【家庭醫學】~ 血氧濃度 & 高山症
這個問題幾乎每次都會被問,今天就把它展開來講吧...
有在這個粉專潛水的,或是聽過我演講的,應該都可以認同「高山症」是一種環境適應不良造成的疾病。
就是當你突然離開舒適圈 (平地),到了一個陌生的環境 (高海拔低氧環境),身體所造成的反應;可能你適應地很好,幾乎沒出現症狀,也可能一開始有不舒服,在同一高度停留之後就適應了,抑或是一直適應不來,就產生嚴重的高山症了。
一直以來,學者都希望找出可以預測哪些人會出現高山症,提早預防,避免憾事發生;而進到高海拔低氧環境,自然會連想到血氧可能降低,會不會血氧下降,和高山症的發生率或嚴重程度有關?
而除了直接抽血檢驗以外,夾手指的可攜式血氧偵測儀 (pulse oximeter) 就很方便,價錢也落在多數人可以負擔的區間。
然而,相關的研究結果,卻不是一面倒地說這是有效的預測方法。 (如最後所列文獻中,3.5.6這三篇,就採取保留的態度)
當然,有爬過山的都知道,即便是同一座山,不同時間去、不同夥伴去、不同行程規劃,走起來都會有不同感受;同理,因為研究的變因那麼多,做起實驗來,很不容易,更別提連一篇薈萃分析研究都沒有。
另外,可攜式血氧偵測儀,也有很多問題:
* 每台的誤差範圍都可能不同
* 受測者手太冷就測不到,那要多熱也沒個規範
* 環境光亦會影響結果
....等等,我知道有人會說:「丫你講了那麼多,有講和沒講不是一樣嗎?都沒個結論。」
沒錯,我要是那麼厲害,可以發現一統江湖的預測方法,那還在這發什麼文...XD
扯遠了,其實撇開文獻不談,我是很喜歡上山帶著血氧機的。雖然找不到一個大眾通用的通則,那我自己評估每次上山的情況,久了就知道這次行程中的狀況好壞。
※ 在這兒先加註警語:進入高海拔環境後,出現的症狀,在能夠找到合理原因之前,都應該視為高山症,謹慎面對;血氧機只是個輔助儀器,不應該完全影響你對症狀的判斷。(別忘了,只要症狀沒緩解甚至加重,黃金治療原則還是"下降高度")
接下來就是我自己的使用習慣和心得了。
首先,就是在平地時就偶而測測看,了解自己在舒適圈中的心率和血氧狀況。
正常的SpO2%,應該在95~100%
正常的心率,應該在60~100次/分鐘
上山之後,其實4小時內,還不會有太大波動;再來會開始看到血氧下降一些,然後心率慢慢上升了。
隨著高度的上升,通常在第一天晚上的營地,我會再測一下,往往SpO2就只有80~85%左右,心率在90-100之間游走。這就是身體正在努力適應這個環境的表現:因為血氧的量減少,所以要多打幾次,讓細胞不至於有缺氧的反應。
隔天起床,如果適應不錯,心率會再降一些下來,血氧也會在85~90%間遊走;當然,有些路線是摸黑就登頂等日出的,例如:玉山,因為持續上升高度,再加上在營地休息的時間較短,在山頂測起來,血氧可能只有75-80%之間,而心跳會衝到100多下/分。
這種情況,往往過了山頭,下降高度後就會恢復;可以想像你自己是個慣老闆,叫身體的員工們共體時艱,先撐過這一段。
可是如果這情況發生在你要持續上升的行程中,而且已經開始出現高山症相關症狀時,就應該要好好考慮先停止上升高度,(因為身體已經那麼努力了,還是適應不來)。
畢竟人在演化中已經學會節能,當身體已經盡全力去適應這個環璄,還是趕不上環境的變化,就可能會放棄掙扎了,減少能量的流失。
至於有人問我手錶的血氧偵測準不準呢?我就完全沒辦法回答了,畢竟我也沒買,現在手上這支登山錶並沒有這個功能。我看很多登山YOUTUBER都有合作開箱,大家可以去問問看。或是你自己有,也可以在下面分享給大家了解囉。(不過我相信科技一直在進步,一定是到實用等級才會商品化囉)
最後,不論你上山有沒有血氧偵測,平時就應該要了解自己身體的狀況以及高山症的症狀,才能在第一時間發現,並早點處置或下降高度;而且退100萬步來說,高山症的診斷基準中,也沒有叫你一定要去測血氧值呀!
※ 延伸閱讀:認識高山症
https://www.facebook.com/FMOMdoctor/photos/a.1896409563923441/1896409570590107
※參考文獻:
1. Roach RC, Greene ER, Schoene RB, and Hackett PH. (1998). Arterial oxygen saturation for prediction of acute mountain sickness. Aviat Space Environ Med 69:1182–1185
2. Tannheimer M, Thomas A, and Gerngross H. (2002). Oxygen saturation course and altitude symptomatology during an expedition to broad peak (8047 m). Int J Sports Med 23:329–335
3. O'connor, Terry, Gerald Dubowitz, and Phillip E. Bickler. "Pulse oximetry in the diagnosis of acute mountain sickness." High Altitude Medicine & Biology 5.3 (2004): 341-348. Karinen HM, Peltonen JE, Kahonen M, and Tikkanen HO. (2010).
4. Prediction of acute mountain sickness by monitoring arterial oxygen saturation during ascent. High Alt Med Biol 11:325–332
5. Chen H.C, Lin WL, and Wu JY. (2012). Change in oxygen saturation does not predict acute mountain sickness on Jade Mountain. Wilderness Environ Med 23:122–127
6. Wagner DR, Knott JR, and Fry JP. (2012). Oximetry fails to predict acute mountain sickness or summit success during a rapid ascent to 5640 meters. Wilderness Environ Med 23:114–121
7. Faulhaber M, Wille M, Gatterer H, Heinrich D, and Burtscher M. (2014). Resting arterial oxygen saturation and breathing frequency as predictors for acute mountain sickness development: A prospective cohort study. Sleep Breath 18:669–674
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「wilderness medicine」的推薦目錄:
- 關於wilderness medicine 在 家醫/職醫_陳崇賢醫師 Facebook 的最讚貼文
- 關於wilderness medicine 在 家醫/職醫_陳崇賢醫師 Facebook 的最讚貼文
- 關於wilderness medicine 在 Drama-addict Facebook 的最佳解答
- 關於wilderness medicine 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於wilderness medicine 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於wilderness medicine 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於wilderness medicine 在 Wilderness Medicine: CME Can Be Epic... - YouTube 的評價
- 關於wilderness medicine 在 Wilderness Medical Society - Facebook 的評價
wilderness medicine 在 家醫/職醫_陳崇賢醫師 Facebook 的最讚貼文
【職業醫學/登山醫學】~ 懸吊創傷 (Suspension Trauma)
前一陣子,和新認識的山友聊到這塊 (他平常就很愛攀岩,而且都接高空作業的工作);一般人可能對這個不太熟悉,就拿出來談一談囉。
〖疾病簡介〗
使用吊帶進行高空作業或攀岩時,因為墜落,而造成身體懸空,重量完全由吊帶支撐,此時下肢的血液回流因壓迫受阻,造成回心的血流量不足,嚴重時會失去意識,就是所謂的「血管迷走神經性昏厥」 (vasovagal syncope)。
(可以想像成,蹲很久再站起來,那種姿勢性低血壓嚴重很多倍的版本...)
如果失去意識後,腿部吊帶造成的壓迫沒有釋放,則會造成下肢缺血,時間一長,產生腔室症候群 (compartment syndrome),就更可能會致命。
〖臨床症狀〗
一開始可能會有:身體發熱、大量流汗、頭暈、噁心、呼吸喘等症狀;因為回心血流量減少,身體為了能供給腦部足夠的血量,開始有心跳加速,血壓上升;時間延長之後,血流供給仍未恢復,身體就會放棄抵抗,造成心律不整、血壓下降、昏迷。
依據美國職業安全與健康管理局(OSHA) 的建議,發生墜落事故後,30分鐘內是最重要的救援時間,否則可能會造成昏迷甚至死亡。
〖如何預防〗
1. 避免單獨作業,事故發生時,才能立即發現
2. 作業前的教育訓練
3. 使用有創傷帶 (trauma strap) 的安全吊帶,在事故發生等待救援時,腳會有立足點,增加下肢血液回流。
※ 當然,如果發生時,就是快點把人救下來;至於沒人目擊,不知道掛在那兒多久了,救下來的確有可能會產生血液重新灌流後的傷害,不過這塊太深了,就不在這兒展開談了。
#分享給辛苦工作的高空作業人員
#喜愛攀岩的也要注意這個疾病
〖參考文獻〗
1. OSHA "Suspension Trauma/Orthostatic Intolerance"
https://www.osha.gov/dts/shib/shib032404.html
2. Pasquier, Mathieu, et al. "Clinical update: suspension trauma." Wilderness & environmental medicine 22.2 (2011): 167-171.
3. Lee, Caroline, and Keith M. Porter. "Suspension trauma." Emergency Medicine Journal 24.4 (2007): 237-238.
wilderness medicine 在 Drama-addict Facebook 的最佳解答
ฝากประชาสัมพันธ์จากกลุ่มจิตแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยเรื่องสารเสพติด เรื่องประเด็นที่มีจิตแพทยออกมาให้ข้อมูลเรื่องการกินเบียร์เหล้ามะวาน
สรุป การกินเหล้าเบียร ไม่ช่วยลดความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย กลับกัน เพิ่มความเสี่ยงเยอะด้วย การดื่มสุราจะเพิ่มโอกาสต่อการมีความคิดฆ่าตัวตาย 1.86 เท่า เพิ่มโอกาสต่อการพยายามฆ่าตัวตาย 3.13 เท่า และเพิ่มโอกาสต่อการฆ่าตัวตายสำเร็จ 2.59 เท่า
ส่วนเรื่องการกินเหล้าตอนอากาศหนาวไม่ทำให้อบอุ่น แต่ยิ่งทำให้หนาวตายไวขึ้น อันนี้บอกไปละมะวาน
ส่วนที่เหลือ ให้จิตแพทย์เขาไปเคลียร์กันเองนะคนับ ถถถถ
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับประโยชน์ของการดื่มเหล้า: ข้อเท็จจริงจากจิตแพทย์ด้านจิตเวชศาสตร์การเสพติด
ช่วงนี้ความแซ่บเกี่ยวกับเรื่องเหล้า แอลกอฮอล์ช่างมากมายเหลือเกิน
TSAP เลยรวบรวมคำถาม ที่คนส่วนใหญ่ชอบถาม เกี่ยวกับ เหล้า เบียร์มาตอบกันนะครับ โดยนำแหล่งอ้างอิงมาสนับสนุนคำตอบเหล่านี้ เริ่มกันเลยครับ
**********************************************************
ความเข้าใจผิด #1 การดื่มเหล้าช่วยลดความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย
ข้อเท็จจริง: การดื่มเหล้าจะสามารถเพิ่มความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายได้ อ้างอิงจากการศึกษาวิจัยที่ทำการวิเคราะห์ผลของการดื่มสุรากับพฤติกรรมฆ่าตัวตายจากจำนวนกลุ่มตัวอย่าง 420,732 คน ผลการศึกษาพบว่า การดื่มสุราจะเพิ่มโอกาสต่อการมีความคิดฆ่าตัวตาย 1.86 เท่า เพิ่มโอกาสต่อการพยายามฆ่าตัวตาย 3.13 เท่า และเพิ่มโอกาสต่อการฆ่าตัวตายสำเร็จ 2.59 เท่า นอกจากนี้ จากรายงานข่าวของกรมสุขภาพจิตในปีที่ผ่านมาพบว่า การดื่มสุราจะพบร่วมกับการฆ่าตัวตายสำเร็จถึงร้อยละ 29 และข้อมูลในปี 2561 พบว่า ผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จจะพบว่ามีปัญหาการดื่มสุราร้อยละ 19.6 และมีอาการมึนเมาระหว่างทำร้ายตนเองถึงร้อยละ 6
สามารถอ่านเอกสารอ้างอิง/ข่าว ได้ที่
Darvishi, N., Farhadi, M., Haghtalab, T., & Poorolajal, J. (2015). Alcohol-related risk of suicidal ideation, suicide attempt, and completed suicide: a meta-analysis. PloS one, 10(5).
http://www.prdmh.com/…/1462-กรมสุขภาพจิต-ชี้ปัญหาฆ่าตัวตายม…
https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=29978
***************************************************
ความเข้าใจผิด #2 การดื่มเหล้าทำให้ร่างกายอุ่นในอากาศที่หนาว
ข้อเท็จจริง: เหล้ามีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดส่วนปลาย (peripheral vasodilation) บริเวณใบหน้า แขน ขา ทำให้เลือดวิ่งมาที่บริเวณของร่างกายเหล่านี้พร้อมพาความร้อนในร่างกายมาด้วย ผู้ที่ดื่มจึงรู้สึกตัวอุ่น หน้าแดงและร้อนวูบวาบขึ้นในระยะสั้น ๆ แต่เนื่องจากเลือดพาความร้อนมายังร่างกายส่วนปลาย จึงเกิดการสูญเสียความร้อนออกไป ความร้อนในส่วนแกนกลางของร่างกาย (core body temperature) จึงลดลงและทำให้เกิดภาวะที่เรียกว่า อุณหภูมิร่างกายต่ำผิดปกติ (hypothermia) ซึ่งอาจส่งผลทำให้เสียชีวิตได้ โดยเฉพาะผู้ที่ดื่มเหล้าในอากาศที่หนาว
สามารถอ่านเอกสารอ้างอิงได้ที่
ALBIIN, N., & ERIKSSON, A. (1984). Fatal accidental hypothermia and alcohol. Alcohol and alcoholism, 19(1), 13-22.
Freund, B. J., O’brien, C., & Young, A. J. (1994). Alcohol ingestion and temperature regulation during cold exposure. Journal of Wilderness Medicine, 5(1), 88-98.
******************************************************
ความเข้าใจผิด #3 การดื่มเหล้าทำให้หลับสนิท
ข้อเท็จจริง: ในระยะแรกของการดื่มเหล้า ผู้ที่ดื่มอาจหลับง่ายขึ้นจากฤทธิ์ของการมึนเมา แต่เมื่อดื่มเป็นประจำหรือดื่มจนเกิดอาการติดสุรา ผู้ที่ดื่มจะมีปัญหาการนอนในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ หลับยาก หลับไม่ลึก หลับๆตื่นๆตลอดคืน ตื่นเร็วกว่าปกติ และง่วงกลางวัน โดยมีการประมาณกันว่า 35-70 เปอร์เซนต์ของผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำจะมีปัญหาการนอนหลับ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่มากกว่าคนทั่วไปที่ไม่ได้ดื่มหลายเท่าตัว
สามารถอ่านเอกสารอ้างอิงได้ที่
Angarita, G. A., Emadi, N., Hodges, S., & Morgan, P. T. (2016). Sleep abnormalities associated with alcohol, cannabis, cocaine, and opiate use: a comprehensive review. Addiction science & clinical practice, 11(1), 9.
วันนี้วันพระใหญ่ เรามาถือโอกาสเริ่มต้นลด ละ เลิกการดื่มสุราและอบายมุขอื่น ๆ กันนะครับ .... ชมรมจิตเวชศาสตร์การเสพติด (TSAP)
ส่วนความแซ่บเกี่ยวกับเหล้า ยาปลาปิ้งนั้น .... พักไว้ก่อนนะครับ วันพระครับ
wilderness medicine 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
wilderness medicine 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
wilderness medicine 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
wilderness medicine 在 Wilderness Medical Society - Facebook 的推薦與評價
Wilderness Medical Society, Austin, Texas. 13220 likes · 63 talking about this. Our mission is to inspire you to be alive in the wilderness. ... <看更多>
wilderness medicine 在 Wilderness Medicine: CME Can Be Epic... - YouTube 的推薦與評價
Calling physicians, PAs, NPs, and RNs, and medics from all specialties. Wilderness medicine is all about doing more with less. ... <看更多>