【柬埔寨石油蘊藏恐成「資源詛咒」】
柬埔寨在暹邏灣(Gulf of Thailand)蘊藏豐富的石油資源,在延宕多年後,已於去年底動工開採,可望為柬埔寨帶來龐大的能源收益。
雖然這對貧窮的柬國人民來說是一項好消息,然而柬埔寨的獨裁政治與腐敗體制,恐將使得石油收益反而變成「資源詛咒」(Resource Curse),人民無法獲得好處,政治更為專制。
#柬埔寨
#石油
#資源詛咒
📌歡迎加入央廣Rti官方TG帳號📌
https://t.me/RadioTaiwan
📌Google新聞也可追蹤央廣Rti📌
https://reurl.cc/LdGL5L
同時也有23部Youtube影片,追蹤數超過9萬的網紅Shiney,也在其Youtube影片中提到,A Total War Saga: TROY ซื้อเกมได้ที่ https://store.epicgames.com/legendauser/a-total-war-saga-troy A Total War Saga: TROY is the first in the award-...
resource curse 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
ปรากฏการณ์ Dutch Disease ข่าวดีที่มาพร้อมกับข่าวร้าย /โดย ลงทุนแมน
“ข่าวที่ดีมาพร้อมกับข่าวร้าย”
ประโยคที่สรุปความหมายทั้งหมดของคำว่า Dutch Disease ได้เป็นอย่างดี
ปรากฏการณ์ Dutch Disease คืออะไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง แบบเข้าใจง่ายๆ
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Dutch Disease คือ ปรากฏการณ์ซึ่งเกิดจากการเติบโตของเศรษฐกิจด้านหนึ่ง กลับไปทำลายเศรษฐกิจอีกด้านหนึ่ง
คำว่า Dutch มาจากคำที่เรียกชาวเนเธอร์แลนด์
เพราะจุดกำเนิดของเรื่องนี้ เกิดขึ้นในปี 1959 ที่ตอนนั้น ประเทศเนเธอร์แลนด์มีการค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรปที่เมืองโกรนิงเงินทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
แน่นอนว่า นี่คือข่าวดีของเนเธอร์แลนด์อย่างไม่ต้องสงสัย การค้นพบทรัพยากรธรรมชาติในครั้งนี้ ส่งผลทำให้มีเงินลงทุนจากต่างประเทศไหลเข้ามาเพื่อพัฒนาโครงการแห่งนี้ และเมื่อรวมกับการมีรายได้จากการส่งออกก๊าซธรรมชาติ จะทำให้มีเงินตราต่างประเทศไหลเข้าสู่เนเธอร์แลนด์จำนวนมาก
แต่ข่าวร้ายของเรื่องนี้ก็คือ
การไหลเข้าของเงินตราต่างประเทศทำให้ค่าเงินกิลเดอร์ของเนเธอร์แลนด์นั้นแข็งค่าขึ้น จนกระทบกับเศรษฐกิจของประเทศ
เนื่องจากการแข็งค่าของเงินทำให้ภาคการผลิตเพื่อส่งออกของเนเธอร์แลนด์ได้รับผลกระทบ และสูญเสียความสามารถในการแข่งขันกับสินค้าในตลาดต่างประเทศ
ขณะที่มีสินค้าจากต่างประเทศถูกนำเข้าและมาแข่งขันกับสินค้าในประเทศมากขึ้น
พอเรื่องเป็นแบบนี้ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตของเนเธอร์แลนด์จึงได้รับความเสียหายอย่างหนัก จนนำไปสู่การลดการลงทุน ลดการจ้างงาน ทำให้อัตราการว่างงานของเนเธอร์แลนด์เพิ่มขึ้นจาก 1.1% ไปถึง 5.1% ในช่วงระหว่างปี 1970-1977
ขณะที่บางครั้ง Dutch Disease ก็ถูกนำไปใช้อธิบายสถานการณ์ที่เรียกว่า Resource Curse หรือ “คำสาปแห่งทรัพยากรธรรมชาติ” ได้เช่นกัน
ซึ่งเรื่องแบบนี้มักเกิดขึ้นในประเทศที่แม้จะมีรายได้จากทรัพยากรที่มีค่ามากมายมหาศาล แต่รายได้เหล่านั้นถูกนำไปใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ จนนำไปสู่วิกฤติการเมืองและเศรษฐกิจ เหมือนที่หลายประเทศเคยเจอ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ เวเนซุเอลา
ย้อนกลับไปในช่วงต้นทศวรรษ 2000 การปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมัน ถือเป็นข่าวดีของประเทศที่มีปริมาณสำรองน้ำมันดิบมากที่สุดในโลกอย่างเวเนซุเอลา จนทำให้ตอนนั้น ที่นี่กลายเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความมั่งคั่งมากที่สุดในโลก
ในปี 2011 เพียงปีเดียว เวเนซุเอลามีรายได้จากการส่งออกน้ำมันถึง 2.3 ล้านล้านบาท
ในปี 2012 รายได้จากการส่งออกน้ำมันของเวเนซุเอลามีสัดส่วนถึง 96% ของรายได้จากการส่งออก และมีสัดส่วนเกือบ 50% ของงบประมาณประเทศ
เรื่องนี้ถึงขนาดทำให้ แค่รายได้จากการขายน้ำมันเพียงอย่างเดียวก็สามารถเลี้ยงประชากรทั้งประเทศเวเนซุเอลาได้
อย่างไรก็ตาม
ข่าวร้ายของเรื่องนี้ก็คือ การที่ค่าเงินโบลิวาร์นั้นแข็งค่าขึ้นอย่างมาก จนทำให้กรุงการากัสเมืองหลวงของเวเนซุเอลากลายมาเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพแพงที่สุดในโลกเมื่อคำนวณจากอัตราแลกเปลี่ยน
เมื่อรวมกับการนำเงินไปใช้ในการทำนโยบายประชานิยมของอดีตประธานาธิบดีอูโก ชาเบซ เพื่อสร้างคะแนนนิยมทางการเมือง โดยไม่ได้นำไปลงทุนพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ ของประเทศเพื่อรองรับกับการลดลงของราคาน้ำมันในอนาคต
จนทำให้ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอื่น ถดถอยไปเรื่อยๆ
และแล้วเมื่อราคาน้ำมันเริ่มตกต่ำในปี 2014 เวเนซุเอลา ก็เจอปัญหาอย่างหนัก
จนวันนี้ใครจะไปคิดว่า เวเนซุเอลากลับมีมูลค่า GDP เหลือพียง 2.2 ล้านล้านบาท ในปี 2019 น้อยกว่าของประเทศไทยถึง 7 เท่า
สำหรับประเทศไทยของเราก็อาจเอาเรื่องเหล่านี้มาเป็นบทเรียน เพื่อป้องกันไม่ให้เราเดินตามรอยบางประเทศที่เคยเจอเหตุการณ์ Dutch Disease
ที่ผ่านมา หลายคนอาจดีใจที่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา มีการเติบโตมากขึ้นเรื่อยๆ จากการที่ประเทศไทยกลายเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญของนักท่องเที่ยวต่างชาติ
จนทำให้วันนี้ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจมากขึ้นอย่างชัดเจน
ปี 2010 รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติของไทย 0.6 ล้านล้านบาท คิดเป็น 6% ของ GDP
ปี 2019 รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติของไทย 1.9 ล้านล้านบาท คิดเป็น 11% ของ GDP
ซึ่งข่าวดีของเรื่องนี้ก็คือ
ประเทศไทยมีรายได้ที่เป็นเงินตราต่างประเทศจากการท่องเที่ยวไหลเข้าสู่ประเทศเพิ่มมากขึ้น และนี่คือ หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่ทำให้ดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นในช่วงที่ผ่านมา
แต่สิ่งนี้ก็นำไปสู่การแข็งค่าของเงินบาท
จนสร้างความท้าทายต่อภาคการส่งออกของประเทศไทยเช่นกัน
ทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องเข้ามาดูแลจัดการไม่ให้ค่าเงินบาทผันผวนมากจนกระทบกับการส่งออกของประเทศอยู่หลายครั้งในช่วงที่ผ่านมา
เรื่องนี้ จึงเป็นอีกเรื่องที่สำคัญสำหรับผู้ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ เพื่อให้เศรษฐกิจไทยมีความหลากหลาย ไม่พึ่งพากับอุตสาหกรรมหนึ่งมากเกินไปนัก
ไม่เช่นนั้น Dutch Disease ก็อาจจะเกิดขึ้นอย่างชัดเจนกับประเทศไทยในที่สุด..
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Dutch_disease
-https://en.wikipedia.org/wiki/Groningen_gas_field
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)
-https://en.wikipedia.org/wiki/History_of_the_Venezuelan_oil_industry
-https://www.investopedia.com/terms/d/dutchdisease.asp
-https://www.mercatus.org/%5Bnode%3A%5D/commentary/deficits-trade-and-deficits-understanding
-https://www.economicshelp.org/blog/11977/oil/dutch-disease/
-https://data.worldbank.org/country/TH
-https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=411
resource curse 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
ประเทศที่พึ่งพาแต่การท่องเที่ยว ดีหรือไม่ /โดย ลงทุนแมน
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติเป็นรายได้หลักช่องทางเดียว มักจะถูกเรียกว่าเป็นประเทศที่โดน “คำสาปทรัพยากร” (Resource Curse)
เพราะรายได้จากทรัพยากรที่ได้มาแบบง่ายๆ จะทำให้ประเทศไม่สนใจที่จะพัฒนาภาคเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น เกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรมการผลิต
และเมื่อทรัพยากรนั้นราคาตก ทำให้เศรษฐกิจของประเทศต้องพบกับปัญหา
ตัวอย่างของประเทศเหล่านี้ เช่น เวเนซุเอลา ไนจีเรีย แองโกลา
แต่สิ่งที่น่าสนใจต่อมาก็คือ
นักเศรษฐศาสตร์บางคนกล่าวว่า ประเทศที่พึ่งพาแต่การท่องเที่ยว
ก็อาจเรียกว่าถูกคำสาปทรัพยากรเช่นกัน..
เรื่องราวนี้เป็นจริงหรือไม่
แล้วประเทศที่มีการท่องเที่ยวเป็น “ลมหายใจ” อย่างประเทศไทย จะทำอย่างไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
┏━━━━━━━━━━━━┓
ไม่พลาดวิดีโอความรู้จากลงทุนแมน
ที่ youtube.com/longtunman
┗━━━━━━━━━━━━┛
จริงๆ แล้ว ภาคการท่องเที่ยวอาจไม่ใช่ “คำสาปทรัพยากร” เสียทีเดียว
เพราะทรัพยากรจากการท่องเที่ยว หากดูแลรักษาให้ดี ก็ไม่ใช่ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป เหมือนทรัพยากรอย่างน้ำมัน หรือแร่ธาตุ
และรายได้จากการท่องเที่ยว ไม่ได้มีแค่ภาคบริการโดยตรง เช่น โรงแรม สนามบิน หรือบริษัททัวร์เท่านั้น
แต่นักท่องเที่ยวยังต้องเข้าร้านอาหาร ซึ่งหากใช้วัตถุดิบในประเทศ
ก็จะเกิดการกระจายรายได้ไปยังภาคเกษตรกรรม
ส่วนนักท่องเที่ยวที่ชอปปิงเสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องสำอาง
สิ่งเหล่านี้ก็เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศ
ยังรวมไปถึงงานบริการอื่นๆ ที่จะได้ประโยชน์จากนักท่องเที่ยว เช่น การขนส่ง โรงพยาบาล ร้านขายยา ร้านขายเสื้อผ้า ธุรกิจบันเทิง
ดังนั้น ผลของการท่องเที่ยวจึงกระจายไปยังเศรษฐกิจหลายส่วน
และมีส่วนในการพัฒนาประเทศได้มากกว่าที่คิด
สภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลก (WTTC) ได้คำนวณสัดส่วนของภาคการท่องเที่ยว ต่อ GDP โดยรวม
ทั้งรายได้ทางตรง เช่น รายได้จากธุรกิจโรงแรม สนามบิน สายการบิน ธุรกิจทัวร์
และคาดการณ์รายได้ทางอ้อม เช่น รายได้จากร้านอาหาร เสื้อผ้า ของที่ระลึก ธุรกิจบันเทิงต่างๆ
หลายประเทศถึงแม้จะมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่และหลากหลาย ก็ยังมีภาคการท่องเที่ยวเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ฝรั่งเศส ประเทศที่มีนักท่องเที่ยวต่างชาติมากที่สุดในโลก
การท่องเที่ยวมีสัดส่วน 9.5% ของ GDP
สหรัฐอเมริกา ประเทศที่มีรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติมากที่สุดในโลก
การท่องเที่ยวมีสัดส่วน 7.8% ของ GDP
แล้วประเทศไหนที่การท่องเที่ยวมีสัดส่วนต่อ GDP มากที่สุด?
ประเทศที่การท่องเที่ยวมีสัดส่วนต่อ GDP มากที่สุด 3 อันดับแรก ก็คือ
1. เซเชลส์ ประเทศหมู่เกาะในทวีปแอฟริกา มีสัดส่วน 67.1%
2. มัลดีฟส์ ประเทศหมู่เกาะทางตอนใต้ของอินเดีย มีสัดส่วน 66.4%
3. เซนต์คิตส์และเนวิส ประเทศหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน มีสัดส่วน 62.7%
โดยประเทศที่มีสัดส่วนจากการท่องเที่ยวสูงกว่า 40% ของ GDP
ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศขนาดเล็ก มีประชากรไม่ถึง 400,000 คน
ความหลากหลายของเศรษฐกิจจึงมีน้อย และพึ่งพาการท่องเที่ยว
โดยเฉพาะจากนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นสำคัญ
แต่ถ้าเราลองเปลี่ยนเกณฑ์ใหม่ ไม่นับประเทศเล็กๆ และโฟกัสกับประเทศที่มีประชากรมากกว่า 20 ล้านคน และมีสัดส่วนของการท่องเที่ยวต่อ GDP มากที่สุด 3 อันดับแรก
ผลที่ได้น่าสนใจ..
1. ฟิลิปปินส์ มีสัดส่วน 24.7%
2. ไทย มีสัดส่วน 21.6%
3. โมร็อกโก มีสัดส่วน 19%
ฟิลิปปินส์มีแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดชาวต่างชาติ คือ ชายหาดและแหล่งดำน้ำ
โดยมีนักท่องเที่ยวต่างชาติ 3 อันดับแรก มาจากเกาหลีใต้ จีน และสหรัฐอเมริกา
แม้สินค้าส่งออกหลักของฟิลิปปินส์จะมาจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ แต่ฟิลิปปินส์มีประชากรมากถึง 100 ล้านคน การท่องเที่ยวซึ่งสร้างงานได้หลากหลายกว่าจึงกลายเป็นภาคส่วนเศรษฐกิจที่สำคัญ
โมร็อกโก ประเทศตอนเหนือของทวีปแอฟริกา อยู่ติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ใกล้กับทวีปยุโรป และเต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมอาหรับยุคกลาง นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จึงมาจากยุโรป โดย 3 อันดับแรก มาจากสเปน เยอรมนี และเนเธอร์แลนด์
โมร็อกโกมีสินค้าส่งออกหลักคือ แร่ฟอสเฟต และผลผลิตทางการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมยังไม่หลากหลาย การท่องเที่ยวจึงกลายเป็นภาคเศรษฐกิจที่สำคัญของโมร็อกโก
ส่วนประเทศไทย ถึงแม้จะมีระบบเศรษฐกิจที่หลากหลายกว่า 2 ประเทศที่กล่าวมา สินค้าส่งออกมีตั้งแต่สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี และสินค้าเกษตร
แต่ด้วยความที่เป็นจุดหมายปลายทางท่องเที่ยวที่สำคัญ
ไทยจึงเป็นประเทศที่มีรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติสูงเป็นอันดับ 4 ของโลกในปี 2018
และทำให้ภาคการท่องเที่ยวเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ถึงแม้การท่องเที่ยวจะช่วยกระจายรายได้ไปยังภาคเศรษฐกิจอื่นๆได้มากกว่าการพึ่งพาแต่เพียงทรัพยากรธรรมชาติ
แต่การท่องเที่ยวก็มีจุดอ่อน และมีความเปราะบางต่อสถานการณ์ต่างๆ
โดยเฉพาะสถานการณ์อย่างโรคระบาด ความไม่มั่นคงทางการเมือง ภัยธรรมชาติ
การก่อการร้าย หรือแม้แต่สงคราม
การพึ่งพาการท่องเที่ยวมากเกินไปจึงอาจไม่ใช่คำตอบที่ดี..
สำหรับเศรษฐกิจของประเทศไทย
เป็นสิ่งที่ทำให้ต้องคิดกันต่อไปว่า หากเราไม่อยากพึ่งพาแต่ “การท่องเที่ยว”
เราจะพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความหลากหลายได้อย่างไร..
┏━━━━━━━━━━━━┓
ไม่พลาดวิดีโอความรู้จากลงทุนแมน
ที่ youtube.com/longtunman
┗━━━━━━━━━━━━┛
References
-https://www.bot.or.th/…/Resea…/DocLib_/Article_22May2018.pdf
-https://knoema.com/…/Contribution-of-travel-and-tourism-to-…
-https://www.wttc.org/…/economic-…/regions-2019/world2019.pdf
-https://www.moroccoworldnews.com/…/tourists-morocco-touris…/
resource curse 在 Shiney Youtube 的最佳貼文
A Total War Saga: TROY
ซื้อเกมได้ที่ https://store.epicgames.com/legendauser/a-total-war-saga-troy
A Total War Saga: TROY is the first in the award-winning strategy series to focus on the Bronze-Age Mediterranean and the legendary twenty-year conflict between the kingdoms of Troy and Mycenaean Greece, known as the Trojan War.
Total War Saga: Troy is a strategy computer game developed by the Creative Assembly Sofia and published by Sega. It is part of the Total War Saga sub-series and will be released on August 13, 2020 on the Epic Games Store, then on Steam in Summer 2021. As part of the 12 month exclusivity promotional deal with Epic Games, Total War Saga: Troy will be free of charge for the first 24h of it's release.
The game is set during the Trojan War in the Bronze Age, taking place the furthest back in time the series has ever covered.
The Greek gods featured in Troy can influence the game in similar ways to their Homeric counterparts, with their influence spanning entire factions, rather than directly intervening on the battlefield. Gaining favour with the different gods requires players to invest time or sacrifice resources, but also provides various benefits as the game progresses.
Although there is little documentation of Bronze Age naval warfare, naval combat has been included in the form of island battles, inspired by that featured in Total War: Warhammer II – Curse of the Vampire Coast. The Greek god Poseidon will play a major role in these battles.
Hero versus hero combat has been implemented in Troy, wherein two fighting heroes will be given room by nearby units, creating a circular battle area and preventing other units from intervening. Some heroes have an active battle ability called Divine Challenge, which taunts opposing characters into one-on-one combat. Eight heroes are included in the game, such as the Greek champion- Achilles, and the Prince of Troy- Hector.
A Trojan horse mechanic plays a major role within the campaign, appearing in the campaign at specific moments, and providing significant bonuses to players should it be acted upon quickly enough.
Troy introduces a new multiple resource economy that reflects the advancing pre-monetary barter economy of the Bronze Age setting. The five different resources are food, wood, stone, bronze, and gold, which can be found within different regions to varying degrees of scarcity. Food and wood are used to recruit early game units and construct simple buildings, whereas more formidable structures will require stone, and higher tier units will require bronze. Gold is vital for trade due to its universal rarity.
The diplomacy system in Troy builds on that featured in Total War: Three Kingdoms, allowing you to appease allies, your enemies in their place, allowing the player to change the entire course of the Trojan war. Other new diplomatic features which are unique to Troy will also be introduced.
resource curse 在 Shiney Youtube 的最佳解答
A Total War Saga: TROY
ซื้อเกมได้ที่ https://store.epicgames.com/legendauser/a-total-war-saga-troy
A Total War Saga: TROY is the first in the award-winning strategy series to focus on the Bronze-Age Mediterranean and the legendary twenty-year conflict between the kingdoms of Troy and Mycenaean Greece, known as the Trojan War.
Total War Saga: Troy is a strategy computer game developed by the Creative Assembly Sofia and published by Sega. It is part of the Total War Saga sub-series and will be released on August 13, 2020 on the Epic Games Store, then on Steam in Summer 2021. As part of the 12 month exclusivity promotional deal with Epic Games, Total War Saga: Troy will be free of charge for the first 24h of it's release.
The game is set during the Trojan War in the Bronze Age, taking place the furthest back in time the series has ever covered.
The Greek gods featured in Troy can influence the game in similar ways to their Homeric counterparts, with their influence spanning entire factions, rather than directly intervening on the battlefield. Gaining favour with the different gods requires players to invest time or sacrifice resources, but also provides various benefits as the game progresses.
Although there is little documentation of Bronze Age naval warfare, naval combat has been included in the form of island battles, inspired by that featured in Total War: Warhammer II – Curse of the Vampire Coast. The Greek god Poseidon will play a major role in these battles.
Hero versus hero combat has been implemented in Troy, wherein two fighting heroes will be given room by nearby units, creating a circular battle area and preventing other units from intervening. Some heroes have an active battle ability called Divine Challenge, which taunts opposing characters into one-on-one combat. Eight heroes are included in the game, such as the Greek champion- Achilles, and the Prince of Troy- Hector.
A Trojan horse mechanic plays a major role within the campaign, appearing in the campaign at specific moments, and providing significant bonuses to players should it be acted upon quickly enough.
Troy introduces a new multiple resource economy that reflects the advancing pre-monetary barter economy of the Bronze Age setting. The five different resources are food, wood, stone, bronze, and gold, which can be found within different regions to varying degrees of scarcity. Food and wood are used to recruit early game units and construct simple buildings, whereas more formidable structures will require stone, and higher tier units will require bronze. Gold is vital for trade due to its universal rarity.
The diplomacy system in Troy builds on that featured in Total War: Three Kingdoms, allowing you to appease allies, your enemies in their place, allowing the player to change the entire course of the Trojan war. Other new diplomatic features which are unique to Troy will also be introduced.
resource curse 在 Shiney Youtube 的最佳貼文
A Total War Saga: TROY
ซื้อเกมได้ที่ https://store.epicgames.com/legendauser/a-total-war-saga-troy
A Total War Saga: TROY is the first in the award-winning strategy series to focus on the Bronze-Age Mediterranean and the legendary twenty-year conflict between the kingdoms of Troy and Mycenaean Greece, known as the Trojan War.
Total War Saga: Troy is a strategy computer game developed by the Creative Assembly Sofia and published by Sega. It is part of the Total War Saga sub-series and will be released on August 13, 2020 on the Epic Games Store, then on Steam in Summer 2021. As part of the 12 month exclusivity promotional deal with Epic Games, Total War Saga: Troy will be free of charge for the first 24h of it's release.
The game is set during the Trojan War in the Bronze Age, taking place the furthest back in time the series has ever covered.
The Greek gods featured in Troy can influence the game in similar ways to their Homeric counterparts, with their influence spanning entire factions, rather than directly intervening on the battlefield. Gaining favour with the different gods requires players to invest time or sacrifice resources, but also provides various benefits as the game progresses.
Although there is little documentation of Bronze Age naval warfare, naval combat has been included in the form of island battles, inspired by that featured in Total War: Warhammer II – Curse of the Vampire Coast. The Greek god Poseidon will play a major role in these battles.
Hero versus hero combat has been implemented in Troy, wherein two fighting heroes will be given room by nearby units, creating a circular battle area and preventing other units from intervening. Some heroes have an active battle ability called Divine Challenge, which taunts opposing characters into one-on-one combat. Eight heroes are included in the game, such as the Greek champion- Achilles, and the Prince of Troy- Hector.
A Trojan horse mechanic plays a major role within the campaign, appearing in the campaign at specific moments, and providing significant bonuses to players should it be acted upon quickly enough.
Troy introduces a new multiple resource economy that reflects the advancing pre-monetary barter economy of the Bronze Age setting. The five different resources are food, wood, stone, bronze, and gold, which can be found within different regions to varying degrees of scarcity. Food and wood are used to recruit early game units and construct simple buildings, whereas more formidable structures will require stone, and higher tier units will require bronze. Gold is vital for trade due to its universal rarity.
The diplomacy system in Troy builds on that featured in Total War: Three Kingdoms, allowing you to appease allies, your enemies in their place, allowing the player to change the entire course of the Trojan war. Other new diplomatic features which are unique to Troy will also be introduced.