📍 ตารางแสดงอัตรา "ภาษีธุรกิจเฉพาะ"
1. กิจการธนาคาร , ธุรกิจเงินทุน , ธุรกิจหลักทรัพย์ , ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์และการประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ , ธนาคารพาณิชย์
👉 ฐานภาษี
- ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการซื้อหรือขาย ตั๋วเงินหรือตราสาร แสดงสิทธิในหนี้ใดๆ อัตราภาษีร้อยละ 3.0
- กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตรา การออกตั๋วเงินหรือการส่งงินไปต่างประเทศ อัตราภาษีร้อยละ 3.0
2. กิจการรับประกันชีวิต
👉 ฐานภาษี
- ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม อัตราภาษีร้อยละ 2.5
3. กิจการโรงรับจำนำ
👉 ฐานภาษี
- ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม อัตราภาษีร้อยละ 2.5
- เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อันมีมูลค่าที่ได้รับ หรือพึงได้รับจากการขายของที่จำนำหลุดเป็นสิทธิ อัตราภาษีร้อยละ 2.5
4. การค้าอสังหาริมทรัพย์
👉 ฐานภาษี
- รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ อัตราภาษีร้อยละ 3
5. การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์
👉 ฐานภาษี
- รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ อัตราภาษีร้อยละ 0.1 (ยกเว้น)
6. การซื้อและการขายคืนสินทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
👉 ฐานภาษี
- กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการขายคืนหลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึงดอกเบี้ย เงินปันผล หรือประโยชน์ใดๆที่ได้จากหลักทรัพย์ อัตราภาษีร้อยละ 3.0
7. ธุรกิจแฟคตอริ่ง
👉 ฐานภาษี
- ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ อัตราภาษีร้อยละ 3.0
🙏ฝากกดติดตามแฟนเพจ บัญชีอย่างง่าย
#เพื่อรับข่าวสารข้อมูลบัญชีภาษีทันต่อเวลา
Youtube : https://bit.ly/3lnhpBF
Line@ : https://bit.ly/2TI1mSr
Instagram : https://bit.ly/2Y05mzW
Twitter : https://bit.ly/3j1cGH5
Blockdit : http://bit.ly/3qRsmxt
Tiktok : http://bit.ly/2McBHR3
#บัญชีอย่างง่าย #ครูอัส #วางระบบบริษัท #วางระบบภาษี #SMEไทยยั่งยืน #ธุรกิจมั่นคง #เงินสดหมุนเวียนในกิจการ
「ฐานภาษี」的推薦目錄:
- 關於ฐานภาษี 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的精選貼文
- 關於ฐานภาษี 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最讚貼文
- 關於ฐานภาษี 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最佳貼文
- 關於ฐานภาษี 在 3 เรื่องที่ต้องรู้และทำความเข้าใจ ก่อนไปคำนวณภาษี | ศึก 12 ภาษี EP.0 的評價
- 關於ฐานภาษี 在 คุณ Muay Paophongnguam... - สุเทพ พงษ์พิทักษ์ - Facebook 的評價
ฐานภาษี 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最讚貼文
ถ้าคุณอยู่ใน 5 ธุรกิจ นี้
ควรมีความรู้ด้าน ภาษีพื้นฐาน ด่วน!!
1.ค้าขาย online
2. ขายของบน Shopee
3. ขายของบน LAZADA
4. ธุรกิจอาหาร
5. ธุรกิจร้านค้า
ถ้าวันนี้คุณยังไม่รู้เรื่องของภาษี
.... ธุรกิจคุณเสี่ยงมาก!
รู้วันนี้ เพื่อความมั่นคงของธุรกิจคุณ
รับเงินรัวๆ เเบบไม่กลัวภาษีย้อนหลัง💸💸
-------------------------------------------------
สัมมนาภาษีประจำปี
เรียน 6 ครั้ง 14 ชั่วโมง
คอร์สออนไลน์ " ภาษีพื้นฐาน "
รวมความรู้ด้านภาษี ที่เริ่มตั้งแต่พื้นฐาน จนถึงการแก้ไขปัญหา
เรียกได้ว่า เข้าใจภาษีในกิจการและ ทำตามได้แบบ
“Step by Step”
สัมมนานี้เหมาะกับใคร🧔👩
✅ ผู้ที่ทำธุรกิจในนามบุคคลธรรมดา
ไม่ว่าจะเปิดร้านค้า หรือ ขายออนไลน์
✅ เจ้าของกิจการ ที่ทำธุรกิจในรูปแบบบริษัทและห้างหุ้นส่วน
✅ ผู้บริหารองค์กร ที่ต้องการเสริมทักษะด้านความเข้าใจด้านภาษี
✅ นักบัญชี ที่ต้องการเสริมความรู้และ
เทคนิคด้านการแก้ไขปัญหาภาษี
รูปแบบกาเรียน📚
✅ เรียนออนไลน์ใน กลุ่มปิด
✅ พื้นฐาน ความรู้เรียนในรูปแบบ VDO (ผ่านการถ่ายทำและตัดต่อ)📽
✅ เจาะประเด็นและตอบคำถาม Live ในกลุ่มปิด
✅ คุณสามารถเข้าดาวน์โหลดเอกสารทั้งหมดได้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
▶️ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคืออะไร ใครมีหน้าที่ที่ต้องยื่นบ้าง
▶️ เงินได้มาตรา 40 1-8 มีอะไรบ้าง
▶️ การเลือกหัก ค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท
▶️ ลดหย่อนบุคคล สามารถใช้อะไรได้บ้าง
▶️ การรับรายได้ของเจ้าของกิจการ
▶️ วางแผนภาษีบุคคลเพื่อให้ภาษีน้อยที่สุด
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
– ขายของใน shopee ต้องเสียภาษีอย่างไร
– ขายใน Lazada ต้องเสียภาษีอย่างไร
– พนักงานเงินเดือน ต้องเสียภาษีอย่างไร
– พนักงานเงินเดือน และขายของออนไลน์ ต้องเสียภาษีอย่างไร
– พนักงานเงินเดือน และทุนทำธุรกิจส่วนตัว ต้องเสียภาษีอย่างไร
– เป็นธุรกิจบริการรายได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ต้องเสียภาษีอย่างไร
– เปิดร้านค้า ร้านอาหาร เสียภาษีอะไรบ้าง
– เป็นกรรมการบริษัทได้รับเงินเดือน และมีค่าเช่าบ้าน
– เป็นกรรมการบริษัทได้รับเป็นค่าเช่าบ้าน และเช่ารถ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
▶️ กำไรทางบัญชี VS กำไรทางภาษี
▶️ รายจ่ายต้องห้าม
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล
– ต้องจ่ายภาษีเงินได้เท่าไหร่ ถึงจะดูดี
– ภาษีอะไรบ้างที่ถือเป็นค่าใช้จ่าย
– ต้นทุนทางบัญชี คำนวณอย่างไร
– สัดส่วนต้นทุน และค่าใช้จ่าย ต้องควบคุมให้ดี
– ทำความเข้าใจกับ “รายการบวกกลับ”
– เงินเดือนกรรมการ ต้องมีหรือไม่ควรมีเท่าไหร่
– สัญญาเช่ารถ บ้าน ต้องทำอย่างไร
– ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ ต้องจัดการอย่างไร
– ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ตั๋วเครื่องบิน และที่พัก
– บิลซื้อไม่สมบูรณ์ บันทึกเป็นต้นทุน ได้หรือไม่
– Stock ไม่ตรงมีผลต่อภาษีเงินได้อย่างไร
– หาบัตรประชาชน มาทำค่าใช้จ่ายปลอม
– ตั้งค่าที่ปรึกษา/ค่าคอม กับคนใกล้ตัว เพื่อสร้างค่าใช้จ่าย
– ค่าใช้จ่าย “ต้องห้าม” บิลเบิกถูกต้องก็ใช้ไม่ได้
– ข้อควรระวังในการยื่นภาษีเงินได้ประจำปี
– การจัดทำเอกสรสารบิลเงินสด เพื่อให้เป็นค่าใช้จ่ายกิจการได้
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
▶️ ความรู้เกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
▶️ ใครมีหน้าที่หัก และเมื่อไหร่เราจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
▶️ อัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แต่ละกรณี
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
– กิจการถูก หัก ณ ที่จ่ายไว้ เราต้องทำอย่างไรกับ หัก ณ ที่จ่ายนี้บ้าง
– ลูกค้าหัก ณ ที่จ่ายรวมทั้งค่าของและค่าแรง หักสูงมากทำยังไรดี
– หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่ายที่ได้รับ “หาย” ต้องทำอย่างไร
– มีรายได้ประเภทไหนบ้างที่ “ไม่ต้อง” หัก ณ ที่จ่าย
– จ่ายค่าบริการไปแล้วแต่ลืมหัก ณ ที่จ่าย ทำอย่างไรได้บ้าง
– หัก ณ ที่จ่ายไว้แล้วแต่ลืมนำส่ง
– หักภาษีจากเงินเดือนพนักงาน มีอะไรที่ต้องระวัง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
▶️ เมื่อไหร่ถึงจำเป็นต้องจด Vat
▶️ เมื่อจด Vat แล้วต้องทำอะไรบ้าง
▶️ จุดรับรู้ภาษีมูลค่าเพิ่ม Tax Point
▶️ การออกใบกำกับภาษีที่สรรพากรยอมรับ
▶️ ธุรกิจที่ได้รับยกเว้น VAT มีอะไรบ้าง
▶️ ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปแบบ และ ใบกำกับภาษีซื้ออย่างย่อ
▶️ การจัดทำรายงานภาษีซื้อ – ภาษีขาย และการยื่นแบบภาษี ภ.พ.30
▶️ เอกสารรายงานที่จำเป็นต้องจัดทำเมื่อเข้าสู่ระบบ Vat
▶️ กิจการประเภทไหนบ้างไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
▶️ เทคนิคการตั้งราคาโดยรวมภาระภาษีทั้งหมด
▶️ ภาษีซื้อต้องห้าม คืออะไร
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
– ลูกค้าไม่เอาใบกำกับภาษี/ไม่ให้ข้อมูลในการออกบิล
– ลูกค้าไม่ยอมจ่าย VAT เพิ่มอีก 7%
– กิจการไม่ค่อยมีภาษีซื้อเลย ทำอย่างไรดี
– ซื้อของจากแหล่งไม่มี VAT มาขายมี VAT ได้หรือไม่
– ลูกค้าไม่อยากจ่าย VAT แต่อยากได้หลักฐานการจ่ายเงิน
– ภาษีซื้อ มีอายุ 6 เดือนหมายถึงอะไร
– จ่ายค่าโฆษณา เฟสบุ๊ค ต้องนำส่ง VAT เพิ่มอีก 7%
– ลักษณะแบบไหนถึงควรขอคือภาษีมูลค่าเพิ่ม
– ค่ารับรอบ vs ส่งเสริมการขาย
– ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถ ทำไมถึงใช้ VAT แทบไม่ได้
– ของแจก ของแถม ของหาย
– รายการใดบ้าง ที่ไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT
– ค่าใช้จ่ายไหน “ห้าม” ใช้ภาษีมูลค่าเพิ่ม
– จดบริษัทแล้วต้องจด VAT เลยหรือไม่
– ข้อควรระวัง ก่อนยื่น VAT ให้สรรพากร
– หากยังมีขายนอกระบบ กระทบเรื่องอะไรบ้าง
– ภาษีซื้อเกี่ยวกับรถยนต์สามารถนำมาใช้ได้ไหม
– ภาษีซื้อเกี่ยวกับค่ารับรอง
– ความแตกต่างสำหรับค่ารับรอง และ ค่าส่งเสริมการขาย
– ซื้อของไม่มี VAT มาขายแบบมี VAT
– การมีเครติดภาษีซื้อ
– การปลอมใบกำกับภาษี
– นำเข้าสินค้าจากจีนผ่าน Shipping สามารถใช้ VAT ได้ไหม
ภาษีป้าย
▶️ ใครมีหน้าที่เสียภาษีป้าย
▶️ Update อัตราภาษีป้าย 2564
▶️ ต้องทำอย่างไรเมื่อรู้ว่าตัวเองเสียป้าย
▶️ ระยะเวลาการจ่ายภาษีป้าย
▶️ Live ตอบคำถาม
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ ใครมีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ ต้องทำอย่างไรเมื่อรู้ว่าตัวเองเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ ระยะเวลาการจ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ Live ตอบคำถาม
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ ความรู้เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ กิจการประเภทไหนบ้างที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ ฐานภาษี และอัตราภาษี
▶️ หน้าที่ของผู้ประกอบการ
▶️ กำหนดเวลาและสถานที่ในการยื่นแบบ
▶️ กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ เมื่อไหร่ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ มีลูกหนี้กรรมการเยอะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะอย่างไร
สมัครวันนี้แถมฟรี!
Bonus 1 ไฟล์เอกสารประกอบการเรียน
– ไฟล์ PDF ประกอบการเรียน
– ไฟล์ Excel ประมาณการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
– ไฟล์ Excel ประมาณการภาษีเงินได้นิติบุคลล
– ไฟล์ เอกสารหัก ณ ที่จ่าย 50 ทวิ
– ไฟล์ ภาษีธุรกิจและสิ่งที่ผู้ประกอบการควรรู้
เปิดให้จองเรียนเเล้ววันนี้ !
Promotion ลด 60% จากปกติ 7,500 บาท
🎉ราคาพิเศษเพียง 3,000 บาท
สมัครวันนี้ถึง 28 กุมภาพันธ์นี้
เเถมฟรีอีก!!!
คอร์สออนไลน์ บัญชีพื้นฐาน มูลค่า 3,000 บาท
เรียนคู่กัน เข้าใจมากขึ้นแน่นอน !
ดูรายละเอียดคอร์สเพิ่มเติม
หรือสอบถามเพิ่มเติม
Line : https://lin.ee/sxQ6i9W
094-8246244 ฝน
ฐานภาษี 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最佳貼文
สัมมนาภาษีประจำปี....."ภาษีพื้นฐาน"
เรียน 6 ครั้ง 14 ชั่วโมง
คอร์สออนไลน์ " ภาษีพื้นฐาน "
รวมความรู้ด้านภาษี ที่เริ่มตั้งแต่พื้นฐาน จนถึงการแก้ไขปัญหา
เรียกได้ว่า เข้าใจภาษีในกิจการและ ทำตามได้แบบ
“Step by Step”
สัมมนานี้เหมาะกับใคร🧔👩
✅ ผู้ที่ทำธุรกิจในนามบุคคลธรรมดา
ไม่ว่าจะเปิดร้านค้า หรือ ขายออนไลน์
✅ เจ้าของกิจการ ที่ทำธุรกิจในรูปแบบบริษัทและห้างหุ้นส่วน
✅ ผู้บริหารองค์กร ที่ต้องการเสริมทักษะด้านความเข้าใจด้านภาษี
✅ นักบัญชี ที่ต้องการเสริมความรู้และ
เทคนิคด้านการแก้ไขปัญหาภาษี
รูปแบบกาเรียน📚
✅ เรียนออนไลน์ใน facebook กลุ่มปิด
✅ พื้นฐาน ความรู้เรียนในรูปแบบ VDO (ผ่านการถ่ายทำและตัดต่อ)📽
✅ เจาะประเด็นและตอบคำถาม Live ในกลุ่มปิด
✅ คุณสามารถเข้าดาวน์โหลดเอกสารทั้งหมดได้ในเว็บ SMEs Academy
Click : https://smes.academy/
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
▶️ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคืออะไร ใครมีหน้าที่ที่ต้องยื่นบ้าง
▶️ เงินได้มาตรา 40 1-8 มีอะไรบ้าง
▶️ การเลือกหัก ค่าใช้จ่ายของเงินได้แต่ละประเภท
▶️ ลดหย่อนบุคคล สามารถใช้อะไรได้บ้าง
▶️ การรับรายได้ของเจ้าของกิจการ
▶️ วางแผนภาษีบุคคลเพื่อให้ภาษีน้อยที่สุด
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
– ขายของใน shopee ต้องเสียภาษีอย่างไร
– ขายใน Lazada ต้องเสียภาษีอย่างไร
– พนักงานเงินเดือน ต้องเสียภาษีอย่างไร
– พนักงานเงินเดือน และขายของออนไลน์ ต้องเสียภาษีอย่างไร
– พนักงานเงินเดือน และทุนทำธุรกิจส่วนตัว ต้องเสียภาษีอย่างไร
– เป็นธุรกิจบริการรายได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ต้องเสียภาษีอย่างไร
– เปิดร้านค้า ร้านอาหาร เสียภาษีอะไรบ้าง
– เป็นกรรมการบริษัทได้รับเงินเดือน และมีค่าเช่าบ้าน
– เป็นกรรมการบริษัทได้รับเป็นค่าเช่าบ้าน และเช่ารถ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
▶️ กำไรทางบัญชี VS กำไรทางภาษี
▶️ รายจ่ายต้องห้าม
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล
– ต้องจ่ายภาษีเงินได้เท่าไหร่ ถึงจะดูดี
– ภาษีอะไรบ้างที่ถือเป็นค่าใช้จ่าย
– ต้นทุนทางบัญชี คำนวณอย่างไร
– สัดส่วนต้นทุน และค่าใช้จ่าย ต้องควบคุมให้ดี
– ทำความเข้าใจกับ “รายการบวกกลับ”
– เงินเดือนกรรมการ ต้องมีหรือไม่ควรมีเท่าไหร่
– สัญญาเช่ารถ บ้าน ต้องทำอย่างไร
– ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ ต้องจัดการอย่างไร
– ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ตั๋วเครื่องบิน และที่พัก
– บิลซื้อไม่สมบูรณ์ บันทึกเป็นต้นทุน ได้หรือไม่
– Stock ไม่ตรงมีผลต่อภาษีเงินได้อย่างไร
– หาบัตรประชาชน มาทำค่าใช้จ่ายปลอม
– ตั้งค่าที่ปรึกษา/ค่าคอม กับคนใกล้ตัว เพื่อสร้างค่าใช้จ่าย
– ค่าใช้จ่าย “ต้องห้าม” บิลเบิกถูกต้องก็ใช้ไม่ได้
– ข้อควรระวังในการยื่นภาษีเงินได้ประจำปี
– การจัดทำเอกสรสารบิลเงินสด เพื่อให้เป็นค่าใช้จ่ายกิจการได้
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
▶️ ความรู้เกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
▶️ ใครมีหน้าที่หัก และเมื่อไหร่เราจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
▶️ อัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แต่ละกรณี
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
– กิจการถูก หัก ณ ที่จ่ายไว้ เราต้องทำอย่างไรกับ หัก ณ ที่จ่ายนี้บ้าง
– ลูกค้าหัก ณ ที่จ่ายรวมทั้งค่าของและค่าแรง หักสูงมากทำยังไรดี
– หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่ายที่ได้รับ “หาย” ต้องทำอย่างไร
– มีรายได้ประเภทไหนบ้างที่ “ไม่ต้อง” หัก ณ ที่จ่าย
– จ่ายค่าบริการไปแล้วแต่ลืมหัก ณ ที่จ่าย ทำอย่างไรได้บ้าง
– หัก ณ ที่จ่ายไว้แล้วแต่ลืมนำส่ง
– หักภาษีจากเงินเดือนพนักงาน มีอะไรที่ต้องระวัง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
▶️ เมื่อไหร่ถึงจำเป็นต้องจด Vat
▶️ เมื่อจด Vat แล้วต้องทำอะไรบ้าง
▶️ จุดรับรู้ภาษีมูลค่าเพิ่ม Tax Point
▶️ การออกใบกำกับภาษีที่สรรพากรยอมรับ
▶️ ธุรกิจที่ได้รับยกเว้น VAT มีอะไรบ้าง
▶️ ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปแบบ และ ใบกำกับภาษีซื้ออย่างย่อ
▶️ การจัดทำรายงานภาษีซื้อ – ภาษีขาย และการยื่นแบบภาษี ภ.พ.30
▶️ เอกสารรายงานที่จำเป็นต้องจัดทำเมื่อเข้าสู่ระบบ Vat
▶️ กิจการประเภทไหนบ้างไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
▶️ เทคนิคการตั้งราคาโดยรวมภาระภาษีทั้งหมด
▶️ ภาษีซื้อต้องห้าม คืออะไร
▶️ เคสเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
– ลูกค้าไม่เอาใบกำกับภาษี/ไม่ให้ข้อมูลในการออกบิล
– ลูกค้าไม่ยอมจ่าย VAT เพิ่มอีก 7%
– กิจการไม่ค่อยมีภาษีซื้อเลย ทำอย่างไรดี
– ซื้อของจากแหล่งไม่มี VAT มาขายมี VAT ได้หรือไม่
– ลูกค้าไม่อยากจ่าย VAT แต่อยากได้หลักฐานการจ่ายเงิน
– ภาษีซื้อ มีอายุ 6 เดือนหมายถึงอะไร
– จ่ายค่าโฆษณา Facebook ต้องนำส่ง VAT เพิ่มอีก 7%
– ลักษณะแบบไหนถึงควรขอคือภาษีมูลค่าเพิ่ม
– ค่ารับรอบ vs ส่งเสริมการขาย
– ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถ ทำไมถึงใช้ VAT แทบไม่ได้
– ของแจก ของแถม ของหาย
– รายการใดบ้าง ที่ไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT
– ค่าใช้จ่ายไหน “ห้าม” ใช้ภาษีมูลค่าเพิ่ม
– จดบริษัทแล้วต้องจด VAT เลยหรือไม่
– ข้อควรระวัง ก่อนยื่น VAT ให้สรรพากร
– หากยังมีขายนอกระบบ กระทบเรื่องอะไรบ้าง
– ภาษีซื้อเกี่ยวกับรถยนต์สามารถนำมาใช้ได้ไหม
– ภาษีซื้อเกี่ยวกับค่ารับรอง
– ความแตกต่างสำหรับค่ารับรอง และ ค่าส่งเสริมการขาย
– ซื้อของไม่มี VAT มาขายแบบมี VAT
– การมีเครติดภาษีซื้อ
– การปลอมใบกำกับภาษี
– นำเข้าสินค้าจากจีนผ่าน Shipping สามารถใช้ VAT ได้ไหม
ภาษีป้าย
▶️ ใครมีหน้าที่เสียภาษีป้าย
▶️ Update อัตราภาษีป้าย 2564
▶️ ต้องทำอย่างไรเมื่อรู้ว่าตัวเองเสียป้าย
▶️ ระยะเวลาการจ่ายภาษีป้าย
▶️ Live ตอบคำถาม
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ ใครมีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ ต้องทำอย่างไรเมื่อรู้ว่าตัวเองเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ ระยะเวลาการจ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▶️ Live ตอบคำถาม
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ ความรู้เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ กิจการประเภทไหนบ้างที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ ฐานภาษี และอัตราภาษี
▶️ หน้าที่ของผู้ประกอบการ
▶️ กำหนดเวลาและสถานที่ในการยื่นแบบ
▶️ กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ เมื่อไหร่ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
▶️ มีลูกหนี้กรรมการเยอะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะอย่างไร
สมัครวันนี้แถมฟรี!
Bonus 1 ไฟล์เอกสารประกอบการเรียน
– ไฟล์ PDF ประกอบการเรียน
– ไฟล์ Excel ประมาณการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
– ไฟล์ Excel ประมาณการภาษีเงินได้นิติบุคลล
– ไฟล์ เอกสารหัก ณ ที่จ่าย 50 ทวิ
– ไฟล์ ภาษีธุรกิจและสิ่งที่ผู้ประกอบการควรรู้
เปิดให้จองเรียนเเล้ววันนี้ !
Promotion ลด 60% จากปกติ 7,500 บาท
🎉ราคาพิเศษเพียง 3,000 บาท
**สมาชิกเก่าพิเศษยิ่งกว่า**
ชำระเพียง 2,500 บาท
รับสิทธิ์ภายใน 31 ม.ค. 64
ดูรายละเอียดคอร์สเพิ่มเติมหรือสั่งซื้อได้ที่ : https://bit.ly/3iNIdtP
หรือสอบถามเพิ่มเติม
Line : https://lin.ee/sxQ6i9W
094-8246244 ฝน
061-5495529 เบนซ์
ฐานภาษี 在 คุณ Muay Paophongnguam... - สุเทพ พงษ์พิทักษ์ - Facebook 的推薦與評價
นำมารวมคำนวณเป็นมูลค่าของฐานภาษีตามมาตรา 79 (4) แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 กรมสรรพากรได้วางแนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้ ”ข้อ 1 การขาย ... ... <看更多>
ฐานภาษี 在 3 เรื่องที่ต้องรู้และทำความเข้าใจ ก่อนไปคำนวณภาษี | ศึก 12 ภาษี EP.0 的推薦與評價
... มาเข้าใจ 3 เรื่องนี้กันก่อนที่จะไปคำนวณภาษีกันครับ เริ่มต้นที่เรื่องแรกที่ควรรู้กันก่อน นั่นคือเรื่องของ ฐานภาษี ครับ ซึ่ง ฐานภาษี ก็คือ ... ... <看更多>