถึง 2562) ด้วย โดยทั้ง 2 รุ่น กำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือน
ในด้านของอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ ปตท. นั้น หายห่วง เพราะบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด ประกาศอันดับเครดิต หุ้นกู้ ปตท. เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 เป็นตราสารหนี้ที่ออกในประเทศไทยที่มีอันดับเครดิตสูงสุด คือ AAA (tha)
ฟิทช์ เรทติ้งส์ ระบุไว้ว่า อันดับเครดิตของ ปตท. สะท้อนถึงการดำเนินธุรกิจแบบครบวงจรของกลุ่ม ปตท. และความมีเสถียรภาพจากการที่ ปตท. ได้ถือหุ้นในบริษัทในเครือต่างๆ ตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ (Business Value Chain) ตั้งแต่ธุรกิจต้นน้ำ จนถึงปลายน้ำ ที่มีขนาดใหญ่และมั่นคง อาทิ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจโรงกลั่น และธุรกิจปิโตรเคมี และยังระบุถึงสถานะทางการเงินและสภาพคล่องที่แข็งแกร่งของ ปตท. ด้วยว่า ปตท. ได้รับประโยชน์จากกระแสเงินสดจากการดำเนินงานของธุรกิจตลอดห่วงโซ่ ที่มีความสม่ำเสมอ เนื่องจากอุปสงค์ของธุรกิจพลังงานค่อนข้างมีความมั่นคง
นอกจาก ปตท. จะเป็นบริษัทพลังงานไทยที่เทียบชั้นได้กับบริษัทใหญ่ๆ ระดับโลกแล้ว เรายังเห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะสร้างความสมดุลระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และการพยายามร่วมสร้างสังคมไทยให้แข็งแรง เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงานและความมั่งคั่งให้กับเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2562 ที่ผ่านมา ปตท. ได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกในดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 ในกลุ่มดัชนีโลก (World Index) และดัชนีตลาดเกิดใหม่ (Emerging Market Index) สะท้อนให้เห็นถึงการบริหารจัดการความยั่งยืนขององค์กรที่สามารถเทียบเคียงกับบริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมเดียวกันทั่วโลก นำมาซึ่งความภาคภูมิใจสู่องค์กรและประเทศไทยที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
และเนื่องจากหุ้นกู้ ปตท. ที่ออกครั้งนี้มี “กรีนบอนด์” หรือหุ้นกู้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วย โดยที่ ปตท. ถือเป็นบริษัทแรกในประเทศไทยที่เสนอขายกรีนบอนด์ให้กับผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป และได้รับประกาศนียบัตรจาก Climate Bonds Initiative (CBI) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม ที่มุ่งเน้นและให้ความสำคัญเรื่องการลงทุนและการระดมทุนที่สนับสนุนการนำไปสู่สังคมและเศรษฐกิจแบบ Low Carbon หรือการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยโครงการเพื่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ปตท. นั้น ถือเป็นโครงการแรกในโลกที่ได้รับประกาศนียบัตรจาก CBI ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้ ซึ่งตอกย้ำถึงความเป็นผู้นำของ ปตท. ในการมุ่งเน้นเรื่องความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมที่แท้จริง เราจึงควรทำความรู้จักกับโครงการเพื่อสิ่งแวดล้อมของ ปตท. กันหน่อยว่า ที่บอกว่าเป็นโครงการเพื่อ “ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์แก่สังคม และชุมชน” นั้นเป็นอย่างไร
เริ่มจากปี 2537 ปตท. ได้รับอาสาภาครัฐปลูกป่า จำนวน 1 ล้านไร่ ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ปีที่ 50 เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกทำลาย โดยมีพื้นที่เป้าหมายกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ
ปัจจุบัน ผลจากการปลูกป่าดังกล่าวได้เติบโตและสร้างประโยชน์ให้กับประเทศ โดยการวิจัยของศูนย์วิจัยป่าไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าป่าที่ ปตท. ได้ดำเนินการปลูกและดูแลรักษา สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้เฉลี่ย 2.14 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี และมีการใช้ประโยชน์ของชุมชนด้านของป่าคิดมูลค่ารวมกว่า 280 ล้านบาทต่อปี (ข้อมูลจากงานวิจัยผลสัมฤทธิ์แปลงปลูกป่า ปตท. โดย ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2560 – 2561) และยังคงมีความอุดมสมบูรณ์มากกว่า 82% ด้วยความร่วมใจดูแลรักษาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า อีกทั้งเป็นส่วนหนึ่งที่ร่วมสร้างการพึ่งพาตัวเอง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจที่ดีแก่ชุมชนโดยรอบพื้นที่แปลงปลูกป่า นอกจากนี้ยังเกิดเครือข่ายความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศมากมาย
จากโครงการปลูกป่าฯ สู่การจัดตั้งเป็นสถาบันปลูกป่าและระบบนิเวศ ปตท. ได้ทำหน้าที่ขยายผล ต่อยอดจากภารกิจโครงการปลูกป่าฯ 1 ล้านไร่ ผ่านการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ที่สำคัญจำนวน 3 ศูนย์ ซึ่งมีจุดเด่นที่แตกต่างกัน ประกอบด้วย ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี ศูนย์เรียนรู้ป่าในกรุง และ ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี เป็นพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ป่าชายเลน 786 ไร่ ที่ตำบลปากน้ำปราณ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่แห่งนี้ได้รับการฟื้นฟูจากนากุ้งร้างสู่ความอุดมสมบูรณ์ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนระดับประเทศและภูมิภาค รวมถึงเป็นพื้นที่ต้นแบบการบริหารจัดการพื้นที่ป่าอย่างยั่งยืนร่วมกับชุนชนและหน่วยงานภาครัฐ สร้างรายได้ให้ชุมชนจากการรับรองนักท่องเที่ยว และจากการจับสัตว์น้ำ
ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลป่ายุบใน อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง เนื้อที่รวม 351 ไร่ มีแนวคิดการออกแบบที่คำนึงถึงระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ซึ่งกระทบต่อธรรมชาติน้อยที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และนวัตกรรมการฟื้นฟูป่ารูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการฟื้นฟูป่าแบบบูรณาการในรูปแบบ “วนเกษตร” ที่ปลูกไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชสวน รวมถึงการทำนาแบบผสมผสาน ทั้งยังเป็นพื้นที่ปลูกป่าโครงการนำร่องที่เข้าร่วมโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand-Voluntary Emission and Reduction: T-VER) สาขาป่าไม้และพื้นที่สีเขียว
ศูนย์เรียนรู้ป่าในกรุง ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2558 โดยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิด และพระราชทานชื่อ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 12 ไร่ บนถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ กทม. เป็นแหล่งสะสมพันธุ์ไม้พื้นถิ่นต่างๆ ของกรุงเทพฯ ทั้งยังรวบรวมองค์ความรู้การปลูกและอนุรักษ์ป่าของ ปตท. ปัจจุบันเป็นหนึ่งในแหล่งกิจกรรมปลูกฝังเรื่องการอนุรักษ์ป่าและสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ชิดคนเมือง
ซึ่งนอกจากการมุ่งรักษาทรัพยากรควบคู่กับการสร้างความรู้แล้ว ขณะนี้ ปตท. ยังหวังยกระดับคุณภาพชีวิตประชากรในเมืองผ่านแนวคิดแบบ Urban Green มากขึ้น อย่างที่ผ่านมาก็มีโครงการ Our Khung BangKachao ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนความร่วมมือในรูปแบบ social collaboration กับภาคีต่างๆ กว่า 65 หน่วยงาน เพื่อพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า จ.สมุทรปราการ ที่ถือว่าเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ในการผลิตออกซิเจนให้กับคนเมือง ให้สามารถเติบโตอย่างสมดุล เป็นพื้นที่สีเขียว ร่วมกับพัฒนาเศรษฐกิจ ปากท้อง ความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน
จะเห็นว่าโครงการปลูกป่าของ ปตท. ไม่ใช่แค่ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม แต่ยังส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติเพื่อความยั่งยืนในระยะยาว ด้วยการสร้างให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ ปลูกสร้างจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมและการเพิ่มพื้นที่สีเขียวควบคู่กันไปด้วย ซึ่งจะตอบโจทย์นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมในระยะยาวต่อไป
กลับมาที่เรื่องหุ้นกู้ว่า ผู้ที่สนใจจะซื้อได้ที่ไหน เมื่อไร?
สำหรับหุ้นกู้ อายุ 7 ปี เสนอขายในวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 สำหรับผู้ถือหุ้นกู้เดิมของ ปตท. (8 รุ่น ที่ครบกำหนดไถ่ถอนไปแล้วระหว่างปี 2559 ถึง 2562) โดยกำหนดมูลค่าจองซื้อไม่เกิน 1,000,000 บาท/ราย/ธนาคาร และวันที่ 21-23 กรกฎาคม 2563 สำหรับผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป
สำหรับกรีนบอนด์ (หุ้นกู้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) อายุ 3 ปี เสนอขายระหว่างวันที่ 21 - 23 กรกฎาคม 2563 สำหรับผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป โดยกำหนดมูลค่าจองซื้อกรีนบอนด์ไม่เกิน 1,000,000 บาท/ราย/ธนาคาร
หุ้นกู้ ปตท. จัดการจำหน่ายโดยธนาคารชั้นนำ 4 แห่ง ดังนี้
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) โทร. 02-111-1111
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) โทร. 1572
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โทร. 02-888-8888 ต่อ 819 และ
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) โทร. 02-777-6784
สามารถติดตามรายละเอียดจากหนังสือชี้ชวนการเสนอขายได้ที่ www.sec.or.th หรือสอบถามข้อมูลผ่านธนาคารพาณิชย์ ผู้ร่วมจัดการการจำหน่าย
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「low carbon initiative」的推薦目錄:
low carbon initiative 在 決戰中環 Facebook 的精選貼文
歐洲也不是一面倒親中的
https://www.facebook.com/1027813447317433/posts/1838604569571646/
被視為歐洲版一帶一路的部份細節。新加坡海峽時報的一篇評論認為,歐洲版一帶一路誕生,是中國擴張行為令歐洲感不快與不安的結果。
#中帝崛起?
#一帶一路
歐盟官方宣傳:
"A better connected Europe and Asia through transport links, energy, human and digital networks strengthens the resilience of societies and regions, as well as creating avenues for a better, low-carbon future. More sustainable connectivity will also help people to enjoy higher standards of living, while creating more opportunities for education, cross-collaboration and research and promoting cultural exchange.
The new strategy is based on four of the EU's strengths: its internal market as the basis of sustainable connectivity, its experience of creating networks across borders, its ability to build partnerships – on the bilateral, regional and international levels, and a comprehensive financial framework for mobilising investment. The EU will look to combine financial resources from international financial institutions, multilateral development banks and the private sector, building on the success of the Juncker plan and the EU's External Investment Plan, which are on track to mobilise investment worth €500 billion and €44 billion respectively. This demonstrates the EU's determination to make a difference in people's lives, both inside and outside of the EU.
The approach to connecting Europe and Asia "is something big, [and] is consistent with our overall global approach," Mogherini concluded, "and I know that our friends not only in Europe but also in Asia are very much looking forward to start working on this.""
https://eeas.europa.eu/…/european-way-connectivity-%E2%80%9…
https://eeas.europa.eu/…/europe_asia_connectivity_factsheet…
"The Europeans were slow to grasp the significance of China's BRI, partly because they frequently failed to pay proper attention to Asian developments, but also because Europeans are instinctively dismissive of grandiose plans to tie up continents together by spending trillions of dollars on infrastructure construction; the initial assumption in Europe was that China's BRI was more about publicity than real projects.
Complacency was soon replaced by keen European interest. And countries on Europe's peripheries were flattered by Chinese claims that they would become "pathways", "bridges" or "launch pads" from Asia to Europe if only they accepted a Chinese project to build a road or welcomed a Chinese firm wishing to build or manage a harbour.
But Europe's honeymoon with the Chinese vision did not last long. First came evidence that many of these projects were not truly cooperative efforts but, essentially, Chinese financial credits for Chinese construction contracts. A full 89 per cent of all the projects labelled under the BRI were executed by Chinese firms using Chinese workers and materials.
REASONS FOR EU UNHAPPINESS
And as the projects came closer to Europe, it became increasingly clear that China's Belt and Road Initiative challenged some of the fundamental EU objectives. The first is that of open tendering for major public projects, something Chinese companies frequently avoided. In pushing its BRI, China also appeared to ignore principles of reciprocity. While European investors and especially construction companies can't even dream of competing for public contracts inside China without using a Chinese partner, Chinese companies did not operate under the same restraint in Europe.
China's entire or partial acquisition of ports in Belgium, the Netherlands, Spain, Italy and, most spectacularly, Greece are moves which carry significant strategic implications. If these were just normal economic transactions, then why can't a European company acquire similar port assets in China?
But what irks EU governments most is China's increased ability to use the clout it derives from BRI projects to influence Europe's political decision-making process and, as EU officials see it, undermine the union's solidarity.
Beijing's creation of the so-called 16+1 Group, a motley collection of existing or aspiring EU member states, all fairly poor and underdeveloped, is seen in Brussels as direct Chinese interference in Europe's backyard.
Under the guise of the 16+1 Group, the Chinese signed contracts which simply mortgaged the future of these often-vulnerable countries. Take the case of Montenegro, a small impoverished state on Europe's south-eastern corner which was persuaded by China in 2014 to borrow from Beijing's Exim bank for constructing a highway. The total value of this contract amounts to an astonishing one-quarter of Montenegro's entire economy. The project is not only unsustainable but could spell Montenegro's bankruptcy.
The consensus in Europe is that the continent can no longer just sit idly by as these developments unfold. In April, 27 out of the 28 ambassadors of EU member states in Beijing sent back to their capitals a joint letter urging a unified response against China's BRI, which, they claimed, "runs counter to the EU agenda for liberalising trade and pushes the balance of power in favour of subsidised Chinese companies".
Individual EU countries - principally Britain, France and Germany, but now also Italy - are overhauling their own regulations in order to vet Chinese investments in economic sectors deemed strategically significant. And now, the EU's diplomats, led by Ms Mogherini, have come up with an even more pointed response to China's BRI project."
https://www.straitstimes.com/…/eu-launches-alternative-to-c…
low carbon initiative 在 臺南 TODAY Facebook 的最佳貼文
Shining on the International Stage: Tainan Wins Low-carbon Model Town Gold Medal in 2017 Energy Smart Communities Initiative Best Practices Award
臺南市獲「2017第三屆APEC能源智慧社區最佳案例評選競賽」 低碳示範城鎮金質獎 世界大放光芒
The competition for this year’s Energy Smart Communities Initiative Best Practices Award was very fierce, as there were nearly 197 entries submitted from the 21 member economies. Tainan’s gold-winning entry, “Solar Powered City - Tainan Reaches for the Sun”, leverages local resources such as abundant sunshine and the most comprehensive green energy industry chain in Taiwan, and stood out amongst the entries submitted from other advanced cities, including Guangzhou (China), Songdo (Korea), and Skolkovo (Russia). This fully displays Taiwan’s soft power in the area of energy smart communities and shows that we are capable of leading international trends.
本屆APEC能源智慧社區最佳案例評選競賽,在21個會員體投件相當踴躍,有近197件案例登錄參賽,競爭十分激烈。臺南市政府以「陽光電城-大臺南迎向陽光」,善用地方特色太陽光能優勢及全臺灣最完整綠色產業鏈結等,在亞洲眾多先進城市(包括中國廣州、韓國的Songdo及俄國的Skolkovo等)競爭中脫穎而出,獲得金質獎殊榮,充分展現我國在能源智慧社區領域的軟實力,引領國際前瞻思維。
🔖中文新聞連結: http://www.tainan.gov.tw/tainan/news.asp…
🔖英文新聞連結: http://www.tainan.gov.tw/tainanE/page.asp…