原油靠邊站!專家:2030年碳權市場交易規模將後來居上!! 不認真減碳減排,就倒大霉!(09/02/2021 MoneyDJ新聞)
(記者 陳苓 報導) 碳權潛力大,有專家預測,碳權市場規模有望在2030年超車原油市場。多國政府齊推碳排放交易,讓不少原本專營油氣的能源業者,開始殺入碳權市場。
華爾街日報1日報導,Refinitiv Holdings數據顯示,包括歐洲、以及加州和紐西蘭等較小區域的全球碳權市場,規模較去年提高23%、至2,380億歐元(2,810億美元)。儘管這和動輒數兆美元的原油市場、以及天然氣和電力等熱門能源商品相比,市值只是九年一毛,可是碳權有極大的成長潛力。Wood Mackenzie估計,2050年國際碳權市場將飆至22兆美元。
有鑑於此,全球兩大原油龍頭殼牌(Royal Dutch Shell)和BP,都已經有規模可觀的碳交易部門。其他大型能源業者,如全球最大的獨立原油交易商Vitol Group、礦業巨擘嘉能可(Glencore)也迫不及待跨足此一市場。另外,私營原物料業者Trafigura Group和Mercuria Energy均強化了碳權交易能力。
Hannah Hauman曾任原油交易員、現在是Trafigura碳交易主管。他說,2030年碳市規模可望超越油市,而且如果全球迅速採取行動並落實法規,碳市市值更可能在2025年就撂倒油市。
今年夏初,歐盟宣布要擴大碳市,中國也啟動小規模的碳市。拜登當局說替碳訂價是個好主意,但是相關進度遠遠落後歐洲和中國。目前國際碳權各自為政,跨境交易沒有可依循的規則。11月1日英國格拉斯哥(Glasgow)召開的聯合國氣候大會將討論此一問題,各國將試圖達成協議,盼能建立國際碳交易的準則。
完整內容請見:
https://www.moneydj.com/kmdj/news/newsviewer.aspx?a=bf675479-0f05-4e13-960e-2d8038219c32
♡
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅賓狗單字Bingo Bilingual,也在其Youtube影片中提到,— 陪賓狗錄 podcast — 歡迎來訂閱我的節目《聽新聞學英文》 https://open.firstory.me/user/bingobilingual/platforms 本集為 Bingo News Podcast 試聽集 想要聽完整內容,歡迎付費訂閱賓狗: 宅起來學英文 - 九折! ...
royal dutch shell news 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
Fortune นิตยสารอายุเกือบ 100 ปี ที่ตอนนี้ เจ้าของคือคนไทย /โดย ลงทุนแมน
ในวงการธุรกิจ ถ้าอยากรู้ข้อมูลบริษัทที่มีรายได้มากสุดในโลก
หลายคนก็จะไปดูการจัดอันดับ โดยนิตยสาร “Fortune”
เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไม Fortune ถึงเป็นแหล่งอ้างอิงอันดับรายได้บริษัท
แล้วปัจจุบัน ใครเป็นเจ้าของนิตยสารเล่มนี้ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Fortune เป็นนิตยสารธุรกิจ เศรษฐกิจ และการเงิน
วางขายครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 1929 หรือ 92 ปีที่แล้ว
ในช่วงเวลาดังกล่าว สหรัฐอเมริกา ได้เผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งรุนแรง หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ “Great Depression”
ด้วยเหตุนี้ คุณ Henry Luce ซึ่งเป็นเจ้าของนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ชื่อดังอย่าง นิตยสาร Time
จึงต้องการตีพิมพ์นิตยสารเล่มใหม่ เพื่ออธิบายถึงสถานการณ์เศรษฐกิจและธุรกิจโดยเฉพาะ
และนี่ก็คือจุดเริ่มต้นของนิตยสาร Fortune
ข้อแตกต่างระหว่าง Fortune กับนิตยสารอื่นในสมัยนั้น
คือ การเขียนบทความยาว ที่วิเคราะห์ประเด็นธุรกิจต่าง ๆ ในเชิงลึก
ทำให้แม้บริษัทตั้งราคาขายนิตยสารไว้ที่เล่มละ 1 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าค่อนข้างแพงในเวลานั้น
แต่ผู้บริโภคก็เชื่อมั่นว่า มันคุ้มค่ากับเนื้อหาพิเศษที่อยู่ภายในเล่ม
ทำให้มีคนจองซื้อ Fortune ฉบับเปิดตัวถึง 30,000 เล่ม และได้รับความนิยมจากผู้อ่านอย่างต่อเนื่อง
โดยในปี 1937 นิตยสารทำยอดขายได้สูงกว่า 460,000 เล่ม
ต่อมาในปี 1955 กองบรรณาธิการของ Fortune พบเรื่องน่าประหลาดใจว่า
ที่ผ่านมา ยังไม่มีสื่อสำนักไหน รายงานข้อมูลเปรียบเทียบรายได้ของบริษัทต่าง ๆ ไว้เลย
และมองเห็นว่าข้อมูลลักษณะนั้น น่าจะเป็นประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ที่สามารถทำความรู้จักกับบริษัทอื่น ๆ เพื่อหาโอกาสขยายตลาดได้ และส่งผลให้เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา เติบโตอย่างแข็งแกร่งยิ่งขึ้น
นับตั้งแต่นั้นมา นิตยสาร Fortune จึงได้จัดอันดับบริษัทที่มีรายได้มากสุด 500 อันดับแรก
หรือที่เรียกว่า “Fortune 500”
โดยตอนแรก พวกเขาทำการจัดอันดับแค่บริษัทในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น
จนกระทั่งในปี 1995 ทาง Fortune ก็ขยายฐานข้อมูลให้ครอบคลุมบริษัทจากทั่วโลก เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ธุรกิจ ที่เกิดการค้าขายกันระหว่างประเทศมากขึ้น
ในปัจจุบัน จากการจัดอันดับ Fortune Global 500 ทำให้เราเห็นว่า
บริษัทที่มีรายได้มากสุด 500 อันดับแรกของโลกนั้น มีรายได้รวมกันประมาณ 1,050 ล้านล้านบาท
ซึ่งคิดเป็น 1.5 เท่า ของ GDP สหรัฐอเมริกา
โดยบริษัทที่มีรายได้สูงสุด 5 อันดับแรกของโลก ประจำปี 2020 ได้แก่
อันดับที่ 1
Walmart บริษัทห้างค้าปลีก จากประเทศสหรัฐอเมริกา
รายได้ 16.5 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 2
Sinopec Group บริษัทน้ำมัน จากประเทศจีน
รายได้ 12.8 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 3
State Grid บริษัทพลังงานไฟฟ้า จากประเทศจีน
รายได้ 12.1 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 4
China National Petroleum บริษัทน้ำมัน จากประเทศจีน
รายได้ 11.9 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 5
Royal Dutch Shell บริษัทน้ำมัน จากประเทศเนเธอร์แลนด์
รายได้ 11.1 ล้านล้านบาท
ทั้งนี้ บริษัทจากประเทศไทยเพียงรายเดียว ที่อยู่ใน Fortune Global 500
ก็คือ ปตท. ซึ่งมีรายได้อยู่ที่ 2.2 ล้านล้านบาท เป็นอันดับที่ 140 ของโลก
แล้วปัจจุบัน ใครเป็นเจ้าของนิตยสาร Fortune ?
ที่ผ่านมา นิตยสาร Fortune เป็นแบรนด์ภายใต้การบริหารของบริษัท Time Inc. ที่ก่อตั้งโดยคุณ Henry Luce มาโดยตลอด
แต่ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2017
บริษัทสื่อสัญชาติอเมริกัน ชื่อว่า Meredith Corporation ได้เข้าซื้อกิจการของ Time Inc.
และด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอ่านสื่อบนอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
ส่งผลให้ยอดขายของสื่อแบบดั้งเดิมอย่าง นิตยสาร ปรับตัวลดลง
Fortune ต้องปรับตัวมาทำนิตยสารออนไลน์ เพื่อหารายได้จากช่องทาง Subscription
จุดเปลี่ยนสำคัญเกิดขึ้นอีกครั้ง เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2018
บริษัท Meredith จึงตัดสินใจประกาศขายธุรกิจนิตยสาร Fortune
และผู้ที่เข้ามาซื้อกิจการต่อ ก็คือ..
คุณชัชวาลย์ เจียรวนนท์
ซึ่งเป็นหลานชายของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ เจ้าของอาณาจักรเครือซีพีนั่นเอง
โดยคุณชัชวาลย์ ได้ซื้อนิตยสาร Fortune ไปด้วยเงินมูลค่าราว 5,000 ล้านบาท
ซึ่งเป็นการลงทุนในนามส่วนตัว ไม่เกี่ยวข้องกับเครือซีพีแต่อย่างใด
นิตยสารชื่อดังของวงการธุรกิจของโลก ที่มีคนติดตามอ่านกันทั่วโลก มานานเกือบร้อยปี
ก็ไม่น่าเชื่อว่า มาถึงวันนี้ จะมีเจ้าของ เป็นคนไทย นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Fortune_(magazine)
-https://fortune.com/global500/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Fortune_Global_500
-https://www.nytimes.com/2018/11/09/business/dealbook/fortune-magazine-sold.html
-https://techsauce.co/news/member-of-cp-board-buys-fortune-magazine
royal dutch shell news 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
รู้จัก ASML บริษัทใหญ่สุดของเนเธอร์แลนด์ ที่เป็นกระดูกสันหลัง ของบริษัทเทคโนโลยีทั่วโลก /โดย ลงทุนแมน
หากมีคนถามเราว่าบริษัทอะไรใหญ่สุดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ?
หลายคนก็น่าจะนึกถึงชื่อของ Royal Dutch Shell
บริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ ที่ทำธุรกิจมายาวนาน 114 ปี
ซึ่งคำตอบนี้ เมื่อ 5 ปีที่แล้ว ก็จะเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
แต่คำตอบดังกล่าวในวันนี้ ไม่ใช่แล้ว..
เพราะปัจจุบัน ได้มีบริษัทที่ชื่อว่า “ASML Holding”
ที่แม้จะไม่ค่อยคุ้นหูเราเท่าไร แต่ก็ได้กลายมาเป็นบริษัทสัญชาติดัตช์
ที่มีมูลค่ามากถึง 6.8 ล้านล้านบาท
ซึ่งคิดเป็น 5 เท่าของมูลค่าบริษัทเมื่อ 5 ปีก่อน
มูลค่าดังกล่าวส่งผลให้บริษัทแห่งนี้
กลายเป็นบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุดในประเทศเนเธอร์แลนด์
และเป็นหนึ่งในบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุดในทวีปยุโรป
แล้ว ASML ทำธุรกิจอะไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ASML อ่านว่า อาเอสเอ็มเอล
ก่อตั้งขึ้นในปี 1984 หรือราว 37 ปีก่อน
ที่เมืองไอนด์โฮเฟิน ประเทศเนเธอร์แลนด์
ASML เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่าง 2 บริษัท คือ
- Philips เจ้าของเทคโนโลยีเกี่ยวกับแสงและผู้ผลิตเครื่องมือทางการแพทย์รายใหญ่
- ASM International เจ้าของธุรกิจผลิตชิปรายใหญ่ในเนเธอร์แลนด์
โดยบริษัทแห่งนี้ทำธุรกิจวิจัยและพัฒนาเครื่องจักร
ที่ใช้สำหรับการพิมพ์ลายลงบนซิลิคอนเวเฟอร์ หรือที่เรารู้จักกันในชื่อของ “ชิป”
ถึงตรงนี้ หลายคนอาจจะสงสัยว่า ทำไมต้องพิมพ์ลาย ?
จริง ๆ แล้ว วัตถุดิบตั้งต้นที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ก็คือ แผ่นซิลิคอนเวเฟอร์เปล่า ที่ไม่ได้มีความพิเศษอะไร
แต่พอเราพิมพ์ลายลงไปตามกระบวนการที่ถูกต้องแล้ว
มันก็จะกลายเป็นโครงสร้างทางเดินของวงจรไฟฟ้า
ที่สามารถนำไปใช้สำหรับการประมวลผลของคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ตโฟนได้
นอกจากนั้น ชิปก็ยังถูกนำไปใช้ในเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น ศูนย์ข้อมูล ระบบการขับเคลื่อนด้วยตัวเองของรถยนต์ หรือแม้แต่เทคโนโลยีเชื่อมสมองเข้าสู่คอมพิวเตอร์
บนโลกนี้ เราสามารถแบ่งผู้ผลิตชิปออกเป็น 3 ประเภท
ประเภทแรก : บริษัทรับออกแบบและผลิตชิปครบวงจร เช่น Intel
ที่จะรับออกแบบและผลิตชิปประมวลผล ให้กับบริษัทคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ก
ประเภทที่สอง : บริษัทที่รับจ้างผลิตเพียงอย่างเดียว เช่น TSMC
ที่จะรับจ้างผลิตชิปให้กับบริษัทที่มีแบบไว้แล้ว
อย่างในกรณีของ TSMC ก็เป็นผู้ผลิตชิปให้กับ Apple
ที่ตัวชิปถูกออกแบบขึ้นโดยบริษัท ARM อีกที
ประเภทที่สาม : บริษัทที่ทั้งออกแบบ ผลิตเอง และรับจ้างผลิต เช่น Samsung
โดยบริษัทผู้ผลิตทั้งหมดที่กล่าวมานี้ ก็จะต้องมีเครื่องจักรสำหรับพิมพ์ลาย
ซึ่งหนึ่งในบริษัทผู้นำของโลก ที่ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องจักรที่ว่านี้
ก็คือ ASML นั่นเอง..
ในช่วงที่ผ่านมา สภาพการแข่งขันในตลาดผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ลายลงบนซิลิคอนเวเฟอร์นั้นถือว่าค่อนข้างสูง
แต่ ASML มีข้อได้เปรียบตรงที่ว่า
เป็นบริษัทที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่าง Philips และ ASM International ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่
ที่นอกจากจะเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการผลิตชิปแล้ว
ทั้งคู่ก็ยังสามารถอัดเงินสำหรับการวิจัยพัฒนา เพื่อให้บริษัทยังคงดำเนินธุรกิจต่อไป แม้จะอยู่ในภาวะที่บริษัทยังขาดทุนมาตลอดหลายปี
นอกจากนั้น บริษัทก็ยังได้เป็นพันธมิตรกับ Carl Zeiss ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตเลนส์ ซึ่งถือเป็นชิ้นส่วนสำคัญของเครื่องพิมพ์ลาย
จนสุดท้าย ASML ก็เริ่มพลิกกลับมาทำกำไร และได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศเนเธอร์แลนด์ได้สำเร็จในปี 1995 หรือหลังจากที่ก่อตั้งบริษัทมา 11 ปี
แล้ว ASML มีอะไรดี ถึงทำให้ 5 ปีที่ผ่านมา
บริษัทมีมูลค่าเพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดด ?
ย้อนกลับไปก่อนหน้านี้ กระบวนการพิมพ์ลายบนชิป
จะใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 193 นาโนเมตร
แต่บริษัท ASML สามารถพัฒนาเครื่องพิมพ์ลาย
ที่ใช้เทคโนโลยี Extreme Ultraviolet หรือ EUV
ที่มีความสามารถในการพิมพ์ลวดลายลงบนชิป
ได้ด้วยลำแสงที่มีความยาวคลื่น 13.5 นาโนเมตร
ซึ่งเล็กกว่ากระบวนการทั่วไปที่นิยมใช้กันในปัจจุบันถึง 14 เท่า
จุดนี้ถือว่าเป็นวิวัฒนาการแบบก้าวกระโดด
เพราะระดับความยาวคลื่นของลำแสงที่น้อยลง
จะทำให้ คุณสมบัติของลำแสง ที่เปรียบเสมือน “หัวดินสอ” มีความแหลมคมมากขึ้น
และเมื่อลำแสงหรือหัวดินสอแหลมขึ้น
มันก็จะทำให้ผู้ผลิตสามารถวาดลวดลายที่ละเอียดและซับซ้อน ได้มากขึ้น
ซึ่งนั่นก็ทำให้ชิปที่ผลิตโดย ASML สามารถถูกออกแบบให้มีความหลากหลาย รวมถึงทำให้สามารถประหยัดพลังงานลงได้อีก
อย่างในกรณีของชิป A14 Bionic บน iPhone และ ชิป M1 ใน Mac ที่เน้นเรื่องนี้
จึงทำให้อุปกรณ์ใช้งานได้ยาวนานขึ้น และปล่อยความร้อนลดลง
และที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ มีเพียงบริษัทเดียวบนโลก
ที่ผลิตเครื่องพิมพ์ลายชนิดนี้ได้ นั่นก็คือ ASML..
แล้วที่ผ่านมา ASML เติบโตขนาดไหน ?
ผลประกอบการของ บริษัท ASML Holding
ปี 2019 รายได้ 4.30 แสนล้านบาท กำไร 0.94 แสนล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 5.08 แสนล้านบาท กำไร 1.29 แสนล้านบาท
รายได้เติบโต 18%
กำไรเติบโต 37%
หากเรามาดูรายได้ แบ่งตามแต่ละภูมิภาค
- ไต้หวัน 34%
- เกาหลีใต้ 30%
- จีน 17%
- สหรัฐอเมริกา 12%
- อื่น ๆ 7%
อีกเรื่องที่น่าสนใจก็คือ แม้ ASML จะเป็นผู้ผลิตเครื่องจักรอุตสาหกรรม
แต่กลับมีอัตรากำไรสุทธิสูงถึง 25% ซึ่งสูงกว่าบริษัทอย่าง Apple และ Samsung
ที่เป็นเจ้าของแบรนด์เสียอีก
ในช่วงวิกฤติโรคระบาด ความต้องการของสินค้ากลุ่มเทคโนโลยีทั่วโลกปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น
จึงทำให้ความต้องการเครื่องจักรของผู้ผลิตเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ซึ่งปลายปีที่ผ่านมา TSMC ผู้ผลิตชิปรายใหญ่ให้ Apple ก็ได้สั่งจองเครื่อง EUV จาก ASML ไปอีกราว 13 เครื่อง คิดเป็นมูลค่ารวมกันสูงถึง 7 หมื่นล้านบาท ซึ่งคาดการณ์กันว่า ASML จะสามารถส่งมอบได้ ภายในปีนี้
ถึงตรงนี้ เราก็สามารถสรุปได้ว่า ASML เป็นอีกหนึ่งกระดูกสันหลังของอุตสาหกรรมผลิตชิป
ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ทั่วโลก
และด้วยความที่ตอนนี้ ASML ยังเป็นผู้ผลิตเครื่อง EUV เพียงรายเดียวของโลก
ทำให้ความต้องการของผู้ผลิตทั้งหมดไหลมารวมกันที่บริษัทแห่งนี้
จึงไม่แปลกที่ปัจจุบัน ASML จะมีมูลค่ามากถึง 6.8 ล้านล้านบาท
เพิ่มขึ้นมาเป็น 5 เท่า เมื่อเทียบกับ 5 ปีก่อน
และก็ได้ขึ้นแท่นกลายมาเป็น หนึ่งในบริษัทยักษ์ใหญ่ในทวีปยุโรป ไปแล้วเรียบร้อย..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://finance.yahoo.com/quote/ASML/financials?p=ASML
-https://www.asml.com/en/company/about-asml/history
-https://semiengineering.com/the-evolution-of-euv/
-https://www.asml.com/en/products/euv-lithography-systems
-https://www.techpowerup.com/274701/tsmc-increases-orders-of-euv-tools-amid-high-demand
-https://www.tomshardware.com/news/tsmc-euv-tools-order
royal dutch shell news 在 賓狗單字Bingo Bilingual Youtube 的最讚貼文
— 陪賓狗錄 podcast —
歡迎來訂閱我的節目《聽新聞學英文》
https://open.firstory.me/user/bingobilingual/platforms
本集為 Bingo News Podcast 試聽集
想要聽完整內容,歡迎付費訂閱賓狗:
宅起來學英文 - 九折!
6/13 以前,在 PressPlay 付費訂閱賓狗
並使用折扣碼 BINGOCOME
就可以用九折優惠,解鎖更多英文學習資源
趕快點擊下列連結,還可以免費試閱 3 天唷
https://www.pressplay.cc/link/DEB72F8C
【試聽集逐字稿】
In the Hague, the district court delivered a judgment against Royal Dutch Shell, the parent company of the Shell group, which is one of the oil giants in the world. Under the ruling, Shell is obliged to cut its carbon emissions by 45% by the end of 2030, compared to 2019.
While this is surely a historic victory, it may not bring as great benefits as we expect it to do for the following reasons.
Firstly, energy demand is still rising. Oil and gas demand is far from peaking and supplies will be needed. Countries in Asia provide the lion’s share of growth. With the demand still rising, can we really reduce carbon emission with this ruling against Shell?
Some may suggest renewable energy as the alternative. Of course this is a great solution. However, we’re not yet ready to change from fossil fuels to renewable energy. The renewable energy sector is definitely booming, but not ready to meet energy demand from around the globe.
This explains why climate activists have got some unlikely cheerleaders in the oil capitals of Saudi Arabia, Abu Dhabi and Russia. Why? Asian countries, with their rising demands, will now go to oil companies in the Middle East and Russia. Shell’s loss means more business for them.
參考資料:
https://www.reuters.com/business/sustainable-business/opec-russia-seen-gaining-more-power-with-shell-dutch-ruling-2021-06-01/
殼牌石油, 藻礁, 減排, 中東, 俄羅斯, 石油, 荷蘭, 判決, 英文聽力
抖內支持賓狗:
https://pay.firstory.me/user/bingobilingual
想跟賓狗一起不死背、「玩單字」嗎?
歡迎加入臉書私密社團:
https://www.facebook.com/groups/883689222203801/
賓狗的 IG @bingobilingual_bb
https://www.instagram.com/bingobilingual_bb
賓狗的 FB
https://www.facebook.com/bingobilingual
賓狗的 Telegram:
https://t.me/joinchat/Rq_MDn8QaS1IkvQR
在 KKBOX 收聽賓狗:
https://podcast.kkbox.com/channel/4tuXnkLJpEDF7ypC6S?lang=tc
royal dutch shell news 在 Royal Dutch Shell - latest news, breaking stories and comment 的相關結果
The latest breaking news, comment and features from The Independent. ... <看更多>
royal dutch shell news 在 Shell - BBC News 的相關結果
All the latest news about Shell from the BBC. ... Shell to take £3.8bn hit from Russia exit ... Chief executive of Royal Dutch Shell Ben van Beurden. ... <看更多>
royal dutch shell news 在 Shell Global | Shell Global 的相關結果
Our name changed from Royal Dutch Shell plc to Shell plc in January 2022. We are currently updating the content of this site to reflect that change. ... <看更多>