ว่าด้วยความช้าของวงการฟิตเนสไทย Part.6 'การนินทา และความเกรงใจที่สื่อไม่ได้'
มีใครทราบไหมครับว่า คำว่า 'เกรงใจ' ในภาษาอังกฤษ แปลว่าอะไร ให้เวลาคิด .....
ติ้กต่อก ติ้กต่อก
ติ้กต่อก
ติ้ก
หมดเวลา
ตอบ
ไม่มีคำแปลครับ
ไม่มีคำแปลหมายความว่ายังไง หมายความว่า ยากมากที่จะมีคนเข้าใจศัพท์คำว่าเกรงใจ ต้องใช้เป็นพหุคำเช่น ' I don't want to bother you' ซึ่งความหมายก็จะไม่ตรงกับคำว่า 'เกรงใจ' ซะทีเดียว ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าประเทศที่แปลคำว่าเกรงใจได้ จะเกรงใจเสมอไป แล้วไม่ได้หมายความว่า ประเทศที่แปลคำว่าเกรงใจไม่ได้ จะไม่เกรงใจเสมอไป
ก็นั่นอีกแหละ สมัยที่เรียนโทอยู่สวิสเซอร์แลนด์ วิชา Sociology ประเทศไทยถูกจัดในหมวดหมู่ประเทศที่เป็น Feminine ไม่ใช่ประเทศที่เป็น Masculine หมายความว่า เป็นประเทศผู้ตาม ไม่มีปากไม่มีเสียง ไม่กล้าเปิดเผย อนุรักษ์นิยม อย่างมากก็เออๆออๆไปตามเรื่อง และได้แต่เก็บเงียบ ไม่ค่อยเปิดเผยความคิดเห็นของตนในที่สาธารณะ แต่จะเก็บไปเล่าให้บุคคลที่สนิทใจฟัง หรือว่า นินทานั่นเอง
ตอนที่เรียน Psychology ที่สวิสเช่นกัน ได้มีโอกาสทำรีเสิชเรื่อง 'Asian Gossip Culture' ซึ่งกลายมาเป็นหัวข้อย่อยหนึ่งในวิทยานิพนธ์ของผมนั้น กล่าวคร่าวๆสืบเนื่องจากว่า ความไม่มั่นใจในตนเองของคนไทยและประเทศแถบเอเชีย จากที่เคยเขียนบทความถึงเรื่อง การอนุมัติ (Authority) สังคมเราต้องการคนอื่น (Others) มารองรับและยอมรับ (Acceptance) ในความเป็นตัวตนของเรา ซึ่งความที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หมู่คณะ เพื่อตอบสนองความต้องการลึกๆตรงนี้ กลับกลายเป็นว่าผสมผสมกับความไม่มั่นใจในตนเองในกลุ่ม การนินทาจึงเหมือนเป็นการสำเร็จความใคร่ทางจิตใจอย่างนึง (Mind-Masturbation) และการที่สมาชิกในกลุ่มได้เห็นร่วมไปในทางเดียวกันกับเรา ยิ่งถือเป็นการถึงจุดสุดยอดทางตัวตน (Self-Image Orgasm) และเกิดการยอมรับในกลุ่มของตนมากขึ้น เกิดเป็นตัวกูของกู เกิดการยอมรับในกลุ่ม เกิดการมีอิทธิพลอำนาจกลวงๆขึ้นมา
ทีนี้ทำไมสองนิสัยนี้ถึงมีความสำคัญอะไรกับความช้าของการพัฒนาวงการฟิตเนสไทย (และประเทศไทย)
1. ยกตัวอย่างเช่น ลูกค้าอยากออกกำลังกาย จึงได้มีการตัดสินใจสมัครคอร์สเทรนเนอร์ (ใช่สิ หาความรู้และแรงบันดาลใจเองมันยากนี่) แต่เนื่องด้วยเกิดอาการไม่มั่นใจในตนเอง เก้ๆกังๆที่จะออกกำลังกายครั้งแรก ทำถูกบ้างผิดบ้าง ต่างฝ่ายต่างเกรงใจกันไปกันมา ไม่กล้าถาม ไม่กล้าบอก จึงได้แต่ ชมว่า 'เก่งมากคับ ดีมากทำถูกแล้ว' ไอ้ห่ากูนั่งดูมึงสอนกันผิดอยู่มีงยังจะบอกว่าถูก ผิดก็คือผิดสิวะ จะไปบอกถูกได้ยังไง แต่ฝ่ายเทรนเนอร์อาจจะด้วย มาตรฐานไม่ถึง และด้วยความเกรงใจ ไม่กล้าตำหนิ เนื่องจากได้มีการกลัว เสีย Self ว่า ตัวเองสอนไม่ดี สอนไม่ถูกต้อง เกรงใจเงินที่ลูกค้าจ่ายมาแล้ว ลูกค้าทำไม่ได้ก็ไม่กล้าบอก เกิดการเพิกเฉยต่อเนื่อง จนไม่เกิดการพัฒนา
2. ฝ่ายลูกค้าเองก็เกรงใจกันไปกันมา ไม่กล้าบอกว่า เฮ้ย กูว่ามันแปลกๆว่ะที่มึงสอนมา ทำไมกูรู้สึกเหมือนเข่ากูจะพัง หลังกูจะหัก ทำไมอะไรคือการที่กูต้องมานั่งชั่งตวงอาหารเป็นกรัม พ่อแม่ให้กำเนิดกูมา 30 ปี ไม่เคยสั่งเคยสอนให้กูชั่งอาหาร ทำไมกูต้องมาทำ กูก็ใช้ชีวิตรอดมาถึงทุกวันนี้ แข่งก็ไม่ได้แข่ง ประกวดก็ไม่ได้ประกวดถ่ายรูปกูไปลงเฟสอีกบอกว่า 'ลูกเทรนผม กับการบ้านของเขา' แต่ก็ไง พอโพสลงสังคม Social แล้วเกิดอาการถึงจุดสุดยอดทางตัวตนว่า (Self-Image Orgasm) เฮ้ย มีคนมากด Like แสดงว่าสิ่งที่กูทำมันต้องถูกต้องแน่ๆ สิ่งที่เทรนเนอร์สอนกูมันต้องถูกต้องแน่ๆ เพราะคนกดไลค์เยอะมาก
3. ฟิตเนสไอดอลลงท่าออกกำลังกายผิดๆในโลกโซเชียล แต่เหล่า Follower ก็เกรงใจที่จะบอกว่า เออ มันดูไม่ค่อยถูก มันดูไม่ค่อย Healthy เลย ก็เกรงใจหน้าตาตัวเองว่า จะเป็นความคิดเห็นที่แตกแยกหรือไม่ เพราะคนส่วนใหญ่เค้ากด Like กัน ไม่มีการติเพื่อก่อที่แท้จริง
ป่าวเลย ถูกก็คือถูก ผิดก็คือผิด ใช่ก็คือใช่ ไม่ใช่ก็คือไม่ใช่ สังคมเราขาดตรงนี้ มันมาเป็นรากฐาน ตั้งแต่เรื่องตัวตนและความมั่นใจตัวเองแล้ว ต้องรอให้คนมาอนุมัติการกระทำของตนเอง โดนเฉพาะ 'คนอื่น'
ทีนี้นิสัยนินทาก็ไม่ต่างกันมาก เป็นเรื่องรากฐานของสังคมที่อยู่รวมกันเป็นหมู่คณะ ไม่ได้รับการยอมรับทางสังคมเช่น
จับกลุ่มกันดึงคนอื่นลง รวมกลุ่มกันเนื่องด้วยตัวเองทำเป้าหมายที่ต้องการกระทำไม่ได้ ความพยายามอะไรต่างๆนาๆไม่มากพอก็ว่าไป เช่นลดน้ำหนักยังไงก็ไม่ได้ ตัวใหญ่ยังไงก็ไม่เท่า หุ่นดีก็ไม่เท่า พอเห็นคนอื่นทำได้ ได้ดีกว่า เกิดอาการแทนที่จะพัฒนาตนเอง แต่ด้วยรูปสังคมและอุปนิสัยของสังคมนั้น ต้องได้รับการยอมรับจากกลุ่มมาก่อน จึงเกิดการจับกลุ่มนินทาว่าร้ายนำตนเองเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่พอ ยังจะดึงสมาชิกในกลุ่มให้เพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ เป็นธรรมดาของผู้ที่สภาพจิตใจอ่อนแอ ใครเล่าเรื่องคนอื่นให้ฟัง ก็จะเกิดความสำคัญตัวเองว่า 'เออมันมาเล่าเรื่องนี้ให้กูฟัง มันต้องไว้ใจกูแน่ๆ' สรุปแล้วก็ไม่มีใครพัฒนาตนเองจริงๆจังๆสักที มีแต่สำเร็จความใคร่ทางความคิดไปวันๆ ว่า " เออ พอใจละ มีพวกละ กูไม่จำเป็นต้องดีก็ได้ "
สองนิสัยนี้ชี้ให้เห็นถึงรากฐานทางความคิดของผู้คนในแถบเอเชียเป็นส่วนใหญ่ ไม่ใช่แค่ประเทศไทยแต่เป็นมากในประเทศรอบๆที่เป็น Feminine Country โดยยากมากแก่การที่จะแก้ไขในส่วนนี้ ทำให้วงการฟิตเนสซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่แล้ว ช้ามากเข้าไปอีก
เพราะความที่เราต้องการยอมรับจากคนส่วนมาก ต้องการให้ใครมา 'อนุมัติ' การกระทำของเรา โดยที่เราไม่สนเลยว่า มันเป็น การกระทำที่ก่อให้เกิดการพัฒนา (Productive Action) หรือไม่
ที่เขียนให้อ่านเนี่ย
เขียนให้คิด
ไม่ได้เขียนแบบเกรงใจหรอกนะ
#KnowledgeisPower
#TeamHeroAthletes
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「self-image psychology」的推薦目錄:
- 關於self-image psychology 在 Hero Athletes Facebook 的最佳貼文
- 關於self-image psychology 在 椪皮仔 Facebook 的最佳貼文
- 關於self-image psychology 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
- 關於self-image psychology 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於self-image psychology 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於self-image psychology 在 How to change your self Image 的評價
self-image psychology 在 椪皮仔 Facebook 的最佳貼文
「每日英文閱讀分享#017」
今天的文章:We Actively Avoid Information That Can Help Us
今天的文章是以訪問的方式,我簡單區分成五個重點
,分別為人們不想吸收資訊的四個面向、結論:
A. What:
當資訊偏向health/ finance/ interpersonal issues時,人們傾向不想知道
B. Why:
1. 人們不想知道主觀認為用不到的資訊,但其實資訊都是有用的
2. 人們不想知道可能會傷害他們的自我意象的資訊
C. Who:
想吸收新知:男人>女人(很些微)、有著好奇心、願意接受反面意見的人
D. How:
主管如果要面對employees時,先要知道willful ignorance的存在(例如人們不想知道自己花在FB等上面的時間、也不想知道同事對於他們優缺點的批評)然後想辦法跟他們更具體的溝通
E. 結論:
不想吸收資訊,與人本身並沒有太大關係,跟個性、主題比較有關,但是如果了解了某個知識可以讓你變得更好(雖然可能當下比較痛苦),但是或許長遠的進步才是應該要追求的吧!
個人心得:
完全同意作者所言。
因為了解現實或現狀,往往是痛苦的,
尤其是會損害到self-image的時候。
承認自己的不足,或是面對它,
本身就是一件很困難且不舒服的事,
所以會逃避也是正常的。
我們可以做的只有先了解不足,然後學習。
記得讀過李孝來的書裡說過,
『學了,你就會想辦法用。如果不學,你根本不知道什麼時候可以用得上。所以就廣泛的學吧!』
我喜歡各種學習,
帶有目的性的學習會進步很快,
但不帶目的性的學習,也會讓人感到快樂,
就像最近開始要學習打羽球一樣,
再度希望自己打到五十歲時可以跟阿伯們一樣強XD
正如同作者結論提及的,如果我們現在只顧著享樂與逃避,不願意學習,那就永遠不會進步。
今天的「單字」分享是:『shy』
當shy當形容詞的時候,解釋為:害羞的
但是當此片語『shy away from sth』
解釋為:to try to avoid (something) because of nervousness, fear, dislike, etc.
我自己解釋:用害羞時會撇頭、轉過身去的意向,比喻出逃避、害怕的用法,實在是很漂亮耶!
雖然這個片語裡的每個單字都很簡單,但是寫成這類型的片語時,往往還是很醉人。
例句:We frequently shy away from making decisions.—Collins Dictionary
本文中的例句:Everyone thinks about money. We wanted to better understand the situations in which people want information and those in which they really shy away from it.
#言之有物
#英語學習
#商業英文
#BusinessEnglish
#Psychology
#每日英文閱讀分享
#一起來建立英文閱讀習慣吧
self-image psychology 在 How to change your self Image 的推薦與評價
... <看更多>