องค์การอวกาศนาซาเผยลมสุริยะเป็นต้นเหตุที่ทำให้ดาวอังคารสูญเสียชั้นบรรยากาศ
ในการแถลงข่าววันนี้ (5 พ.ย. 58) องค์การอวกาศนาซาได้เปิดเผยผลการศึกษาของโครงการ Mars Atmosphere and Volatile Evolution (MAVEN) ซึ่งเป็นโครงการศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวอังคารว่า ต้นเหตุที่ทำให้ชั้นบรรยากาศของดาวอังคารเปลี่ยนจากชั้นบรรยากาศที่อุ่นและประกอบไปด้วยน้ำ กลายเป็นชั้นบรรยากาศที่เยือกเย็นและแห้งอย่างทุกวันนี้ว่ามาจากลมสุริยะ
ข้อมูลจาก MAVEN บอกเราว่าดาวอังคารกำลังสูญเสียชั้นบรรยากาศอยู่ตลอดเวลาจากลมสุริยะที่เข้ามาประทะ โดยลมสุริยะกำลังทำให้ดาวอังคารสูญเสียชั้นบรรยากาศไปในอัตรา 100 กรัมทุกๆ วินาที ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปนาน เทียบเท่ากับมวลชั้นบรรยากาศอันมหาศาลที่สูญเสียไป ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นดาวอังคารอย่างที่เรารู้จักกันทุกวันนี้
นอกจากนี้ MAVEN ยังค้นพบว่าในช่วงที่มีลมพายุสุริยะรุนแรงในปี ค.ศ. 2015 อัตราการสูญเสียของชั้นบรรยากาศนั้นมีเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยะสำคัญ ทำให้ค้นพบว่าอัตราการสูญเสียชั้นบรรยากาศจากลมสุริยะน่าจะเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ดาวอังคารสูญเสียชั้นบรรยากาศไป
ลมสุริยะประกอบด้วยอนุภาคมีประจุ เช่น โปรตอนและอิเล็กตรอน ด้วยอัตราเร็ว 2 ล้านกม./ชั่วโมง การเคลื่อนที่ของอนุภาคเหล่านี้จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้า ช่วยเร่งให้ไอออนในชั้นบรรยากาศของดาวอังคารหลุดออกไปสู่ห้วงอวกาศได้
เรามีหลักฐานมากมายที่บ่งบอกว่าเมื่อครั้งหนึ่งในอดีต พื้นผิวของดาวอังคารเคยมีน้ำซึ่งเป็นของเหลวไหลมาก่อน หลักฐานทางธรณีวิทยามากมาย ตั้งแต่ร่องน้ำ สามเหลี่ยมปากแม่น้ำ รวมไปถึงผลึกแร่ธาตุที่เกิดขึ้นได้ในสภาพที่มีน้ำไหลอย่างต่อเนื่องเท่านั้น บ่งบอกให้เห็นว่าเมื่อก่อนดาวอังคารควรจะมีชั้นบรรยากาศหนากว่าปัจจุบันนี้ ซึ่งน้ำที่เป็นของเหลวจะระเหิดไปอย่างรวดเร็ว
การค้นพบของ MAVEN ช่วยยืนยันได้ว่าลมสุริยะเป็นตัวการหลักที่ทำให้ดาวอังคารสูญเสียชั้นบรรยากาศไป นอกจากนี้ยังมีตัวการอื่นอีกมากที่อาจจะทำให้สูญเสียชั้นบรรยากาศไปได้ ซึ่งจะมีแต่ทำให้การสูญเสียนี้เป็นไปได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดย MAVEN จะทำการศึกษาต่อไป
ทั้งนี้ ลมสุริยะก็มีผลต่อชั้นบรรยากาศบนโลกเราเช่นกัน แต่ด้วยสนามแม่เหล็กที่เข้มของโลกของเรา ทำให้อัตราการสูญเสียชั้นบรรยากาศของโลกเรานั้นช้ากว่าดาวอังคารเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าสนามแม่เหล็กของโลกจะมีการอ่อนแรงลงและกลับขั้วอยู่หลายครั้งในอดีต แต่ก็ไม่ได้เกิดขึ้นในระยะเวลาที่มากพอที่จะทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เช่นดาวอังคารได้
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม
[1] http://www.nasa.gov/…/nasa-mission-reveals-speed-of-solar-w…
[2] วีดีโอ animation แสดงการสูญเสียชั้นบรรยากาศจากลมสุริยะ https://www.youtube.com/watch?v=gX5JCYBZpcg
「maven mars」的推薦目錄:
maven mars 在 風傳媒 Facebook 的最佳貼文
NASA發射MAVEN 探測火星大氣層
2013年11月19日
楊芬瑩/綜合報導
美國航太總署(NASA)18日下午1時28分於佛羅里達州卡拉維爾角空軍基地,發射火星探測太空船「MAVEN」,目標探測火星大氣層,幫助科學家瞭解遠古時代火星的劇烈氣候變化。MAVEN未來10個月要飛越7億公里的航程,預計明年9月進入火星軌道。
搭乘擎天神5號401火箭(Atlas V 401)升空的MAVEN,是NASA自1964年以來第21次火星任務,但卻是研究火星大氣層的首次任務。MAVEN是Mars Atmosphere and Volatile Evolution Mission(火星大氣與易揮發物質演化任務)的縮寫, 2008年至今耗資逾6.71億美元(約新台幣197億元)。
相較於之前的火星登陸探測計畫,MAVEN研究的是大氣、其揮發物質與逃逸速度等情況,所以不會登陸,而是在距離火星地表6218公里的高空繞行火星軌道,MAVEN最接近火星的位置,也相距125公里遠。
過去幾年,火星相關研究指出,火星表面含水特徵的地形,如河口三角洲、河谷、沈積物等證據非常豐富,推論30幾億年前的諾亞時期(Noachian era),遠古火星表面的海洋覆蓋面積或高達36%,應該像地球一樣,擁有降水、蒸發、凝結成雲、結冰、地下水等完整的水文循環,甚至適合微生物生長。
火星轉變成如今溫度極端變化的荒涼旱地,應該起因於火星大氣層氣體大量散逸、被太陽光破壞,逐漸稀薄的氣層,也導致表面液態水消失。MAVEN能蒐集分析火星大氣仍然保留的氣體,進而幫助科學家探索遠古火星劇烈氣候變化的情況。
「火星是否曾經出現生命?」這個問題可以概括所有火星任務的終極使命,那也是科學家探求另一個重要問題「宇宙之大,只有地球有生命嗎?」的一部分。
MAVEN小檔案
全名:Mars Atmosphere and Volatile Evolution Mission(火星大氣與易揮發物質演化任務)
重量:2454公斤(約相當於一部休旅車)
抵達時間:2014年9月22日
探測範圍:距離火星地表6218公里到169公里的軌道範圍
好文章請讓更多人看見!如果您喜愛「風傳媒」的文章,請按讚或分享:http://www.facebook.com/stormmedia