การประชุมวิพากษ์ร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ “ โครงการศึกษามาตรการที่ส่งผลต่อการลดจำนวนผู้กระทำผิดที่เข้าสู่การบังคับโทษจากคุกและประสิทธิภาพของมาตรการที่ใช้หันเหคดีออกจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญา”
ทีมวิจัย
1. รองศาสตราจารย์ ดร. ศรีสมบัติโชคประจักษ์ชัด คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ม. มหิดล (หัวหน้าโครงการ)
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณพร เตชะไกศิยวณิช คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ม. มหิดล
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทองใหญ่ อัยยะวรากูล คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
4. ศาสตราจารย์ ดร. อรรถพล ควรเลี้ยง Criminal Justice Department, Midwestern University
ผู้สนับสนุนทุน : สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ผู้เข้าร่วมการประชุม : บุคลากรในกระบวนการยุติธรรม และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด การบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด แพทย์ นักจิตวิทยา นักวิชาการ นักศึกษา และภาคประชาชน
ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว ปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過19萬的網紅bgn squad,也在其Youtube影片中提到,สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ https://www.youtube.com/channel/UCVwbC8hO774qAL8Kcep7WlQ/join #tvmunk #bgnth #บอร์ดเกมไนท์ แฟนเพ...
「สำนักงานกิจการยุติธรรม」的推薦目錄:
- 關於สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 joysirilak Facebook 的最佳貼文
- 關於สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
- 關於สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 Drama-addict Facebook 的最讚貼文
- 關於สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 bgn squad Youtube 的最佳解答
- 關於สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 สำนักงานกิจการยุติธรรม | Bangkok - Facebook 的評價
- 關於สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 สถานี CEO นายวัลลภ นาคบัว(ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการยุติธรรม ... 的評價
สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
แอดมินเพจสำนักงานกิจการยุติธรรมฝากแชร์ข้อกฏหมายประเด็นนี้มาครรับ
เห็นว่าช่วงนี้ข่าวแนวนี้เยอะ ประชาชนน่าจะสนใจข้อกฏหมายที่เกี่ยวข้อง เชิญอ่าน
กฎหมายน่ารู้ 62 : หย่า...เลือกเอง โปรดอย่ามองฉันผิด ขอใช้สิทธิรักษาหัวใจ
ปัญหาสามีภรรยาทะเลาะกันอาจฟังดูเป็นเรื่องยุ่งยาก แต่หากจัดการได้ ความสัมพันธ์ในชีวิตคู่จะมั่นคง แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น ดังนั้น วิธีที่จะประคองชีวิตคู่ของคุณไม่ให้จบลงด้วยการหย่าร้างหรือแยกทาง ควรเริ่มจากคุณทั้งคู่เองก่อน คุณควรตกลงกันแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ เคลียร์ปัญหาที่ขัดแย้งกันจากสาเหตุของปัญหาเหล่านั้น
แน่นอนว่าหากความขัดแย้งอาจจะต้องจบด้วยการหย่าร้างแต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยอมหรือด้วยเหตุอื่นๆ ดังนั้น ถ้าหากตกลงด้วยการพูดคุยไม่ได้ ก็ลองมาดูทางออกเรื่องการหย่าในทางกฎหมายกันบ้าง โดยคู่สมรสฟ้องหย่าได้ที่ ศาลเยาวชนและครอบครัวตามภูมิลำเนาที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน หรือที่เกิดเหตุแห่งการหย่า
การหย่าตามกฎหมาย ทำได้ 2 แบบ คือ.....
1️⃣ การหย่าโดยความยินยอมของทั้ง 2 ฝ่าย เป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อและมีพยาน โดยนำหนังสือหย่าไปจดทะเบียนหย่า ที่สำนักทะเบียน สำนักงานเขต/อำเภอ พร้อมพยาน เพราะกฎหมายกำหนดว่าเมื่อได้จดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย การหย่า โดยความยินยอมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อสามีและภริยาได้จดทะเบียนการหย่ากันแล้ว (ปพพ. มาตรา 1515)
2️⃣ การฟ้องขอให้ศาลพิพากษาให้หย่า ในกรณีที่ตกลงกันไม่ได้ เราก็ต้องอาศัยกระบวนการยุติธรรมให้เข้ามาช่วยเหลือ โดยสามารถติดต่อทนายความหรือปรึกษากฎหมาย ฟรี!! สายด่วนยุติธรรม 1111 กด 77 เพื่อขอคำแนะนำ
#แต่งงาน #ทะเบียนสมรส #คู่ชีวิต #ปัญหา #หย่า #กฎหมายน่ารู้ #สำนักงานกิจการยุติธรรม #กระทรวงยุติธรรม #ชื่นใจคนไทยรู้กฎหมาย
ที่มา : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1501-1535
สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 Drama-addict Facebook 的最讚貼文
แอดมินเพจสำนักงานกิจการยุติธรรมฝากมา ช่วงนี้มีประเด็นเรื่องผู้เยาว์กับสัญญา บลุาๆ เขาเลยอยากให้อ่านว่าผู้เยาว์จะทำสัญญาได้ยังไง ทำได้แค่ไหน ลองอ่านจ้า
"เด็ก" ทำสัญญาซื้อขาย, สัญญากู้เงิน, สัญญาจ้างแรงงาน หรือพินัยกรรมสัญญาหรือนิติกรรมได้มั้ย ?
ตามกฎหมายแล้วเด็กที่อายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ถือว่าเป็นผู้เยาว์ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องอยู่ภายใต้อำนาจปกครองของพ่อแม่ซึ่งเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมตามกฎหมาย แล้วแบบนี้ถ้าทำสัญญาหรือนิติกรรม จะมีผลอย่างไร ?
กฎหมายน่ารู้ 79 : ผู้เยาว์ (เด็ก) ทำนิติกรรม-สัญญาได้แค่ไหน?
นิติกรรม คือ การกระทำของบุคคล โดยชอบด้วยกฎหมายและสมัครใจผูกสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ/เปลี่ยนแปลง/โอน/สงวน/ระงับสิทธิ และมุ่งต่อผลในกฎหมาย เช่น สัญญาซื้อขาย, สัญญากู้เงิน, สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาให้ และพินัยกรรม เป็นต้น
Q : อายุเท่าไหร่ทำนิติกรรม-สัญญาได้
A : ผู้เยาว์ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว
(1) อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์
(2) อายุครบ 17 ปีบริบูรณ์ สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย (จดทะเบียนสมรส) และพอแม่/ผู้ปกครองทั้ง 2 ฝ่ายยินยอม
(3) อายุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ ศาลอนุญาตให้สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะมีเหตุสมควร/จำเป็น (ตั้งครรภ์)
A : ผู้เยาว์ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะทำนิติกรรม-สัญญาด้วยตนเองลำพังไม่ได้ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม (พ่อ/แม่/ผู้ปกครอง)
(1) เป็นหนังสือ
(2) วาจา
(3) ปริยาย เช่น รับรู้/ไม่ทวงติ่ง-ว่ากล่าว/ให้คำปรึกษา/ลงชื่อเป็นพยานในสัญญา/ช่วยติดต่อเป็นธุระให้
A : ถ้าไม่ได้รับความยินยอม นิติกรรม-สัญญาจะตกเป็น “โมฆียะ”
(1) มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายจนกว่าจะถูกบอกเลิกสัญญา
(2) ผู้แทนโดยชอบธรรมบอกเลิกนิติกรรม-สัญญาได้
(3) ผู้แทนโดยชอบธรรมยืนยันการทำนิติกรรม-สัญญาได้
Q : นิติกรรม-สัญญาแบบไหน ? ที่ผู้เยาว์ทำด้วยตนเองได้
A : (1) กิจการที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียวไม่มีทางเสียหาย (เช่น ผู้เยาว์รับทรัพย์สินที่บุคคลอื่นให้โดยเสน่หาโดยไม่มีค่าตอบแทน)
(2) กิจการที่จะต้องทำเองเฉพาะตัว (เช่น การรับรองเด็กเป็นลูก หรือเข้าสู่พิธีสมรส)
(3) กิจการที่สมควรแก่ฐานานุรูป (ฐานะ) จำเป็นเพื่อเลี้ยงชีพตามสมควร (เช่น ซื้อขนม เครื่องเขียน)
(4) ทำพินัยกรรม เมื่ออายุครบ 15 ปีบริบูรณ์ ถ้าอายุไม่ครบ 15 ปีบริบูรณ์ พินัยกรรมตกเป็น “โมฆะ” (ไม่มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย)
#กฎหมายน่ารู้ #เด็ก #ผู้เยาว์ #สัญญา #นิติกรรม #พ่อ #แม่ #ผู้ปกครอง #คดีแพ่ง #สำนักงานกิจการยุติธรรม #ชื่นใจคนไทยรู้กฎหมาย #รุ้กฎหมายไว้ใช้กฎหมายเป็น
สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 bgn squad Youtube 的最佳解答
สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ
https://www.youtube.com/channel/UCVwbC8hO774qAL8Kcep7WlQ/join
#tvmunk #bgnth #บอร์ดเกมไนท์
แฟนเพจบอร์ดเกมไนท์ https://www.facebook.com/BGNth
อยากซื้อเกมราคาพิเศษ ติดต่อที่ inbox page ได้นะคร้าบ http://m.me/bgnth
Twitch https://go.twitch.tv/tvmunkofficial
Board Game Night รายการแคสต์บอร์ดเกมรายการแรกของประเทศไทย
ติดต่อ/โฆษณา 0840056445
สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 สถานี CEO นายวัลลภ นาคบัว(ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการยุติธรรม ... 的推薦與評價
ภารกิจของ สำนักงานกิจการยุติธรรม ถูกคาดหวังว่าจะทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่ในเชิงวิชาการ ... ... <看更多>
สำนักงานกิจการยุติธรรม 在 สำนักงานกิจการยุติธรรม | Bangkok - Facebook 的推薦與評價
สำนักงานกิจการยุติธรรม, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. ถูกใจ 142881 คน · 915 คนกำลังพูดถึงสิ่งนี้ · 2239 คนเคยมาที่นี่. สังคมเคารพกฎหมาย เริ่มได้จากตัวเรา. ... <看更多>