The Birth of Venus ผลงานชิ้นเอกบอกเล่าจิตวิญญาณยุคเรอเนสซองส์ โดย Sandro Botticelli
หากใครได้ลองชมภาพเขียนในยุคเรอเนสซองส์ คงเคยได้เห็นภาพ The Birth of Venus กันอย่างแน่นอน ภาพวาดนี้ถูกคาดการณ์ว่าถูกวาดขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1482 – 1486 ซึ่งเป็นผลงานหนึ่งใน 4 ผลงานชิ้นเอกของ Sandro Botticelli ศิลปินชาวอิตาเลียน ภาพ The Birth of Venus ถูกพูดถึงเป็นอย่างมาก ทั้งความสวยงาม การสื่ออารมณ์ รวมถึงประวัติความเป็นมาของเทพวีนัสที่ถูกตีความลงในภาพเขียนนี้
ภาพ The Birth of Venus หรือที่เรารู้จักกันในนามของเทพีวีนัส หรือเรียกตามภาษากรีกคือ เทพีอโฟรไดต์ ตามตำนานเล่าว่านางเป็นเทพีที่เกิดจากฟองน้ำในทะเล จนกระทั่งวันหนึ่ง นางได้รับการเลื่อนยศเป็นเทพชั้นสูงบนเขาโอลิมปัส ด้วยความสวยของเธอเอง ทำให้เหล่าเทพทั้งหลายบนเขาต่างหลงใหล หมายปองที่จะได้ครอบครองในตัวนาง ไม่เว้นแต่เทพผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดอย่างเทพเจ้าซุส แต่เทพีวีนัสกลับไม่สนใจ เทพเจ้าซุสจึงทำการลงโทษให้ไปเป็นมเหสีของเทพวัลแคน ซึ่งเทพเจ้าวัลแคนนั้นมีรูปร่างอัปลักษณ์ ไม่ได้เหมาะสมกับความสวยของเทพีวีนัส เทพีวีนัสที่มีความมั่นใจในความสวยของตัวเองและไม่ได้พอใจในตัวเทพวัลแคนอยู่แล้ว จึงไปมีความสัมพันธ์ลับกับเทพมาร์ และมีบุตรธิดาด้วยกันถึง 3 องค์ และหนึ่งในนั้นก็คือกามเทพคิวปิด กามเทพแห่งความรักนั่นเอง ด้วยความที่มีลูกเป็นกามเทพแห่งความรัก นางจึงให้กามเทพคิวปิดก่อความวุ่นวายบนเขาโอลิมปัสหลายต่อหลายครั้ง
กลับมาที่ภาพเขียน The Birth of Venus ของ Sandro Botticelli ถูกนำเสนอด้วยตัวของเทพีวีนัสที่กำลังเติบโตเป็นสาวสะพรั่ง ที่เป็นสัญลักษณ์ของความงดงามผุดผ่อง อ่อนช้อยและน่าทะนุถนอม ยืนอยู่บนเปลือกหอยกำลังถูกซัดเข้าชายฝั่งแห่งเกาะไซปรัส โดยเทพเซฟเฟอรัส เทพเจ้าแห่งสายลมตะวันตกที่โอบอุ้มมเหสีของตนเอง คือ เทพนารีฟลอรา และด้วยความที่ใกล้จะเข้าชายฝั่ง และเทพีวีนัสเองก็เคอะเขินร่างกายของตัวเองที่เปลือยเปล่า ไม่ได้มีเครื่องแต่งกายใด ๆ มีเพียงเส้นผมของตัวเองที่ปกปิดไว้ แต่ทางด้านขวาของภาพ มีเทพนารีแธลโล เทพนารีแห่งฤดูใบไม้ผลิ กำลังต้อนรับเทพีวีนัสด้วยผ้าแพรสีสันสดใสลายดอกไม้ร่วง ชายผ้าปักลวดลายด้วยดิ้นทอง เพื่อเตรียมป้องกันร่างกายที่เปลือยเปล่าของเทพีวีนัสและเพื่อป้องกันสายตาของเหล่ามนุษย์ทั้งหลายนั่นเอง
องค์ประกอบของตัวภาพทั้งหมดนั้น ให้แสดงให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวที่เป็นไปในทางเดียวกัน ท่วงท่าที่มีความอ่อนช้อยและงดงาม ความพลิ้วไหวของตัวเทพีวีนัสและเส้นผมที่ยาวสลวยไปตามลมที่ถูกพัดมาจากเทพเซฟเฟอรัส ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างตัวเทพเซฟเฟอรัสและเทพนารีฟลอราเอง หรือแม้กระทั่งการโบกสะบัดผ้าแพรท่ามกลางสายลมของเทพแธลโล สัดส่วนของร่างกายของเทพีวีนัสเองนั้นเป็นสัดส่วนที่ผิดธรรมชาติตามทฤษฎีสัจจะนิยมของ Leonardo da Vinci หรือ Raphael อีกด้วย
นอกจากนี้ ภายในภาพยังแสดงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ที่ได้ชมภาพนั้นเห็นแล้วรู้ทันทีว่านี่คือภาพของเทพวีนัส ไม่ว่าจะเป็น ดอกกุหลาบสีชมพูที่ปลิวไสวไปพร้อมกับลมที่เป่า แสดงให้เห็นถึงความรักที่สามารถเอาชนะทุกสิ่งบนโลกได้ หรือแม้แต่หอยที่เทพีวีนัสยืนอยู่ แสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์และอารมณ์ร้อนแรงที่แผ่ออกมา
และสุดท้าย ภาพนี้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาพของ Sandro Botticelli ที่ถูกจัดว่าเป็นงานนอกรีต แต่ไม่ได้ถูกทำลายไปในกองไฟของ Girolamo Savonarola และปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ที่ Uffizi Gallery เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ระดับโลกที่เก่าแก่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดาพิพิธภัณฑ์ศิลปะทั่วโลก
#Jaojeud
#peoplepersona
#เขย่งก้าวกระโดด
ที่มา : https://janghuman.wordpress.com/2008/06/20/the-birth-of-venus/
https://ichi.pro/th/botticelli-s-venus-saylaks-n-khxng-khwam-ngam-rwm-smay-khxng-yurop-tawan-tk-47047383446326
https://www.takieng.com/stories/10060
https://mgronline.com/celebonline/detail/9560000018914
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%AA_(%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B5)
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
savonarola 在 悪魔天使的旅行人生Devilangel Travel Life Facebook 的精選貼文
[藝術是腐敗的信眾:Sandro Botticelli]
昨晚看完套劇I Medici: The Magnificent最後一季
看完內心帶激動⋯ 因為睇到另一個歷史,於是又再搜資料來看。
最顯赫的佛羅倫斯領主是Lorenzo de' Medici,
但他43歲就死了。
他和爺Cosimo di Giovanni de' Medici一樣熱愛藝術,所以生平搜集不少藝術品,更搜尋各方面才華的人。
他還做了一個藝術花園,給才華人在內做藝術。當中有後世注目的 Leonardo da Vinci & MichaelAngelo!
原來黑歷史是當時除了羅馬教廷之外,佛羅倫斯的教會有個叫道明會,有個修士Savonarola宣教成功,做了市民的精精領袖,遠大於佢統治佛羅倫斯的Medici family。
他理念是藝術令人迷失心志、遠離神⋯⋯ 等等
(劇部份:Lorenzo臨死前接見這修士,說佛羅倫斯與人民都已在你控制之下了,但請不要破壞美麗的藝術!Savonarola回應說你死後所謂美的東西都會消失,這些都是腐敗!要銷毁所有,將來說沒有人記得誰是 Leonardo da Vinci 及誰是MichaelAngelo了。
歷史上,當Lorenzo 在1492年死去後,1497年這修士就發動了名為「虛榮之火」事件,他的支持者收集並當眾焚毀了成千上萬的藝術品、書籍和化妝品。他們認為化妝品、特定的書籍和藝術品都是愛慕虛榮的象徵,會誘人犯罪。
當中信這個修士的支持者包括了Sandro!
他是達文西同學,也是Medici 兄弟的朋友,他被Lorenzo 和Giuliano賞識而幫他發展藝術!與強大的美第奇家族保持著友好也令他獲得政治上的保護,並享有有利的繪畫條件。此外也是通過這一層關係,他得以接觸到佛羅倫斯上流社會和文藝界名流,開拓了視野,接觸各方面多種的知識。
1482年他以詩人波利蒂安歌頌愛神維納斯的長詩為主題,為美第奇別墅所畫《春Primavera》受到非常大的讚賞。
1485年的《Venere e Marte愛神與維納斯 》左邊的男人據說是Giuliano Di Medici來!
1486的《維納斯的誕生The Birth of Venus》都是聲名大噪的作品。
但後來Sandro他都信了那個個修士的宣教⋯
在「虛榮之火」事件當中,他有去燒藝術品,包括自己的畫作!!
或許是因為這個原因,Sandro的後半生聲名不再,晚年貧困潦倒,只能靠救濟度日,最終於1510年去世,安葬於佛羅倫斯「全體聖徒」教堂墓地。
歷史教訓是誤信邪教🤪
話說點來,今時今日說的文藝復興時期
實在要多謝被喻為腐敗的愛藝術、發展藝術和做藝術的人,以及願意保留這樣偉大藝術的人,否則600年後的今日我們不會見證到這黃金時代。
而黃金時代都有這個Medici家族(每個顯赫家族都不會無黑暗面的)
然而,Medici傳承下來的收藏品,現在還保存在Galleria degli Uffizi及Galleria Palatina。家族使用過的Palazzo Pitti等等建築物也大多在佛羅倫斯市內完好地保留著。能夠留下這些供後人景仰的藏品和建築,都歸功於麥第奇家族最後的女性Anna Maria Luisa de'Medici。她留下的遺言:「將麥第奇家族的所有收藏品都留在佛羅倫斯,向公眾開放展出。」,使得Medici的榮華富貴直到現在......
而法國城堡Château de Chenonceau曾經的女主人Catherine de' Medici(法王亨利二世老婆)都加做了花園。
#看戲讀歷史
#讀完歷史去旅行
#文藝復興
#意大利佛羅倫斯
savonarola 在 東西縱橫記藝JunieWang Facebook 的最佳解答
【梅迪奇教宗】
梅迪奇家族(Medici)於15-18世紀在歐洲,尤其是義大利佛羅倫斯具有深厚勢力,也是文藝復興人文藝術成就重要的贊助者。但在那個年代,義大利仍屬於政教合一制度,教會享有豐厚資產和極大權力,富可敵國縱橫一時如梅迪奇家族為了維護自家權益,肯定也會染指教會。
整個梅迪奇家族前後共誕生四位教宗:利奧十世(Pope Leo X,1475-1521)、克勉七世(Pope Clement VII,1478~1534)、庇護四世(Pope Pius IV,1499-1565),和利奧十一世(Pope Leo XI,1535-1605)。
其中克勉七世於1523年被推舉為教宗時約莫是45歲,在此之前,他曾在教廷內擔任堂兄利奧十世和利奧十世繼任者亞德里安六世(Adrian VI,1459-1523)的首席顧問。
========================
克勉七世在位期間已是文藝復興末期,政治、軍事、外交甚至宗教問題都相當詭變複雜,梅迪奇家族在佛羅倫斯的威權也不如以往專斷。
尤其1494年法王查理八世入侵,當時佛羅倫斯統治者皮耶羅.梅迪奇(Piero di Lorenzo de' Medici,1472-1503)竟然二話不說直接投降,瞬間燃起人民積鬱已久的怒火,加上道明會神父薩佛那羅拉(Girolamo Savonarola,1452年9月21日-1498年5月23日)大力譴責與鼓動下,整個家族只能流亡異地,財產悉數被查收,佛羅倫斯回復共和體制,直到1512年梅迪奇才又重新掌權。
除了梅迪奇銀行在歐洲各地分行陸續決策錯誤,導致營運不善,讓〝偉大的羅倫佐〞(Lorenzo de' Medici,1449-1492)乾脆將佛羅倫斯市府基金挪為己用。再者梅迪奇家族第一位教宗利奧十世生活豪奢,極度世俗化,這些精緻奢侈的享受與教廷大型建造工程等都需要大量金錢支援。教宗便派人至各地募款,鼓吹人民藉由奉獻金錢求得大赦直升天堂,廣發更多贖罪券好籌措資金。
於是,德國人馬丁.路德(Martin Luther,1483-1546)在1517年10月31日向教廷下了戰帖,發布《九十五條論綱》(即《關於贖罪券的意義及效果的見解Disputatio pro declaratione virtutis indulgentiarum》),為新舊教派之爭拉開序幕。
========================
這些問題已經夠難解了,克勉七世還要處理歐陸兩大強權:法王法蘭索瓦一世(François I, 1494~1547)和神聖羅馬帝國皇帝查理五世(Charles Quint, 1500~1558)之間的角力,你知道的,大家都想要獲得教宗的支持,這樣攻打別人的時候可以更加理直氣壯。
結果沒啥政治智慧的克勉七世選擇與法國結盟,查理五世一氣之下在1527年殺進羅馬,整個羅馬城被洗劫一空,人民死傷慘重,連克勉七世本倫都淪落到被囚禁。好不容易脫逃之後,由於經濟、政治和軍事勢力都相對弱勢許多,這位牆頭草教宗只好又轉向跟查理五世聯盟。
另外,英國國王亨利八世(Henry VIII, 1491~1547)雖然痛恨馬丁.路德新教主張,但也是在這位軟弱教宗任內,藉由與後來的英國女王伊莉莎白一世母親--Anne Boleyn的再婚問題而削弱教會勢力,拓展絕對王權,成立英國國教派。
========================
這幅《克勉七世肖像》(Pope Clement VII,c.1531)繪製時教宗大約53歲,距離去世還有3年光景。這時候的教宗已經歷過階下囚的悲慘命運,而新教改革運動正如野火般在歐洲蔓延展開。
畢歐伯(Sebastiano del Piombo,1485-1547)為文藝復興時期重要〝油畫〞畫家,創作主題以肖像畫和宗教畫為主,也是少數能與孤僻暴躁的米開朗基羅長時間交好的人之一。
說來也算他夠乖覺,威尼斯出身的畢歐伯從家鄉來到羅馬後,便確立自己的創作方向,不與拉斐爾和米開朗基羅等世紀天才競逐大型濕壁畫委託案。
拉斐爾1520年英年早逝後,畢歐伯儼然躍升為羅馬城內首席畫家,只是因為徒弟們都太不成材,不夠傑出,加上作品流傳不夠廣泛,導致其影響力大大減弱。
畢歐伯根據拉斐爾1519年為教宗利奧十世繪製的肖像《教宗利奧十世與樞機主教吉里奧和羅西》(Portrait of Pope Leo X with Cardinals Giulio de' Medici and Luigi de' Rossi),在石板上畫下克勉七世晚年身影,其中畫面左邊就是當時的樞機主教吉里奧.梅迪奇,也就是後來的克勉七世。
========================
《克勉七世肖像》裡,教宗也是同樣以右側臉示人,坐在扶手椅上,從頭上帽子到白色衣衫在畫面成連結成對角線。
在1531年7月22日的一封信上,畢歐伯告訴他的好友兼老師米開朗基羅,教宗最近剛參觀過他的工作室,看到他為教宗在帆布上繪製的肖像畫後,感到非常滿意,於是又訂製了另外一幅肖像畫,但這次要畫在石板上。
在石板或石頭上繪製畫作被認為起源自1500年代初期左右的羅馬,畢歐伯在1530年代便開始熱衷石版畫,並認為石版畫的保存時間比畫在畫布和木板上來得持久。大概是畢歐伯分享創作理念的時候太過熱情,連教宗都被感染到,覺得石版畫可讓自己的形象永垂不朽,因此才下了這份訂單。
但諷刺的是,石板雖堅硬卻也易碎,油畫顏料即使再光滑穩定,遇上運送過程中可能面臨的碰撞、碎裂等狀況依舊是悲劇一場。
========================
克勉七世後來因誤食有毒蕈菇類而去世,但這也只是據說,根據史料記載,教宗去世前的症狀並不符合此項推論。以當時的醫療水準和宮廷風氣而言,只要死因不明,多半都會說成是毒發身亡。
幸好他老人家離世前幾天,向米開朗基羅下了一個重要訂單,於是我們如今才能在西斯汀禮拜堂(Sistine Chapel,義Cappella Sistina)中,見到恢弘雄偉的祭壇壁畫《最後的審判》(The Last Judgment,義 Il Giudizio Universale)。
#教宗石板肖像畫
#文藝復興推手家族黑暗史
#文藝復興下毒手法千奇百怪匪夷所思
圖片來源 : 網路
《Copyright © 2019東西縱橫記藝JunieWang版權所有,禁止擅自節錄,若需分享請完整轉貼並註明來源出處》