กรณีศึกษา เทคนิคการตลาด “ซื้อให้ครบเพื่อส่งฟรี” /โดย ลงทุนแมน
เคยเป็นไหม เมื่อเราซื้อสินค้าออนไลน์แล้วมีค่าส่ง
แต่ถ้ามีเงื่อนไขว่า ซื้อเพิ่มอีกให้ถึงยอดที่กำหนด แล้วเราจะไม่ต้องเสียค่าส่ง
เรามักจะยินยอมพร้อมจ่ายเงินซื้อสินค้าเพิ่ม
ทั้งที่เราอาจไม่ได้อยากได้สินค้านั้นเลยด้วยซ้ำ..
เรื่องนี้สามารถอธิบายได้ด้วย Prospect Theory
แล้วทฤษฎีนี้มันเป็นอย่างไร?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ทฤษฎีคาดหวัง หรือ Prospect Theory เป็นหนึ่งในทฤษฎีภาคเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ที่ใช้อธิบายการตัดสินใจของมนุษย์ ต่อสิ่งรอบตัว
ทฤษฎีนี้ถูกคิดค้นขึ้นโดยนักเศรษฐศาสตร์เจ้าของรางวัล Nobel อย่าง Daniel Kahneman และ Amos Tversky
พวกเขาค้นพบว่า เวลาเราสูญเสียสิ่งใดไป มักจะมีผลกระทบต่อจิตใจมากกว่าสิ่งที่เราได้รับมา ถึงแม้จะเป็นในปริมาณที่เท่ากัน
แล้วพวกเขาทดสอบทฤษฎีนี้อย่างไร?
ทาง Kahneman และ Tversky ได้แบ่งการทดสอบออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกัน
กลุ่มแรก คือ การที่เราอยู่ภายใต้สถานการณ์โรคระบาดที่ส่งผลกระทบต่อคน 600 คน โดยเรามี 2 ทางเลือกระหว่าง
ทางเลือกที่ 1 เลือกวัคซีนที่สามารถช่วยชีวิตคนได้จำนวน 200 คน
ทางเลือกที่ 2 เลือกวัคซีนที่สามารถช่วยชีวิตคนได้ 1 ใน 3 ของคน 600 คน ในขณะที่ 2 ใน 3 จะเสียชีวิต
ถึงตรงนี้เป็นเรา เราจะเลือกทางเลือกที่เท่าไร?
ผลการทดสอบของ Kahneman และ Tversky
พบว่าทุกๆ 100 คน จะมี 72 คน ที่เลือกทางเลือกที่ 1
หรือเลือกวัคซีนที่สามารถช่วยชีวิตคนได้จำนวน 200 คน
จุดนี้ก็น่าสนใจ เพราะว่าจริงๆ แล้วทางเลือกที่ 1 กับ 2 สามารถช่วยชีวิตคนได้เท่ากัน
แต่เพียงแค่ข้อความในทางเลือกที่หนึ่งไม่ได้บอกจำนวนผู้เสียชีวิต..
หลังจากนั้น Kahneman และ Tversky ก็ได้ทดสอบทฤษฎีเพิ่มเติมกับผู้ทดลองอีกกลุ่มหนึ่งภายใต้สถานการณ์เดียวกัน คือ มีโรคระบาดที่สร้างผลกระทบให้กับคน 600 คน
แต่มี 2 ทางเลือกใหม่ เปลี่ยนจากการช่วยชีวิต เป็นการสูญเสีย คือ
ทางเลือกที่ 1 วัคซีนนี้จะทำให้คน 400 คนเสียชีวิต
ทางเลือกที่ 2 วัคซีนนี้จะสามารถช่วยชีวิตคนได้ 1 ใน 3 ของคน 600 คน ในขณะที่ 2 ใน 3 จะเสียชีวิต
ผลปรากฏว่า ผู้ทดสอบกลับเลือกทางเลือกที่ 2 มากถึง 78%
แล้วการทดสอบนี้ สะท้อนให้เห็นถึงอะไร?
หากเราสังเกตดีๆ ทั้ง 2 การทดสอบนั้นมีผลลัพธ์เหมือนกัน
คือช่วยชีวิตคนได้ 200 คน และทำให้ 400 คนเสียชีวิต
แต่เมื่อเรามีโอกาสช่วยชีวิตใครสักคน เรามีแนวโน้มที่จะเลือกการช่วยชีวิตได้ 200 คน มากกว่าที่จะเลือกทางเลือกที่สร้างการสูญเสีย
ในทางกลับกัน พอเราเผชิญเข้ากับการสูญเสียแล้ว เรากลับเลือกที่จะ “เสี่ยง” กับโอกาส
มากกว่าการเลือกให้คนเสียชีวิต 400 คน
ทั้งหมดนี้ ผู้คิดค้นทฤษฎีอย่าง Kahneman และ Tversky ได้สรุปว่ามนุษย์ไม่ได้มีเหตุผลเสมอไป
การตัดสินใจของมนุษย์จะขึ้นอยู่กับมูลค่าความเป็นไปได้ของความสูญเสีย กับสิ่งที่เราจะได้รับ
โดยมนุษย์เรามีแนวโน้มที่เป็นทั้ง ผู้ไม่ชอบความเสี่ยง (Risk Averse) และยอมเสี่ยงในเรื่องที่จะต้องสูญเสีย (Risk Seeking)
ทฤษฎีนี้สามารถนำมาใช้อธิบายการตัดสินใจในชีวิตประจำวันได้ว่าทำไมบางครั้งเราถึงไม่ชอบความเสี่ยง และทำไมบางครั้งเราถึงชอบความเสี่ยง
นอกจากจะอธิบายถึงพฤติกรรมของมนุษย์ได้แล้ว เราก็ยังสามารถนำทฤษฎีมาต่อยอดทำการตลาดให้กับธุรกิจได้อีกด้วย
และนั่นเป็นเหตุผลที่อธิบายว่า
ทำไมเราเลือกที่จะซื้อสินค้าให้ครบ 1,000 บาท เพื่อที่จะได้รับสิทธิ์ส่งฟรี
เพราะมันจะทำให้เกิด “อคติ” ในการไม่อยากให้เกิดความสูญเสีย นั่นก็คือ “เสียค่าส่ง”
ในบางครั้งเราจึงยอมเสียเงินเพิ่มในการซื้อสินค้า
ทั้งๆ ที่เราไม่ได้ต้องการสินค้านั้นเลยด้วยซ้ำไป..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
https://www.investopedia.com/terms/p/prospecttheory.asp
https://www.invespcro.com/blog/prospect-theory/
https://brandtrust.com/prospect-theory/
https://corporatefinanceinstitute.com/resources/knowledge/other/prospect-theory/
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過11萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Youtube影片中提到,กรณีศึกษา เทคนิคการตลาด "ซื้อให้ครบเพื่อส่งฟรี" เคยเป็นไหม เมื่อเราซื้อสินค้าออนไลน์แล้วมีค่าส่ง แต่ถ้ามีเงื่อนไขว่า ซื้อเพิ่มอีกให้ถึงยอดที่กำหนด แล...
risk-seeking risk averse 在 綠角財經筆記 Facebook 的精選貼文
1970年代早期,作者拿到一篇Amos給他的文章,作者是瑞士經濟學家Bruno Frey。文中第一句話讓作者印象深刻:”The agent of economic theory is rational, selfish, and his taste do not change.”
作者就想,心理學家都知道,人不是完全理性,也未必完全自私,喜好更是不穩定。難道心理學家跟經濟學家研究的是兩種不同的人類嗎?
對這個問題的研究,開啟了作者最廣為人知的學術成就。
作者處理這個問題的路徑是一個心理學門派,名為Psychophysics。這是由德國心理學家Gustav Fechner創立的,核心是Mind與Matter的關聯性。心理與物質。
也就是說,一個物理量的變化,會造成人心中感受怎樣的改變。
但其實早在Fechner之前,就有人採用這個觀點在進行研究與討論。就是知名科學家Daniel Bernoulli(他也是流體力學白努利定律的發明者)。
白努利研究Desirability of money與amount of money的關係。
而Desirability of money,就是現在所稱的Utility。
在白努利之前,數學家認為理性的人用期望值做判斷。
譬如兩個選項:
a. 80%機會贏得100元,20%機會贏得10元
b. 確定拿到80元
人應該選a。因為a的期望值是82,比b高。
白努利的創見在於,人不喜歡風險。人未必會用Dollar amount,也就是期望值來做決定。人會用Utility做決定。
確定可以拿到的80元,會比期望值82的賭局,Utility更高。
但白努利理論的一個重大缺陷在於,他把某個數字的財富,對應到某個Utility數值。也就是說,只要一個人有特定的財富數字,就會感到特定的滿足。
譬如以下狀況:
小王原先有100萬,現在有500萬
小明原先有10億,現在有500萬
兩人現在都一樣有500萬,按照白努利的論點,兩人都一樣滿足。
但我們都知道,小王會比小明快樂。
(這就是為什麼雜誌會一直刊出,小錢致富,破產翻身的故事。因為財富從小到大,才會讓人快樂。)
白努利理論的缺陷在於,沒有想到參考點,換句話說,沒有考量財富變化的歷史。
作者發展的Prospect theory展望理論,目的就是要把缺少的這塊補起來。這個理論考慮到,人會以財富的增加或減少,也就是目前的財富跟一個參考點的比較,來決定財富的Utility。人就是喜歡獲利,厭惡虧損。
這個理論有三個核心基礎:
需考慮參考點(Evaluation is relative to a reference point)
邊際效應遞減(Principle of diminishing sensitivity)
損失規避(Loss aversion)
這個理論可以明白的解釋,為何在面對獲利時,人會躲避風險(Risk averse),而在面對損失時,人為什麼會追求風險(Risk seeking)。
這可說是目前說明人類選擇,較為貼近真實狀況的理論。
risk-seeking risk averse 在 ลงทุนแมน Youtube 的最佳貼文
กรณีศึกษา เทคนิคการตลาด "ซื้อให้ครบเพื่อส่งฟรี"
เคยเป็นไหม เมื่อเราซื้อสินค้าออนไลน์แล้วมีค่าส่ง
แต่ถ้ามีเงื่อนไขว่า ซื้อเพิ่มอีกให้ถึงยอดที่กำหนด แล้วเราจะไม่ต้องเสียค่าส่ง
เรามักจะยินยอมพร้อมจ่ายเงินซื้อสินค้าเพิ่ม
ทั้งที่เราอาจไม่ได้อยากได้สินค้านั้นเลยด้วยซ้ำ..
เรื่องนี้สามารถอธิบายได้ด้วย Prospect Theory
แล้วทฤษฎีนี้มันเป็นอย่างไร?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ทฤษฎีคาดหวัง หรือ Prospect Theory เป็นหนึ่งในทฤษฎีภาคเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ที่ใช้อธิบายการตัดสินใจของมนุษย์ ต่อสิ่งรอบตัว
ทฤษฎีนี้ถูกคิดค้นขึ้นโดยนักเศรษฐศาสตร์เจ้าของรางวัล Nobel อย่าง Daniel Kahneman และ Amos Tversky
พวกเขาค้นพบว่า เวลาเราสูญเสียสิ่งใดไป มักจะมีผลกระทบต่อจิตใจมากกว่าสิ่งที่เราได้รับมา ถึงแม้จะเป็นในปริมาณที่เท่ากัน
แล้วพวกเขาทดสอบทฤษฎีนี้อย่างไร?
ทาง Kahneman และ Tversky ได้แบ่งการทดสอบออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกัน
กลุ่มแรก คือ การที่เราอยู่ภายใต้สถานการณ์โรคระบาดที่ส่งผลกระทบต่อคน 600 คน โดยเรามี 2 ทางเลือกระหว่าง
ทางเลือกที่ 1 เลือกวัคซีนที่สามารถช่วยชีวิตคนได้จำนวน 200 คน
ทางเลือกที่ 2 เลือกวัคซีนที่สามารถช่วยชีวิตคนได้ 1 ใน 3 ของคน 600 คน ในขณะที่ 2 ใน 3 จะเสียชีวิต
ถึงตรงนี้เป็นเรา เราจะเลือกทางเลือกที่เท่าไร?
ผลการทดสอบของ Kahneman และ Tversky
พบว่าทุกๆ 100 คน จะมี 72 คน ที่เลือกทางเลือกที่ 1
หรือเลือกวัคซีนที่สามารถช่วยชีวิตคนได้จำนวน 200 คน
จุดนี้ก็น่าสนใจ เพราะว่าจริงๆ แล้วทางเลือกที่ 1 กับ 2 สามารถช่วยชีวิตคนได้เท่ากัน
แต่เพียงแค่ข้อความในทางเลือกที่หนึ่งไม่ได้บอกจำนวนผู้เสียชีวิต..
หลังจากนั้น Kahneman และ Tversky ก็ได้ทดสอบทฤษฎีเพิ่มเติมกับผู้ทดลองอีกกลุ่มหนึ่งภายใต้สถานการณ์เดียวกัน คือ มีโรคระบาดที่สร้างผลกระทบให้กับคน 600 คน
แต่มี 2 ทางเลือกใหม่ เปลี่ยนจากการช่วยชีวิต เป็นการสูญเสีย คือ
ทางเลือกที่ 1 วัคซีนนี้จะทำให้คน 400 คนเสียชีวิต
ทางเลือกที่ 2 วัคซีนนี้จะสามารถช่วยชีวิตคนได้ 1 ใน 3 ของคน 600 คน ในขณะที่ 2 ใน 3 จะเสียชีวิต
ผลปรากฏว่า ผู้ทดสอบกลับเลือกทางเลือกที่ 2 มากถึง 78%
แล้วการทดสอบนี้ สะท้อนให้เห็นถึงอะไร?
หากเราสังเกตดีๆ ทั้ง 2 การทดสอบนั้นมีผลลัพธ์เหมือนกัน
คือช่วยชีวิตคนได้ 200 คน และทำให้ 400 คนเสียชีวิต
แต่เมื่อเรามีโอกาสช่วยชีวิตใครสักคน เรามีแนวโน้มที่จะเลือกการช่วยชีวิตได้ 200 คน มากกว่าที่จะเลือกทางเลือกที่สร้างการสูญเสีย
ในทางกลับกัน พอเราเผชิญเข้ากับการสูญเสียแล้ว เรากลับเลือกที่จะ “เสี่ยง” กับโอกาส มากกว่าการเลือกให้คนเสียชีวิต 400 คน
ทั้งหมดนี้ ผู้คิดค้นทฤษฎีอย่าง Kahneman และ Tversky ได้สรุปว่ามนุษย์ไม่ได้มีเหตุผลเสมอไป
การตัดสินใจของมนุษย์จะขึ้นอยู่กับมูลค่าความเป็นไปได้ของความสูญเสีย กับสิ่งที่เราจะได้รับ
โดยมนุษย์เรามีแนวโน้มที่เป็นทั้ง ผู้ไม่ชอบความเสี่ยง (Risk Averse) และยอมเสี่ยงในเรื่องที่จะต้องสูญเสีย (Risk Seeking)
ทฤษฎีนี้สามารถนำมาใช้อธิบายการตัดสินใจในชีวิตประจำวันได้ว่าทำไมบางครั้งเราถึงไม่ชอบความเสี่ยง และทำไมบางครั้งเราถึงชอบความเสี่ยง
นอกจากจะอธิบายถึงพฤติกรรมของมนุษย์ได้แล้ว เราก็ยังสามารถนำทฤษฎีมาต่อยอดทำการตลาดให้กับธุรกิจได้อีกด้วย
และนั่นเป็นเหตุผลที่อธิบายว่า
ทำไมเราเลือกที่จะซื้อสินค้าให้ครบ 1,000 บาท เพื่อที่จะได้รับสิทธิ์ส่งฟรี
เพราะมันจะทำให้เกิด “อคติ” ในการไม่อยากให้เกิดความสูญเสีย นั่นก็คือ “เสียค่าส่ง”
ในบางครั้งเราจึงยอมเสียเงินเพิ่มในการซื้อสินค้า
ทั้งๆ ที่เราไม่ได้ต้องการสินค้านั้นเลยด้วยซ้ำไป..
#ลงทุนแมน #ProspectTheory
ลงทุนแมน ลงทุนในความรู้
การลงทุนในความรู้ไม่มีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรกด Subscribe @ลงทุนแมน
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website -https://www.longtunman.com/
Blockdit - https://www.blockdit.com/longtunman
Facebook - http://facebook.com/longtunman
Twitter - http://twitter.com/longtunman
Instagram - http://instagram.com/longtunman
Line - http://page.line.me/longtunman
YouTube - https://www.youtube.com/longtunman
Spotify - http://open.spotify.com/show/4jz0qVn1...
Soundcloud - http://soundcloud.com/longtunman
Apple Podcasts - http://podcasts.apple.com/th/podcast/...
Clubhouse - @longtunman
#ลงทุนแมน #ห้องประชุมลงทุนแมน #ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง #BREAKTHROUGH #THEBRIEFCASE #longtunman #ลงทุนแมนORIGINALS #ลงทุนเกิร์ลTALK #ลงทุนเกิร์ล