"เถ้ากระดูกสีชมพู ไม่น่าเกิดจากการฉีดวัคซีนโควิดครับ"
เมื่อคืนนักข่าวโทรมาขอความเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่มีรายงานว่า "คุณแม่ท่านหนึ่งไปพบว่าเถ้ากระดูกของลูกสาววัย 19 ปี ได้กลายเป็นสีเทาชมพู และคาดว่าสาเหตุมาจากการฉีดวัคซีนโรคโควิด-19 เพราะก่อนเสียชีวิตไม่นานเพิ่งฉีดวัคซีน astrazeneca ไป" !? (ดูรายละเอียดข่าว ด้านล่าง)
ก็ได้อธิบายไปว่า จริงๆ แล้วภาวะที่เถ้ากระดูกหลังจากการเผาฌาปนกิจศพแล้ว กลายเป็นสีต่างๆ นั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ มีรายงานหลายครั้ง และมีสาเหตุที่อธิบายได้ทางวิทยาศาสตร์
เช่น การที่ผู้ชีวิตนั้นใช้ยารักษาโรคบางอย่างอยู่ และทำให้มีสารเคมีที่มีแร่ธาตุโลหะ สะสมอยู่ในร่างกาย ซึ่งธาตุโลหะแต่ละตัวนั้น จะให้สีที่แตกต่างกัน
ในส่วนของวัคซีนโรคโควิด-19 นั้น ถึงแม้จะมีโลหะบางตัวผสมอยู่บ้าง เช่น ธาตุอะลูมิเนียม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของวัคซีน แต่ก็อยู่ในปริมาณที่เพียงแค่เศษเสี้ยวของทั้งหมด ... แถมปริมาณวัคซีนที่เราฉีดเข้าไป ก็เพียงเล็กน้อย เช่น แค่ 0.5 มิลลิลิตร ต่อครั้ง จึงไม่น่าเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนสีของเถ้ากระดูก
ลองอ่านที่ผมเคยโพสต์อธิบายเรื่อง "เถ้ากระดูกเปลี่ยนสี" ไว้ก่อนนี้ นะครับ
------------
(จากโพสต์เก่า) "กระดูกสีชมพู เกิดจากมีธาตุทองแดงอยู่ครับ"
ข่าวเผาศพเด็กชายแล้วพบว่ากระดูกที่เผาบางชิ้นนั้นมีสีชมพูปนด้วย ซึ่งหลายคนอึ้งแล้วคิดว่าเป็นปาฏิหาริย์ (แต่พอดีน้องเค้าฆ่าตัวตาย ไม่ใช่เกจิอาจารย์ที่ไหน) สำหรับพวกเราชาวบ้านคงเห็นเป็นของแปลก แต่ถ้าถามพวกสัปเหร่อ เชื่อว่าเค้าต้องเห็นมาเยอะแล้ว ลองกูเกิ้ลด้วยคำว่า pink burnt bone after cremation ก็ได้ จะเห็นสัปเหร่อฝรั่งก็รู้ว่าสีชมพูนี้มาจากธาตุโลหะพวกทองแดง (copper)
จากงานวิจัยเรื่อง AN ANALYTIC REVIEW OF BURNT BONES IN MEDICOLEGAL SCIENCES ในวารสาร Journal of Punjab Academy of Forensic Medicine & Toxicology;2010, Vol. 10 Issue 1, p31 (ดูเนื้อหาใน http://medind.nic.in/jbc/t10/i1/jbct10i1p31.pdf) บอกว่า สีชมพูของกระดูกหลังเผานั้น ทางการแพทย์อธิบายว่าเกิดจากการมีธาตุทองแดงอยู่ด้วยตอนเผา ถ้าสีเขียว จะมาจากธาตุเหล็ก ถ้าสีเหลือง จะมาจากธาตุสังกะสี ถ้าขาวมาก แสดงว่าใช้ไฟแรงและนาน
ธาตุโลหะพวกนี้มาได้ทั้งจากการสะสมในร่างกายมาก่อนตาย (เช่น อาหารที่กิน น้ำที่ดื่ม) จากสิ่งแวดล้อม (เช่น ถ้าเคยฝังมาก่อน ก็อาจมาจากสารโลหะปนเปื้อนบริเวณนั้น) หรือวัสดุที่ใช้กับร่างกาย (เช่น ที่อุดฟัน) รวมทั้งจากวัตถุภายนอกที่อาจมีคนใส่เข้าไปเผาร่วมด้วย
ภาพจาก https://hilight.kapook.com/view/118007
------
(รายงานข่าว)
เมื่อเวลา 17.00 น.วันที่ 16 ก.ย.64 น.ส.ณัฐรดา เชยวัดเกาะ อายุ 41 ปี มารดาของ น.ส.อรกัญญา เชยวัดเกาะ อายุ 19 ปี บุตรสาวที่เสียชีวิตหลังจากฉีดวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า เมื่อวันที่ 18 ส.ค.64 แล้วเสียชีวิตเมื่อวันที่ 5 ก.ย.64 ที่ผ่านมา ล่าสุดได้ทำพิธีฌาปนกิจที่วัดลาดปลาดุก ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี เมื่อวันที่ 15 ก.ย.64
โดยวันนี้ (16 ก.ย.) บรรดาญาติพี่น้อง ได้ทำการเก็บอัฐิเพื่อนำไปลอยอังคารปรากฎพบว่ากระดูกของ น.ส.อรกัญญา กลายเป็นสีเทาอมชมพู ซึ่งทุกคนต่างก็สงสัยว่าเรื่องดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร
น.ส.ณัฐรดา แม่ของผู้เสียชีวิต กล่าวว่า เมื่อเวลาประมาณ 05.00 น.วันนี้ ตนได้ไปเก็บอัฐิของน้องที่วัดลาดปลาดุก เพื่อที่จะนำไปลอยอังคารและประกอบพิธีทางศาสนา พอเห็นอัฐิของน้องก็รู้สึกแปลกใจว่าทำไมอัฐิของน้องเป็นสีชมพู
ซึ่งวันที่น้องเผาก็มีอีกเคสที่เผาวันเดียวกัน อัฐิของเค้าก็จะเป็นสีขาวปนเทา แต่อัฐิของน้องกลับมีสีชมพูปนอยู่ ตนจึงสงสัยว่ามันน่าจะเกี่ยวข้องกับวัคซีนที่น้องฉีดหรือไม่ ตอนนี้ตนได้เก็บอัฐิของน้องไว้บางส่วน เพื่อนำไปปรึกษากับคุณหมอเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างละเอียดอีกครั้งจากนั้นจะนำอัฐิอีกส่วนไปลอยอังคารที่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
ภาพ และ ข่าวจาก https://www.naewna.com/likesara/602700
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅[email protected],也在其Youtube影片中提到,周邊神經病變 FindDoc Facebook : https://www.facebook.com/FindDoc FindDoc WeChat : 快徳健康香港 FindDoc FindDoc Instagram:@finddochk (一)周邊神經病變(peripheral neur...
toxicology 在 王姿允醫師。我的無齡秘笈。 Facebook 的最佳解答
[減脂期的有機污染物(POPs)危害⚠️]
今天唸到2020年《Food and Chemical Toxicology》期刊關於益生元在減重老鼠身上,是否能降低POP的危害的研究。
所謂「持久性有機污染物(persistent organic pollutants,POP)」,就是像殺蟲劑、塑化劑或是戴奧辛這類的環境荷爾蒙,無法自然分解, #溶於脂肪中,在脂肪組織中的堆積隨著時間而增加,半衰期可達10-15年,對身體造成持續性的破壞,例如心血管疾病、代謝疾病、生殖系統問題甚至是癌症。
一般環境荷爾蒙的暴露分成兩種:
⚠️外源性暴露:
透過污染的食物,例如:魚,尤其是生物鏈當中上層者,或是高脂肪的肉類或內臟。
⚠️內源性曝露:
主要是發生在減肥中,就像我影片中提到 #多喝水的理由之一,就是因為所有脂溶性污染物都會在脂肪分解過程中,從脂肪庫釋放到血液中,若不儘快喝水尿尿排出,對於身體的危害便會上升。
這些環境荷爾蒙的危害,都已在許多減重相關研究(生活型態或減重手術)中被證實,這些減肥後的肥胖受試者的血液中危害物濃度大大提升。
而一個很有趣的觀點就是:
#吃到環境荷爾蒙會容易變胖 這件事,或許跟 #身體的保護機制有關,就像我常提到脂肪的上升是高脂高糖食物造成內毒素上升、身體發炎上升後,免疫對抗發炎後的結果,而當攝入的脂溶性毒素越多,體內的「脂肪庫存拉大」(fat mass storage capacity)這個動作,是為了保護身體,免受毒性傷害的結果。
(亦即不讓脂肪儲存這些脂溶性毒素,而放任在血液中亂跑的話,會有更大的傷害)
#因此減脂本身就承擔著釋放出毒物的過程
#那要如何降低傷害呢?
這個研究用的方式,是介入含植物來源的多酚類的食物,例如:蔓越莓萃取物、菊苣纖維(inulin)、木質素(Lignin),豆類食物也有這些纖維和植物多酚,發現能夠有效降低減脂期老鼠體內的環境荷爾蒙濃度跟傷害。
環境荷爾蒙無所不在,脂肪越多的人「毒倉庫」越大,但是在減脂的過程中總有重複暴露的風險,故建議在減脂中的人除了要 #多喝水,也建議 #多攝取植物性來源的多酚類食物喔!
#今日讀書心得
toxicology 在 Hero Athletes Facebook 的最佳解答
เอาจริงเรื่องมะเร็งเนี่ยนะ ถือเป็นสถานภาพ (Condition) ที่เหมือนทอยลูกเต๋ามาก มันไม่มีเว้ยที่แบบตอบเลยว่า กินนม กินผลิตภัณฑ์จากนมเนย กินแบบนั้นแบบนี้ แล้วจะเป็นมะเร็ง หรือเหี้ยสุดคือเข้าฟิตเนสแล้วเป็นมะเร็ง ไอ้ห่าพูดมาได้!
หันไปดูประเทศฝรั่งเศส หรือประเทศแถบยุโรป โตมากับพันธุ์วัว ใช้เนยใช้นม กินชีส กินไวน์ กินสเต็ก แต่กลับพบว่าความเสี่ยงเป็นมะเร็งและโรคหัวใจน้อยสุดในโลก เพราะพบว่า วิตามิน K2 ในพวกผลิตภัณฑ์นมช่วยเรื่องนี้ ไม่เชื่อไปศึกษาเพิ่มเติมเรื่อง The French Paradox ต่อเอง
ต้องกินแต่ผัก เพราะว่าผักไม่มีสาร ต้องเป็น Vegan จะได้ไม่บาปด้วย คือ แล้วหันไปดู Steve Jobs เจ้าของ Apple เสียชีวิตด้วยมะเร็ง แต่ตัวเอง เป็นมังสวิรัติ คืออะไร ? หมอวินิจฉัยตอบ กินโปรตีนไม่พอให้ร่างกายไปสู้มะเร็ง เอ้า! ไหนใครบอกกินโปรตีนเป็นมะเร็ง ไอ้บ้า!
กินแต่เนื้อไม่ดีนะ ไม่มีผัก เป็นมะเร็งลำไส้ หันไปดูคนที่กิน Carnivore Diet โคตรสุขภาพดี แข็งแรง อย่างลีนทกล้ามอย่างโหด ไม่มีปัญหาเรื่องขับถ่าย เพราะเรื่องขับถ่ายแม่งไม่ได้เกี่ยวกับไฟเบอร์มาก แต่เป็นจำพวกแร่ธาตุที่มีผลมากกว่าเช่น Potassium กับ Water Intake
Carnivore Diet กินแต่เนื้อเพราะมันคือ Elimination Diet คือตัดต้นตอปัญหาอื่นเช่นแป้ง น้ำตาล หรือ Gluten ที่บางคนแพ้ แล้วก็ผักหลายๆชนิด แดกมากๆก็ตาย ไม่ใช่เพราะยาฆ่าแมลง แต่เป็นเพราะตัวผักเองมันก็คือสิ่งมีชีวิต กลไกป้องกันตัวเองก็คือใช้พิษ เช่นกินผักโขมมากๆ ดิบๆ หรือกะหล่ำดิบๆ นี่เสี่ยงตายมากกว่าเดินข้ามถนนซะอีก ไม่เชื่อก็ไปหาอ่านต่อในหัวข้อพิษวิทยา (Toxicology) เพิ่มเติม
เอาเป็นว่า มะเร็งมันเป็นเคมีของแต่ละคนซึ่งตอบไม่ได้ แถม เจาะจงก็ไม่ได้ว่าใครจะเป็น Random มากพอสมควร หมู่บ้านร้อยปีที่ญี่ปุ่น สูบบุหรี่ กินเหล้ากันยกครัว ไม่มีปัญหา บางคนกินเหล้านิดเดียวค่าตับขึ้นสูงมาก ตอบได้มั้ยล่ะว่าทำไม ก็เป็นเพราะเคมีคน หรือสารเคมีอะไรบางอย่างก็ตอบไม่ได้ว่าที่กินอยู่มันมีหรือไม่มีเพราะมองก็ไม่เห็น
ฉะนั้นคือ
1.เลิกจู่โจมหรือโจมตีอะไรอย่างหนึ่งอย่างใดเสียทีถ้าสมองยังไม่ได้เปิดกว้างๆได้รับข้อมูลที่นอกกะลาบ้าง มันน่ารำคาญแล้วก็เถียงกันไม่มีวันจบ
2.หาอะไรที่ชอบที่เข้ากับตัวเอง ไม่เบียดเบียน หาข้อมูลมากๆ อะไรที่แบบแย่แน่ๆเช่นผลิตภัณฑ์พลาสติกบางประเภทเลี่ยงได้ก็เลี่ยง
3.ตัวเองกินอะไรแล้วแล้วแพ้ ก็หยุดกิน ไม่ใช่เสือกไปบอกให้คนอื่นที่ไม่แพ้หยุดกิน
4.ทางสายกลาง ไม่มากไปไม่น้อยไปคือความพอดี ทั้งเรื่องออกกำลังกายและเรื่องรับประทานอาหาร
5.อย่าเสือกไปบอกให้คนอื่นหยุดเข้าฟิตเนส
มันร่างกายเค้า
ไม่ใช่ของมึง
#heroathletes
#rant
toxicology 在 [email protected] Youtube 的最佳貼文
周邊神經病變
FindDoc Facebook : https://www.facebook.com/FindDoc
FindDoc WeChat : 快徳健康香港 FindDoc
FindDoc Instagram:@finddochk
(一)周邊神經病變(peripheral neuropathy)的病因、症狀?
(二)如何分辨背痛和坐骨神經痛?
(三)甚麼是腕管綜合症?
(四)如忽視神經痛楚,會有甚麼嚴重後果?
(五)如何紓緩/治療神經痛楚?
(六)神經問題與缺乏維他命有關?
(本短片作健康教育之用,並不可取代任何醫療診斷或治療。治療成效因人而異,如有疑問,請向專業醫療人士諮詢。)
參考資料:
1. Hsieh, S.C. (1998). Brief Introduction to Peripheral Neuropathy. Medicine Today 25(11) 883-887
2. Martyn, C. N., & Hughes, R. A. (1997). Epidemiology of peripheral neuropathy. Journal of neurology, neurosurgery, and psychiatry, 62(4), 310–318. https://doi.org/10.1136/jnnp.62.4.310 Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1074084/?page=1
3. Sindrup, S.H., Otto, M., Finnerup, N.B. and Jensen, T.S. (2005), Antidepressants in the Treatment of Neuropathic Pain. Basic & Clinical Pharmacology & Toxicology, 96: 399-409. doi:10.1111/j.1742-7843.2005.pto_96696601.x Retrieved from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/full/10.1111/j.1742-7843.2005.pto_96696601.x
4. Ekabe, C. J., Kehbila, J., Abanda, M. H., Kadia, B. M., Sama, C. B., & Monekosso, G. L. (2017). Vitamin B12 deficiency neuropathy; a rare diagnosis in young adults: a case report. BMC research notes, 10(1), 72. https://doi.org/10.1186/s13104-017-2393-3 Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5273828/
5. Shibuya, K., Misawa, S., Nasu, S., Sekiguchi, Y., Beppu, M., Iwai, Y., Mitsuma, S., Isose, S., Arimura, K., Kaji, R., Kuwabara, S. (2014). Safety and efficacy of intravenous ultra-high dose methylcobalamin treatment for peripheral neuropathy: a phase I/II open label clinical trial. Internal Medicine, 53(17), 1927-1931. https://doi.org/10.2169/internalmedicine.53.1951 Retrieved from https://www.jstage.jst.go.jp/article/internalmedicine/53/17/53_53.1951/_article
資料來源:https://www.FindDoc.com
查詢醫生資訊:
https://www.finddoc.com/
toxicology 在 Society of Toxicology (SOT) 的相關結果
The Society of Toxicology (SOT) is comprised of 8000 individuals working in toxicology worldwide. SOT provides resources and hosts meetings to advance the ... ... <看更多>
toxicology 在 Toxicology - National Institute of Environmental Health Sciences 的相關結果
A toxicologist is a scientist who has a strong understanding of many scientific disciplines, such as biology and chemistry, and typically works with chemicals ... ... <看更多>
toxicology 在 Toxicology - Journals | Elsevier 的相關結果
Toxicology as a multidisciplinary, data-rich field has witnessed the availability of a cutting-edge technologies to investigate mechanisms underlying ... ... <看更多>