😷ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 จะกลับมาอีกแล้ว ❗
หลายวันมานี้ หลายคนคงพอสังเกตเห็นได้ว่าในท้องฟ้าของเรานั้นปกคลุมไปด้วยหมอกจาง ๆ โดยหารู้ไม่ว่าที่ตาเรามองเห็นนั้นกลับไม่ใช่หมอก หากแต่คือฝุ่นควันที่มีมากจนเกินค่ามาตรฐาน ดังที่กรมควบคุมมลพิษได้ออกมากล่าวว่า หมอกหนาทึบที่เรามองเห็นนั้นเกิดจากค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ที่เกินมาตรฐาน
การเผาไหม้เชื้อเพลิงธรรมชาติที่ไม่สมบูรณ์ และฝุ่นจากการก่อสร้าง
PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน เทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ ขนจมูกของมนุษย์ไม่สามารถกรองได้
PM2.5 จึงสามารถแพร่กระจายเข้าสู่ “ทางเดินหายใจ” กระแสเลือด และแทรกซึมสู่กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรังและมะเร็ง ตามคำเตือนขององค์การอนามัยโลก
2 ปัจจัยหลัก ๆ ของการเกิด PM2.5 ได้แก่
1. แหล่งกำเนิดโดยตรง ได้แก่
✅การเผาในที่โล่ง
เช่น กระดาษ กระดาษแข็ง เศษอาหาร พลาสติก เศษกิ่งไม้ใบหญ้า และขยะอื่น ๆ นั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเรามากกว่าที่คิดไว้ มันสามารถเพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ, ทำให้เกิดโรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น โรคหอบหืด และโรคถุงลมโป่งพอง และยังทำให้เกิดอาการผื่นคัน คลื่นไส้ และปวดหัว
✅การคมนาคมขนส่ง
การเพิ่มขึ้นของยานพาหนะในชุมชนเมืองเรานั้น ก่อให้เกิดฝุ่นขนาดจิ๋ว ที่มาจากเขม่าไอเสียของยานพาหนะ ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพ และก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น ทำให้ระบบหายใจเกิดการอักเสบ ปวดหัว ขาดสมาธิ และหมดสติ
✅การผลิตไฟฟ้า
ผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง ก่อให้เกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กจากเถ้าถ่านหิน ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดฝุ่น PM 2.5
✅อุตสาหกรรมการผลิต
การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดควันไฟและก๊าซพิษจำนวนมาก ซึ่งเป็นตัวการสำคัญให้เกิดฝุ่น PM 2.5
2. การรวมตัวของก๊าซอื่นๆ
ในแต่ละวันที่ต้องรับมลพิษต่าง ๆ เข้าสู่ร่างกาย จากการสัมผัสหรือสูดดมโดยไม่รู้ตัว ทำให้ส่งผลเสียต่อสะสมในร่างกายได้
🔴 แต่อย่าเพิ่งกังวลไปครับ เพราะคุณสามารถป้องกันได้ง่ายๆ โดยหลีกเลี่ยงกิจกรรมภายนอกอาคาร ใส่หน้ากากอนามัยที่ป้องกันได้ ดื่มน้ำสะอาดเยอะๆ ใช้เครื่องฟอกอากาศ สำหรับผู้มีโรคระบบทางเดินหายใจควรพกยาฉุกเฉินประจำตัวไว้ด้วยนะครับ 🔴
เป็นยังไงกันบ้างครับ P.M 2.5 ภัยเงียบ ที่อาจจะส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพได้ถ้าหากคุณละเลย ควรหมั่นดูแลและใส่ใจสุขภาพตัวเอง และเพื่อครอบครัวคนที่คุณรัก “ เริ่มตั้งแต่วันนี้ ” เพื่อความมั่นใจในความความปลอดภัย ของคนรอบข้างคุณนะครับ
“ สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ย่อมส่งผลดีต่อการเงินของคุณด้วย ” หากคุณกำลังมองหาโอกาสช่องทองการหารายได้หรือต่อยอดธุรกิจเพื่อคุณและครอบครัว ผมอยากให้คุณกดเข้าร่วมสัมมนาออนไลน์ฟรี ❗ เป็นลิขสิทธิ์ของผมเอง
เข้าร่วมฟรี ❗
คลิกลิงก์นี้ ▶ http://bit.ly/390GpJG
หรือแอดไลน์ ▶ @war-keting
หรือคลิกลิงก์นี้เพื่อถามข้อมูลเพิ่มเติมได้นะครับ
▶ http://bit.ly/37KU3Be
==============
วรัทภพ รชตนามวงษ์
#วรัทภพ #warattapob #ผ้าปิดจมูก #ฝุ่น #อาชีพเสริม #งานออนไลน์ #อาชีพออนไลน์ #หารายได้เพิ่ม #ดูแลสุขภาพ #PM #มลพิษ
「การคมนาคมขนส่ง」的推薦目錄:
- 關於การคมนาคมขนส่ง 在 วรัทภพ รชตนามวงษ์ warattapob.com Facebook 的最讚貼文
- 關於การคมนาคมขนส่ง 在 Paul Pattarapon พอล ภัทรพล Facebook 的最佳解答
- 關於การคมนาคมขนส่ง 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
- 關於การคมนาคมขนส่ง 在 การคมนาคมขนส่งทางอากาศ เป็นรูปแบบการเดินทางและขนส่งที่มี ... 的評價
- 關於การคมนาคมขนส่ง 在 ️ กระทรวงคมนาคม เพิ่มศักยภาพการคมนาคมขนส่งทางอากาศ ... 的評價
- 關於การคมนาคมขนส่ง 在 ผลงานพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางบก เพื่อความสุขอย่างยั่งยืนพ.ศ ... 的評價
การคมนาคมขนส่ง 在 Paul Pattarapon พอล ภัทรพล Facebook 的最佳解答
PM2.5 เกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยหลักคือ
1. แหล่งกำเนิดโดยตรง ได้แก่
การเผาในที่โล่ง ปล่อย PM2.5 มากที่สุดถึง 209,937 ตันต่อปี โดยมาจากการเผาในพื้นที่เพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อป้อนเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิตอาหารของบริษัทอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ในภาคเหนือตอนบนของไทยและภูมิภาคลุ่มน้ำโขง รวมไปถึงหมอกควันพิษข้ามพรมแดน
การคมนาคมขนส่ง ปล่อย PM2.5 ราว 50,240 ตันต่อปี โดยมาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงทั้งดีเซลและแก๊สโซฮอล์เป็นหลัก อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดของออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) อีกด้วย
การผลิตไฟฟ้า ปล่อย PM2.5 ราว 31,793 ตันต่อปี แม้จะมีค่า PM2.5 น้อยกว่าการเผาในที่โล่งและการคมนาคมขนส่ง หากแต่กลับมีสัดส่วนในการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) สู่ชั้นบรรยากาศมากที่สุด
อุตสาหกรรมการผลิต ปล่อย PM2.5 ราว 65,140 ตันต่อปี โดยพบมากที่สุดในพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด จังหวัดระยอง ซึ่งเกิดจากสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากสารเคมีและอุตสาหกรรม
2. การรวมตัวของก๊าซอื่นๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) รวมทั้งมีสารปรอท (Hg), แคดเมียม (Cd), อาร์เซนิก (As) หรือโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) ที่ล้วนแล้วแต่เป็นสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์
ด้วยองค์ประกอบของสารพิษเหล่านี้ ทำให้องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนดให้ PM2.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ของสารก่อมะเร็ง ตั้งแต่ปี 2556 อีกทั้งยังเป็นสาเหตุให้ 1 ใน 8 ของประชากรโลกเสียชีวิตก่อนวัยอันควร สอดรับกับรายงานของธนาคารโลก (World Bank) ที่ระบุว่า ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากมลพิษในอากาศเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรมากถึง 50,000 ราย ซึ่งการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรนี้ส่งผลกระทบไปถึงระบบเศรษฐกิจ รวมไปถึงค่าใช้จ่ายที่รัฐจะต้องสูญเสียเกี่ยวเนื่องกับการรักษาพยาบาลผู้ป่วยจากมลภาวะทางอากาศนี้อีกด้วย
Credit-The Standard
การคมนาคมขนส่ง 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
ข้อสรุปเรื่อง "ฝุ่นละออง PM2.5" จากงานเสวนา "จุฬาฯ ฝ่าวิกฤตรับมือฝุ่น PM 2.5" ครับ
1. ฝุ่นละออง PM 2.5 มีแหล่งกำเนิดหลัก คือ การเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ทุกชนิด การคมนาคมขนส่ง และสภาพอากาศที่ปิดในช่วงนี้
1.1 โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่อยู่บริเวณรอบกรุงเทพ ส่วนใหญ่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ปลดปล่อยฝุ่นต่ำ แต่โรงงานไฟฟ้าชีวมวล และโรงไฟฟ้าขยะขนาดเล็ก ที่กระจายอยู่ในภาคกลางนั้น ควรต้องบังคับตรวจวัดค่าฝุ่น PM 2.5 และให้มีระบบดักจับฝุ่นที่มีประสิทธิภาพ
1.2 ฝุ่น PM 2.5 จากเครื่องยนต์ที่เผาผลาญไม่สมบูรณ์น้้น มาจากรถดีเซล หรือรถเก่าที่ไม่ได้รับการบำรุงรักษา ภาครัฐต้องเข้มงวดเรื่องตรวจสภาพรถยนต์ ตรวจจับควันดำ พร้อมพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ให้ประชาชนลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล และระยะยาวต้องยกระดับมาตรฐานเครื่องยนต์และเชื้อเพลิง
2. การฉีดน้ำตามถนน ไม่ได้ช่วยลดฝุ่น PM 2.5 โดยตรง แต่ช่วยเรื่องฝุ่นขนาดใหญ่ PM 10 ไม่ให้เกิดการฟุ้งกระจายขึ้นไปในอากาศ ทำให้ค่า AQI หรือดัชนีคุณภาพอากาศดีขึ้น
2.1 ถ้าจะลดค่าฝุ่น PM 2.5 กทม. ต้องใช้เครื่องฉีดพ่นละอองน้ำมากถึง 30,000 ตัว ฉีดพร้อมกันทั่วกรุง ... จึงควรต้องมีมาตรการที่เป็นรูปธรรมและยั่งยืน
3. หากสัมผัส PM 2.5 ระยะสั้น ทำให้เกิดผื่นคัน แสบเคืองตา มีอาการไอ จาม ส่งผลให้มีอาการหอบและความดันสูง
3.1 ผลกระทบระยะยาว เพิ่มอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปอดสูงขึ้น โรคหัวใจ ทำลายระบบภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง เด็ก คนชรา สตรีมีครรภ์ ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการเด็กทารก
3.2 การใช้หน้ากากอื่นๆ ทดแทนหน้ากาก N95 ที่ขาดตลาด สามารถใช้หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ประกบกับทิชชูซ้อนกัน 2 ชั้น ไม่ควรชุบน้ำ กรองได้ 91% หากประกบกับผ้าเช็ดหน้า กรองได้ 50%
3.3 ถ้าเป็นหน้ากากแบบกระดาษ กรองได้ 48% และหน้ากากชนิดผ้า กรองได้เพียง 21% ไม่ควรใช้
3.4 แนะหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมนอกบ้าน หรือที่โล่งแจ้งดีที่สุด
(ปล. คอมเม้นต์ส่วนตัว เรื่องหน้ากากอนามัยที่บอกว่าเอาหน้ากากผ้ามาซ้อนกระดาษทิชชู่เนี่ย คือ ถ้าเอาแค่การกรองผ่าน แล้ววัดค่าฝุ่นที่ออกมา มันก็ได้ค่าการกรองสูงขึ้นตามเขาว่าครับ... แต่ๆๆ จริงๆ แล้วปัญหาคือการครอบหน้าครับ หน้ากากอนามัยมันครอบได้ไม่ทั่วหน้า มีช่องให้อากาศเข้าข้างๆ ได้ง่าย ต้องใช้มือจับปิดไว้ ไม่ค่อยสะดวกเลย ลองมาแล้ว )
ภาพจาก https://www.facebook.com/…/a.69287994075…/2260764893968179/…
ข้อมูลจาก https://www.tnamcot.com/view/8mfCItchs…
การคมนาคมขนส่ง 在 ️ กระทรวงคมนาคม เพิ่มศักยภาพการคมนาคมขนส่งทางอากาศ ... 的推薦與評價
กระทรวงคมนาคม เพิ่มศักยภาพ การคมนาคมขนส่ง ทางอากาศ ให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวและอำนวยความสะดวกในการเดินทางของประชาชน ... ... <看更多>
การคมนาคมขนส่ง 在 ผลงานพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางบก เพื่อความสุขอย่างยั่งยืนพ.ศ ... 的推薦與評價
ศ. 2557- 2563 การคมนาคมขนส่ง ทางบก เป็นรูปแบบการเดินทางและขนส่งหลักของประเทศ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ... ... <看更多>
การคมนาคมขนส่ง 在 การคมนาคมขนส่งทางอากาศ เป็นรูปแบบการเดินทางและขนส่งที่มี ... 的推薦與評價
รัฐบาลเร่งรัดพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่ง ทางอากาศ ดังนี้ 1. เพิ่มศักยภาพ ท่าอากาศยานหลักของประเทศ พัฒนาท่าอากาศดอนเมืองระยะที่ 2 รองรับ การ ขยายตัวของ ... ... <看更多>