อ่านกันแล้วหรือยังคะ ?
#แชร์มาเป็นความรู้อีกที
ใบกำกับภาษี ออกอย่างไรให้ไม่มีปัญหา
#กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย
ใบกำกับภาษีต้องออกเมื่อ "ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม" ดังนั้นคือ ออกเมื่อใดจึงจะถูกต้อง ?
ก็ต้องแยกใบกำกับภาษีตามความรับผิดในกิจกรรมที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มนั้น ตาม 3 กรณีดังนี้
.
1.#กรณีขายสินค้า ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อส่งมอบสินค้า เว้นแต่จะมีการโอนกรรมสิทธิ์สินค้าได้รับชำระค่าสินค้า หรือได้ออกใบกำกับภาษีก่อนส่งมอบสินค้า ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อมีการกระทำนั้นๆ (มาตรา 78(1)แห่งประมวลรัษฏากร)
.
2.#กรณีการให้เช่าซื้อสินค้า ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อถึงกำหนดชำระราคาตามงวดที่ถึงกำหนดชำระราคาสินค้า หรือได้ออกใบกำกับภาษีก่อนถึงกำหนดชำระราคาตามงวดฯ ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อมีการกระทำนั้นๆ (มาตรา 78(2)แห่งประมวลรัษฏากร)
.
3.#กรณีการให้บริการ ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อได้รับชำระค่าบริการ เว้นแต่ได้มีการออกใบกำกับภาษี หรือได้ใช้บริการไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่นก่อนรับชำระค่าบริการ ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อมีการกระทำนั้น(มาตรา 78/1 แห่งประมวลรัษฏากร)
ตัวอย่างเพิ่มเติมจากกรณีที่ 3
- บริษัท G จำกัด ได้ทำสัญญารับจ้างจากส่วนราชการ โดยบริษัท G ได้ออกใบกำกับภาษีให้แก่ส่วนราชการก่อนได้รับค่าจ้างกรณีนี้ย่อมกระทำได้เพราะความรับผิดในการเสียภาษีย่อมเกิดขึ้นทันทีเมื่อได้ออกใบกำกับภาษีแม้จะยังไม่ได้รับการชำระค่าบริการ
- บริษัท F จำกัด ได้รับจ้างบริษัท J จำกัด โดยจะได้รับชำระค่าจ้างตามงวดซึ่งบริษัท J. จ่ายค่าจ้างล่วงหน้าจำนวนหนึ่ง แล้วให้นำค่าจ้างล่วงหน้าเฉลี่ยไปหักออกจากค่าบริการที่จะได้รับชำระในแต่ละงวด กรณีนี้บริษัท F ต้องออกใบกำกับภาษีทันทีเมื่อได้รับค่าจ้างล่วงหน้าตามจำนวนเงินที่ได้รับนั้นแม้จะยังไม่ได้ลงมือทำงาน และเมื่อได้รับค่าจ้างตามงวดก็ต้องออกใบกำกับภาษีตามค่าจ้างที่ได้รับค่าจ้าง (หลังหักค่าใช้จ่ายล่วงหน้าเฉลี่ยออกแล้ว) เพราะความรับผิดในการเสียภาษีเกิดขึ้นเมื่อได้รับชำระค่าบริการ
#สัมมนาบัญชีภาษีสำหรับผู้ไม่มีความรู้บัญชี
สนใจทักอินบ็อกซ์หรือโทรปรึกษาสัมมนาที่เหมาะกับธุรกิจ
☎️ 0948246244
อย่าลืม !!! กด Like กดติดตามเพจ เพื่อให้ไม่พลาดข้อมูลดีดี
รับข่าวสาร-สอบถามด้านบัญชีภาษีสมัครเมมเบอร์
facebook : https://www.facebook.com/bunchee.easy
line@ : https://line.me/R/ti/p/%40bunchee.easy
「กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย」的推薦目錄:
- 關於กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的精選貼文
- 關於กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最佳解答
- 關於กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的精選貼文
กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最佳解答
ว่างแล้วมาอ่านนะคะ
#แชร์เก็บไว้อ่านทีหลังก็ดีค่ะ
ใบกำกับภาษี ออกอย่างไรให้ไม่มีปัญหา
#กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย
ใบกำกับภาษีต้องออกเมื่อ "ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม" ดังนั้นคือ ออกเมื่อใดจึงจะถูกต้อง ?
ก็ต้องแยกใบกำกับภาษีตามความรับผิดในกิจกรรมที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มนั้น ตาม 3 กรณีดังนี้
.
1.#กรณีขายสินค้า ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อส่งมอบสินค้า เว้นแต่จะมีการโอนกรรมสิทธิ์สินค้าได้รับชำระค่าสินค้า หรือได้ออกใบกำกับภาษีก่อนส่งมอบสินค้า ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อมีการกระทำนั้นๆ (มาตรา 78(1)แห่งประมวลรัษฏากร)
.
2.#กรณีการให้เช่าซื้อสินค้า ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อถึงกำหนดชำระราคาตามงวดที่ถึงกำหนดชำระราคาสินค้า หรือได้ออกใบกำกับภาษีก่อนถึงกำหนดชำระราคาตามงวดฯ ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อมีการกระทำนั้นๆ (มาตรา 78(2)แห่งประมวลรัษฏากร)
.
3.#กรณีการให้บริการ ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อได้รับชำระค่าบริการ เว้นแต่ได้มีการออกใบกำกับภาษี หรือได้ใช้บริการไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่นก่อนรับชำระค่าบริการ ก็ต้องออกใบกำกับภาษีเมื่อมีการกระทำนั้น(มาตรา 78/1 แห่งประมวลรัษฏากร)
ตัวอย่างเพิ่มเติมจากกรณีที่ 3
- บริษัท G จำกัด ได้ทำสัญญารับจ้างจากส่วนราชการ โดยบริษัท G ได้ออกใบกำกับภาษีให้แก่ส่วนราชการก่อนได้รับค่าจ้างกรณีนี้ย่อมกระทำได้เพราะความรับผิดในการเสียภาษีย่อมเกิดขึ้นทันทีเมื่อได้ออกใบกำกับภาษีแม้จะยังไม่ได้รับการชำระค่าบริการ
- บริษัท F จำกัด ได้รับจ้างบริษัท J จำกัด โดยจะได้รับชำระค่าจ้างตามงวดซึ่งบริษัท J. จ่ายค่าจ้างล่วงหน้าจำนวนหนึ่ง แล้วให้นำค่าจ้างล่วงหน้าเฉลี่ยไปหักออกจากค่าบริการที่จะได้รับชำระในแต่ละงวด กรณีนี้บริษัท F ต้องออกใบกำกับภาษีทันทีเมื่อได้รับค่าจ้างล่วงหน้าตามจำนวนเงินที่ได้รับนั้นแม้จะยังไม่ได้ลงมือทำงาน และเมื่อได้รับค่าจ้างตามงวดก็ต้องออกใบกำกับภาษีตามค่าจ้างที่ได้รับค่าจ้าง (หลังหักค่าใช้จ่ายล่วงหน้าเฉลี่ยออกแล้ว) เพราะความรับผิดในการเสียภาษีเกิดขึ้นเมื่อได้รับชำระค่าบริการ
#สัมมนาบัญชีภาษีสำหรับผู้ไม่มีความรู้บัญชี
สนใจทักอินบ็อกซ์หรือโทรปรึกษาสัมมนาที่เหมาะกับธุรกิจ
☎️ 0948246244
อย่าลืม !!! กด Like กดติดตามเพจ เพื่อให้ไม่พลาดข้อมูลดีดี
รับข่าวสาร-สอบถามด้านบัญชีภาษีสมัครเมมเบอร์
facebook : https://www.facebook.com/bunchee.easy
line@ : https://line.me/R/ti/p/%40bunchee.easy
กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的精選貼文
ใบกำกับภาษี ออกอย่างไรให้ไม่มีปัญหา
#กิจการของคุณตรงกับกรณีไหนเลือกใช้และแชร์ไว้อ่านได้เลย
ใบกำกับภาษีต้องออกเมื่อ "ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม" ดังนั้นคือ ออกเมื่อใดจึงจะถูกต้อง ?
ก็ต้องแยกใบกำกับภาษีตามความรับผิดในกิจกรรมที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มนั้น ตาม 3 กรณีดังนี้ ...
See More