“โลกกำลังคลั่ง ระบบกำลังพัง” สรุปบทความล่าสุด จาก Ray Dalio / โดย ลงทุนแมน
[1 ในบทความที่นิยมสุดของลงทุนแมนในปี 2019]
เรื่องนี้น่าจะเป็นเรื่องที่ลงทุนแมนเขียนเสร็จแล้วก็เกิดความวิตกกังวลมากสุดในรอบปี
เรย์ ดาลิโอ ผู้บริหารเฮดจ์ฟันด์ที่ใหญ่สุดในโลก
ได้ออกมาเขียนบทความล่าสุดเรื่อง
“The World Has Gone Mad and the System Is Broken”
หรือแปลว่า โลกกำลังบ้าคลั่ง และ ระบบกำลังพังลง
ทำไม เรย์ ดาลิโอ ถึงให้ความเห็นแบบนั้น
แล้วมันน่ากังวลอย่างไร
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
ถ้าไม่ได้อยู่ในแวดวงการลงทุน
หลายคนอาจจะยังไม่รู้จัก เรย์ ดาลิโอ
เขาคนนี้ คือ ผู้บริหารบริษัท Bridgewater Associates
เฮดจ์ฟันด์ที่ใหญ่สุดในโลก ที่บริหารเงินกว่า 4.8 ล้านล้านบาท
และเป็นคนที่สรุปหนังสือเชิงปรัชญาชื่อดัง Principles
ล่าสุด เขาได้ออกมาเตือนผู้คนทั่วโลกผ่านบทความที่เขียนใน Linkedin ว่าระบบการเงินในโลกของเราใกล้จะเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่..
เหตุผลข้อแรกก็เพราะว่า เงินกำลังเป็นของฟรีสำหรับคนที่มีเครดิตดี
สมัยนี้ นักลงทุนทั่วโลกต่างก็เทเงินให้กับคนที่มีเครดิตดีเอาเงินไปใช้
ซึ่งคำว่า ฟรี ในที่นี้ก็เพราะว่าอัตราดอกเบี้ยตอนนี้ต่ำมาก หรือ แทบจะติดลบในบางประเทศ
ในขณะเดียวกัน นักลงทุนบางรายก็แทบไม่สนใจเงินที่เทลงไปด้วยซ้ำว่าจะได้คืนหรือไม่..
เพราะว่า พวกเขามีเงินอยู่ในหน้าตักมหาศาล
นอกจากนี้ ธนาคารกลางก็พยายามนำเงินเข้าระบบผ่านการซื้อสินทรัพย์ทางการเงินคืน เช่น พันธบัตรรัฐบาล เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบ และหวังจะเพิ่มระดับเงินเฟ้อ
แต่แทนที่คนจะใช้จ่ายมากขึ้น
แต่คนกลับนำเงินไปลงทุน..
เรื่องนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งในประวัติศาสตร์ของมนุษย์
(ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เกิดขึ้นในช่วงชีวิตเรา)
พอเรื่องเป็นแบบนี้ มูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินจึงปรับตัวสูงขึ้น
และทำให้เราคาดหวังผลตอบแทนในการลงทุนน้อยลง
ที่น่าสนใจคือ เรื่องนี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับพันธบัตรรัฐบาลเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับสินทรัพย์อื่น เช่น
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ (Equity)
หุ้นนอกตลาดหลักทรัพย์ (Private Equity)
บริษัทร่วมลงทุน (Venture Capital)
ด้วยลักษณะของผลตอบแทนของสินทรัพย์พวกนี้คาดการณ์ได้ไม่แน่นอนเหมือนพันธบัตรที่จ่ายดอกเบี้ยเป็นงวดๆ จึงทำให้นักลงทุนจินตนาการเพ้อฝันไปไกลว่าสินทรัพย์เหล่านี้จะให้ผลตอบแทนที่ดีขนาดไหน
นักลงทุนมีเงินล้น กำลังหลงใหลไปกับบริษัทสตาร์ตอัปที่มีเรื่องราวเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
ตอนนี้ บริษัทเหล่านี้กำลังเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากที่สุดตั้งแต่ยุควิกฤตดอตคอมปี 2000
โดยที่บริษัทเหล่านี้ยังไม่มีแม้แต่แผนธุรกิจ หรือ ความสามารถในการทำกำไร
พวกเขาทำแค่อย่างเดียว คือ ขายความฝัน..
ถึงแม้ว่าบางบริษัทจะไม่ได้ต้องการเงิน เพราะมีเงินที่ระดมทุนได้มากพอแล้ว
แต่นักลงทุนก็ยังพยายามเทเงินลงไปให้อีก และบังคับให้บริษัทรับเงินไป
เพราะนักลงทุนเหล่านี้มีเงินล้นเกินไป จนมีเงินที่ไม่ได้ถูกใช้จำนวนมาก
แต่เขาจำเป็นต้องนำเงินไปลงทุนเพื่อรักษาสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า
และก็เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมก้อนโต
ในขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ตกอยู่ในภาวะขาดดุลอย่างหนัก
ทำให้รัฐต้องกู้เงินเพิ่มโดยการออกพันธบัตรรัฐบาลจำนวนมาก
มากเสียจนพันธบัตรเหล่านี้ไม่สามารถขายหมดได้โดยวิธีปกติ หากไม่มีการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยให้น่าดึงดูดพอ
แต่ถ้าต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจริงๆ ก็คงเป็นหายนะทางเศรษฐกิจ
เพราะตอนนี้โลกอยู่ในช่วงกู้เกินตัวมานาน
แล้วคำถามคือ โลกนี้จะเอาเงินจากที่ไหนมาซื้อพันธบัตรที่มากมาย และปิดการขาดดุลนี้?
คำตอบที่ได้เราอาจจะตกใจก็คือ
เงินพวกนั้นมาจาก ธนาคารกลางที่คอยพิมพ์ธนบัตรใหม่ เพื่อมาซื้อพันธบัตรนั่นเอง
สรุปง่ายๆ ที่ เรย์ ดาลิโอ กำลังจะสื่อก็คือ “รัฐกำลังพิมพ์แบงก์ เพื่อมาซื้อพันธบัตรของตัวเอง”
ซึ่งระบบที่ดูเหมือนจะพังลงนี้ ก็ยังคงดำเนินต่อไป
และกำลังเป็นอัตราเร่ง
โดยเฉพาะในประเทศที่สกุลเงินนั้นถูกนำมาใช้เป็นเงินสำรองของประเทศต่างๆ
เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ในรูปของเงิน ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร และ เยน
อีกระบบที่กำลังจะพังลงในไม่ช้าก็คือ ระบบบำนาญ และประกันสุขภาพ
ระบบบำนาญกำลังจะครบกำหนดการจ่ายเงิน และไม่สามารถจ่ายเงินตามที่แจ้งไว้ได้
น่าตกใจที่กองทุนเหล่านี้ต้องทำผลตอบแทนให้ได้ปีละ 7% เพื่อให้จ่ายเงินได้ตามที่คาดการณ์ไว้ซึ่งอัตราผลตอบแทนขนาดนี้ มากกว่าผลตอบแทนของตลาดปัจจุบันเป็นอย่างมาก
คนที่จะโดนผลกระทบก็หนีไม่พ้น คุณครู พนักงานองค์กรรัฐต่างๆ ที่ในขณะเดียวกันก็ถูกบีบโดยการปรับลดงบประมาณ
ซึ่งแน่นอนว่าหากเป็นเรา ก็คงไม่ยอมที่จะได้รับสวัสดิการที่ลดลงอย่างแน่นอน
ปัญหานี้ก็เกิดขึ้นกับสวัสดิการด้านสุขภาพเช่นกัน เพราะโครงสร้างประชากรกำลังเปลี่ยนไป ประชากรรุ่นใหม่ที่มีจำนวนน้อยกว่าต้องทำงานเพื่อสนับสนุนประชากรยุคเบบี้บูมเมอร์ที่มีจำนวนมาก และกำลังต้องการสวัสดิการทางสุขภาพ
แล้วทางออกของรัฐบาล มีอะไรบ้าง?
ทางออกที่ 1 คือ ลดสวัสดิการลง
ทางออกที่ 2 คือ ขึ้นภาษี
ทางออกที่ 3 คือ พิมพ์เงินเพิ่มเข้ามาในระบบ
จากทางเลือกทั้งหมดนี้ ดูเหมือนว่าจะไม่มีทางออกไหนเข้าท่า
แถมมันอาจจะเป็นการเร่งให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้นไปอีก
อย่างไรก็ตาม การพิมพ์เงินเพิ่มดูเหมือนจะเป็นทางออกที่ง่ายที่สุด และเป็นทางลัด
ประเด็นมันอยู่ที่ว่า สัญญากู้ยืมเงินทั้งหมดบนโลกนี้มันระบุแค่ว่าต้องคืนเงินให้แก่เจ้าหนี้ตามจำนวนเงินในสัญญา แต่มันไม่ได้ห้ามพิมพ์เงินขึ้นมาใหม่ และไม่ได้ห้ามว่าเงินต้องด้อยค่าลง
ความเสี่ยงที่สำคัญคือ เรื่องนี้กำลังจะเป็นการทดสอบว่า เงินสกุลหลักที่ใช้เป็นเงินสำรองทั่วโลก 3 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร เยน จะยังคงมีค่าในตัวมันเองอยู่หรือไม่
แต่ถ้ารัฐยังหาเงินมาจ่ายเงินบำนาญและประกันสุขภาพได้ไม่พอ ก็ต้องกลับไปย้อนดูทางออกที่ 1 และทางออกที่ 2 ซึ่งก็คือการดูว่า จะตัดสวัสดิการส่วนไหน และต้องเก็บภาษีมากขึ้นเท่าไหร่
ที่น่าสนใจคือ ไม่ว่าทางไหนมันก็จะกระทบทั้งคนรวยและคนจน
เช่น หากลดสวัสดิการก็ทำให้คนจนไม่พอใจ
แต่หากขึ้นภาษีก็จะทำให้คนรวยพากันย้ายไปอยู่ในที่อื่น
และในที่สุด ก็จะทำให้รัฐสูญเสียคนรวยที่เป็นผู้เสียภาษีรายใหญ่ของประเทศ
และก็มาถึงประเด็นข้อสุดท้าย..
ที่พูดมาทั้งหมด จริงๆ แล้ว เงินเป็นของฟรีก็เฉพาะสำหรับผู้ที่มีเครดิตเท่านั้น
ไม่ว่าโลกนี้จะมีเงินล้นมากเท่าไร
กลับเป็นของหายากสำหรับผู้ที่ไม่มีเงินและไม่มีเครดิต
เมื่อรวมกับช่องว่างในอนาคต ที่เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ
จนเครื่องจักรสามารถมาทำงานแทนมนุษย์ได้
กลับมาถามหัวใจสำคัญของ “ระบบทุนนิยม”
ระบบทุนนิยมเกิดขึ้นจากรากฐานความเชื่อว่า
ถ้านายทุนมีเงินเพื่อสร้างการผลิต
คนจน จะได้ประโยชน์เองจากตำแหน่งงานที่เพิ่มขึ้น
สุดท้ายภาพรวมจะดีขึ้นเอง
แต่มาวันนี้ ทฤษฎีนี้อาจใช้ไม่ได้อีกต่อไป
เพราะนายทุนเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องจ้างมนุษย์..
เรื่องทั้งหมดที่กล่าวมานี้อาจแสดงให้เห็นว่า
“ระบบทุนนิยม” แบบเดิมซึ่งเราเชื่อกันว่า
จะเป็นประโยชน์ต่อคนส่วนมากในที่สุด
อาจใช้ไม่ได้อีกต่อไป..
จากสิ่งที่เล่ามาทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงความไม่ยั่งยืนที่พร้อมจะแตกหัก
และมันไม่สามารถฝืนได้อีกต่อไป
เรื่องนี้จะเหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นตอนวิกฤตเศรษฐกิจปี 2008
ซึ่งโลกนี้กำลังดำเนินเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
ในไม่ช้า..
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
Reference
https://www.linkedin.com/…/world-has-gone-mad-system-broken…
「หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ」的推薦目錄:
- 關於หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 หุ้นสหกรณ์ vs. หุ้นตลาดหลักทรัพย์ ต่างกันอย่างไร - YouTube 的評價
- 關於หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 หุ้นขึ้นสัญลักษณ์ L คืออะไร? เกี่ยวข้องกับคำสั่งประเภท GTC, GTD ... 的評價
- 關於หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 โครงสร้างผู้ถือหุ้น | PTT Public Company Limited (PTT) 的評價
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
“โลกกำลังคลั่ง ระบบกำลังพัง” สรุปบทความล่าสุด จาก Ray Dalio / โดย ลงทุนแมน
[1 ในบทความที่นิยมสุดของลงทุนแมนในปี 2019]
เรื่องนี้น่าจะเป็นเรื่องที่ลงทุนแมนเขียนเสร็จแล้วก็เกิดความวิตกกังวลมากสุดในรอบปี
เรย์ ดาลิโอ ผู้บริหารเฮดจ์ฟันด์ที่ใหญ่สุดในโลก
ได้ออกมาเขียนบทความล่าสุดเรื่อง
“The World Has Gone Mad and the System Is Broken”
หรือแปลว่า โลกกำลังบ้าคลั่ง และ ระบบกำลังพังลง
ทำไม เรย์ ดาลิโอ ถึงให้ความเห็นแบบนั้น
แล้วมันน่ากังวลอย่างไร
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
ถ้าไม่ได้อยู่ในแวดวงการลงทุน
หลายคนอาจจะยังไม่รู้จัก เรย์ ดาลิโอ
เขาคนนี้ คือ ผู้บริหารบริษัท Bridgewater Associates
เฮดจ์ฟันด์ที่ใหญ่สุดในโลก ที่บริหารเงินกว่า 4.8 ล้านล้านบาท
และเป็นคนที่สรุปหนังสือเชิงปรัชญาชื่อดัง Principles
ล่าสุด เขาได้ออกมาเตือนผู้คนทั่วโลกผ่านบทความที่เขียนใน Linkedin ว่าระบบการเงินในโลกของเราใกล้จะเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่..
เหตุผลข้อแรกก็เพราะว่า เงินกำลังเป็นของฟรีสำหรับคนที่มีเครดิตดี
สมัยนี้ นักลงทุนทั่วโลกต่างก็เทเงินให้กับคนที่มีเครดิตดีเอาเงินไปใช้
ซึ่งคำว่า ฟรี ในที่นี้ก็เพราะว่าอัตราดอกเบี้ยตอนนี้ต่ำมาก หรือ แทบจะติดลบในบางประเทศ
ในขณะเดียวกัน นักลงทุนบางรายก็แทบไม่สนใจเงินที่เทลงไปด้วยซ้ำว่าจะได้คืนหรือไม่..
เพราะว่า พวกเขามีเงินอยู่ในหน้าตักมหาศาล
นอกจากนี้ ธนาคารกลางก็พยายามนำเงินเข้าระบบผ่านการซื้อสินทรัพย์ทางการเงินคืน เช่น พันธบัตรรัฐบาล เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบ และหวังจะเพิ่มระดับเงินเฟ้อ
แต่แทนที่คนจะใช้จ่ายมากขึ้น
แต่คนกลับนำเงินไปลงทุน..
เรื่องนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งในประวัติศาสตร์ของมนุษย์
(ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เกิดขึ้นในช่วงชีวิตเรา)
พอเรื่องเป็นแบบนี้ มูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินจึงปรับตัวสูงขึ้น
และทำให้เราคาดหวังผลตอบแทนในการลงทุนน้อยลง
ที่น่าสนใจคือ เรื่องนี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับพันธบัตรรัฐบาลเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับสินทรัพย์อื่น เช่น
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ (Equity)
หุ้นนอกตลาดหลักทรัพย์ (Private Equity)
บริษัทร่วมลงทุน (Venture Capital)
ด้วยลักษณะของผลตอบแทนของสินทรัพย์พวกนี้คาดการณ์ได้ไม่แน่นอนเหมือนพันธบัตรที่จ่ายดอกเบี้ยเป็นงวดๆ จึงทำให้นักลงทุนจินตนาการเพ้อฝันไปไกลว่าสินทรัพย์เหล่านี้จะให้ผลตอบแทนที่ดีขนาดไหน
นักลงทุนมีเงินล้น กำลังหลงใหลไปกับบริษัทสตาร์ตอัปที่มีเรื่องราวเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
ตอนนี้ บริษัทเหล่านี้กำลังเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากที่สุดตั้งแต่ยุควิกฤตดอตคอมปี 2000
โดยที่บริษัทเหล่านี้ยังไม่มีแม้แต่แผนธุรกิจ หรือ ความสามารถในการทำกำไร
พวกเขาทำแค่อย่างเดียว คือ ขายความฝัน..
ถึงแม้ว่าบางบริษัทจะไม่ได้ต้องการเงิน เพราะมีเงินที่ระดมทุนได้มากพอแล้ว
แต่นักลงทุนก็ยังพยายามเทเงินลงไปให้อีก และบังคับให้บริษัทรับเงินไป
เพราะนักลงทุนเหล่านี้มีเงินล้นเกินไป จนมีเงินที่ไม่ได้ถูกใช้จำนวนมาก
แต่เขาจำเป็นต้องนำเงินไปลงทุนเพื่อรักษาสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า
และก็เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมก้อนโต
ในขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ตกอยู่ในภาวะขาดดุลอย่างหนัก
ทำให้รัฐต้องกู้เงินเพิ่มโดยการออกพันธบัตรรัฐบาลจำนวนมาก
มากเสียจนพันธบัตรเหล่านี้ไม่สามารถขายหมดได้โดยวิธีปกติ หากไม่มีการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยให้น่าดึงดูดพอ
แต่ถ้าต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจริงๆ ก็คงเป็นหายนะทางเศรษฐกิจ
เพราะตอนนี้โลกอยู่ในช่วงกู้เกินตัวมานาน
แล้วคำถามคือ โลกนี้จะเอาเงินจากที่ไหนมาซื้อพันธบัตรที่มากมาย และปิดการขาดดุลนี้?
คำตอบที่ได้เราอาจจะตกใจก็คือ
เงินพวกนั้นมาจาก ธนาคารกลางที่คอยพิมพ์ธนบัตรใหม่ เพื่อมาซื้อพันธบัตรนั่นเอง
สรุปง่ายๆ ที่ เรย์ ดาลิโอ กำลังจะสื่อก็คือ “รัฐกำลังพิมพ์แบงก์ เพื่อมาซื้อพันธบัตรของตัวเอง”
ซึ่งระบบที่ดูเหมือนจะพังลงนี้ ก็ยังคงดำเนินต่อไป
และกำลังเป็นอัตราเร่ง
โดยเฉพาะในประเทศที่สกุลเงินนั้นถูกนำมาใช้เป็นเงินสำรองของประเทศต่างๆ
เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ในรูปของเงิน ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร และ เยน
อีกระบบที่กำลังจะพังลงในไม่ช้าก็คือ ระบบบำนาญ และประกันสุขภาพ
ระบบบำนาญกำลังจะครบกำหนดการจ่ายเงิน และไม่สามารถจ่ายเงินตามที่แจ้งไว้ได้
น่าตกใจที่กองทุนเหล่านี้ต้องทำผลตอบแทนให้ได้ปีละ 7% เพื่อให้จ่ายเงินได้ตามที่คาดการณ์ไว้ซึ่งอัตราผลตอบแทนขนาดนี้ มากกว่าผลตอบแทนของตลาดปัจจุบันเป็นอย่างมาก
คนที่จะโดนผลกระทบก็หนีไม่พ้น คุณครู พนักงานองค์กรรัฐต่างๆ ที่ในขณะเดียวกันก็ถูกบีบโดยการปรับลดงบประมาณ
ซึ่งแน่นอนว่าหากเป็นเรา ก็คงไม่ยอมที่จะได้รับสวัสดิการที่ลดลงอย่างแน่นอน
ปัญหานี้ก็เกิดขึ้นกับสวัสดิการด้านสุขภาพเช่นกัน เพราะโครงสร้างประชากรกำลังเปลี่ยนไป ประชากรรุ่นใหม่ที่มีจำนวนน้อยกว่าต้องทำงานเพื่อสนับสนุนประชากรยุคเบบี้บูมเมอร์ที่มีจำนวนมาก และกำลังต้องการสวัสดิการทางสุขภาพ
แล้วทางออกของรัฐบาล มีอะไรบ้าง?
ทางออกที่ 1 คือ ลดสวัสดิการลง
ทางออกที่ 2 คือ ขึ้นภาษี
ทางออกที่ 3 คือ พิมพ์เงินเพิ่มเข้ามาในระบบ
จากทางเลือกทั้งหมดนี้ ดูเหมือนว่าจะไม่มีทางออกไหนเข้าท่า
แถมมันอาจจะเป็นการเร่งให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้นไปอีก
อย่างไรก็ตาม การพิมพ์เงินเพิ่มดูเหมือนจะเป็นทางออกที่ง่ายที่สุด และเป็นทางลัด
ประเด็นมันอยู่ที่ว่า สัญญากู้ยืมเงินทั้งหมดบนโลกนี้มันระบุแค่ว่าต้องคืนเงินให้แก่เจ้าหนี้ตามจำนวนเงินในสัญญา แต่มันไม่ได้ห้ามพิมพ์เงินขึ้นมาใหม่ และไม่ได้ห้ามว่าเงินต้องด้อยค่าลง
ความเสี่ยงที่สำคัญคือ เรื่องนี้กำลังจะเป็นการทดสอบว่า เงินสกุลหลักที่ใช้เป็นเงินสำรองทั่วโลก 3 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร เยน จะยังคงมีค่าในตัวมันเองอยู่หรือไม่
แต่ถ้ารัฐยังหาเงินมาจ่ายเงินบำนาญและประกันสุขภาพได้ไม่พอ ก็ต้องกลับไปย้อนดูทางออกที่ 1 และทางออกที่ 2 ซึ่งก็คือการดูว่า จะตัดสวัสดิการส่วนไหน และต้องเก็บภาษีมากขึ้นเท่าไหร่
ที่น่าสนใจคือ ไม่ว่าทางไหนมันก็จะกระทบทั้งคนรวยและคนจน
เช่น หากลดสวัสดิการก็ทำให้คนจนไม่พอใจ
แต่หากขึ้นภาษีก็จะทำให้คนรวยพากันย้ายไปอยู่ในที่อื่น
และในที่สุด ก็จะทำให้รัฐสูญเสียคนรวยที่เป็นผู้เสียภาษีรายใหญ่ของประเทศ
และก็มาถึงประเด็นข้อสุดท้าย..
ที่พูดมาทั้งหมด จริงๆ แล้ว เงินเป็นของฟรีก็เฉพาะสำหรับผู้ที่มีเครดิตเท่านั้น
ไม่ว่าโลกนี้จะมีเงินล้นมากเท่าไร
กลับเป็นของหายากสำหรับผู้ที่ไม่มีเงินและไม่มีเครดิต
เมื่อรวมกับช่องว่างในอนาคต ที่เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ
จนเครื่องจักรสามารถมาทำงานแทนมนุษย์ได้
กลับมาถามหัวใจสำคัญของ “ระบบทุนนิยม”
ระบบทุนนิยมเกิดขึ้นจากรากฐานความเชื่อว่า
ถ้านายทุนมีเงินเพื่อสร้างการผลิต
คนจน จะได้ประโยชน์เองจากตำแหน่งงานที่เพิ่มขึ้น
สุดท้ายภาพรวมจะดีขึ้นเอง
แต่มาวันนี้ ทฤษฎีนี้อาจใช้ไม่ได้อีกต่อไป
เพราะนายทุนเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องจ้างมนุษย์..
เรื่องทั้งหมดที่กล่าวมานี้อาจแสดงให้เห็นว่า
“ระบบทุนนิยม” แบบเดิมซึ่งเราเชื่อกันว่า
จะเป็นประโยชน์ต่อคนส่วนมากในที่สุด
อาจใช้ไม่ได้อีกต่อไป..
จากสิ่งที่เล่ามาทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงความไม่ยั่งยืนที่พร้อมจะแตกหัก
และมันไม่สามารถฝืนได้อีกต่อไป
เรื่องนี้จะเหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นตอนวิกฤตเศรษฐกิจปี 2008
ซึ่งโลกนี้กำลังดำเนินเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
ในไม่ช้า..
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
Reference
https://www.linkedin.com/pulse/world-has-gone-mad-system-broken-ray-dalio
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
“โลกกำลังคลั่ง ระบบกำลังพัง” สรุปบทความล่าสุด จาก Ray Dalio / โดย ลงทุนแมน
เรื่องนี้น่าจะเป็นเรื่องที่ลงทุนแมนเขียนเสร็จแล้วก็เกิดความวิตกกังวลมากสุดในรอบปี
เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา..
เรย์ ดาลิโอ ผู้บริหารเฮดจ์ฟันด์ที่ใหญ่สุดในโลก
ได้ออกมาเขียนบทความล่าสุดเรื่อง
“The World Has Gone Mad and the System Is Broken”
หรือแปลว่า โลกกำลังบ้าคลั่ง และ ระบบกำลังพังลง
ทำไม เรย์ ดาลิโอ ถึงให้ความเห็นแบบนั้น
แล้วมันน่ากังวลอย่างไร
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
ถ้าไม่ได้อยู่ในแวดวงการลงทุน
หลายคนอาจจะยังไม่รู้จัก เรย์ ดาลิโอ
เขาคนนี้ คือ ผู้บริหารบริษัท Bridgewater Associates
เฮดจ์ฟันด์ที่ใหญ่สุดในโลก ที่บริหารเงินกว่า 4.8 ล้านล้านบาท
และเป็นคนที่สรุปหนังสือเชิงปรัชญาชื่อดัง Principles
ล่าสุด เขาได้ออกมาเตือนผู้คนทั่วโลกผ่านบทความที่เขียนใน Linkedin ว่าระบบการเงินในโลกของเราใกล้จะเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่..
เหตุผลข้อแรกก็เพราะว่า เงินกำลังเป็นของฟรีสำหรับคนที่มีเครดิตดี
สมัยนี้ นักลงทุนทั่วโลกต่างก็เทเงินให้กับคนที่มีเครดิตดีเอาเงินไปใช้
ซึ่งคำว่า ฟรี ในที่นี้ก็เพราะว่าอัตราดอกเบี้ยตอนนี้ต่ำมาก หรือ แทบจะติดลบในบางประเทศ
ในขณะเดียวกัน นักลงทุนบางรายก็แทบไม่สนใจเงินที่เทลงไปด้วยซ้ำว่าจะได้คืนหรือไม่..
เพราะว่า พวกเขามีเงินอยู่ในหน้าตักมหาศาล
นอกจากนี้ ธนาคารกลางก็พยายามนำเงินเข้าระบบผ่านการซื้อสินทรัพย์ทางการเงินคืน เช่น พันธบัตรรัฐบาล เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบ และหวังจะเพิ่มระดับเงินเฟ้อ
แต่แทนที่คนจะใช้จ่ายมากขึ้น
แต่คนกลับนำเงินไปลงทุน..
เรื่องนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งในประวัติศาสตร์ของมนุษย์
(ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เกิดขึ้นในช่วงชีวิตเรา)
พอเรื่องเป็นแบบนี้ มูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินจึงปรับตัวสูงขึ้น
และทำให้เราคาดหวังผลตอบแทนในการลงทุนน้อยลง
ที่น่าสนใจคือ เรื่องนี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับพันธบัตรรัฐบาลเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับสินทรัพย์อื่น เช่น
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ (Equity)
หุ้นนอกตลาดหลักทรัพย์ (Private Equity)
บริษัทร่วมลงทุน (Venture Capital)
ด้วยลักษณะของผลตอบแทนของสินทรัพย์พวกนี้คาดการณ์ได้ไม่แน่นอนเหมือนพันธบัตรที่จ่ายดอกเบี้ยเป็นงวดๆ จึงทำให้นักลงทุนจินตนาการเพ้อฝันไปไกลว่าสินทรัพย์เหล่านี้จะให้ผลตอบแทนที่ดีขนาดไหน
นักลงทุนมีเงินล้น กำลังหลงใหลไปกับบริษัทสตาร์ตอัปที่มีเรื่องราวเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
ตอนนี้ บริษัทเหล่านี้กำลังเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากที่สุดตั้งแต่ยุควิกฤตดอตคอมปี 2000
โดยที่บริษัทเหล่านี้ยังไม่มีแม้แต่แผนธุรกิจ หรือ ความสามารถในการทำกำไร
พวกเขาทำแค่อย่างเดียว คือ ขายความฝัน..
ถึงแม้ว่าบางบริษัทจะไม่ได้ต้องการเงิน เพราะมีเงินที่ระดมทุนได้มากพอแล้ว
แต่นักลงทุนก็ยังพยายามเทเงินลงไปให้อีก และบังคับให้บริษัทรับเงินไป
เพราะนักลงทุนเหล่านี้มีเงินล้นเกินไป จนมีเงินที่ไม่ได้ถูกใช้จำนวนมาก
แต่เขาจำเป็นต้องนำเงินไปลงทุนเพื่อรักษาสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า
และก็เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมก้อนโต
ในขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ตกอยู่ในภาวะขาดดุลอย่างหนัก
ทำให้รัฐต้องกู้เงินเพิ่มโดยการออกพันธบัตรรัฐบาลจำนวนมาก
มากเสียจนพันธบัตรเหล่านี้ไม่สามารถขายหมดได้โดยวิธีปกติ หากไม่มีการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยให้น่าดึงดูดพอ
แต่ถ้าต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยจริงๆ ก็คงเป็นหายนะทางเศรษฐกิจ
เพราะตอนนี้โลกอยู่ในช่วงกู้เกินตัวมานาน
แล้วคำถามคือ โลกนี้จะเอาเงินจากที่ไหนมาซื้อพันธบัตรที่มากมาย และปิดการขาดดุลนี้?
คำตอบที่ได้เราอาจจะตกใจก็คือ
เงินพวกนั้นมาจาก ธนาคารกลางที่คอยพิมพ์ธนบัตรใหม่ เพื่อมาซื้อพันธบัตรนั่นเอง
สรุปง่ายๆ ที่ เรย์ ดาลิโอ กำลังจะสื่อก็คือ “รัฐกำลังพิมพ์แบงก์ เพื่อมาซื้อพันธบัตรของตัวเอง”
ซึ่งระบบที่ดูเหมือนจะพังลงนี้ ก็ยังคงดำเนินต่อไป
และกำลังเป็นอัตราเร่ง
โดยเฉพาะในประเทศที่สกุลเงินนั้นถูกนำมาใช้เป็นเงินสำรองของประเทศต่างๆ
เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ในรูปของเงิน ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร และ เยน
อีกระบบที่กำลังจะพังลงในไม่ช้าก็คือ ระบบบำนาญ และประกันสุขภาพ
ระบบบำนาญกำลังจะครบกำหนดการจ่ายเงิน และไม่สามารถจ่ายเงินตามที่แจ้งไว้ได้
น่าตกใจที่กองทุนเหล่านี้ต้องทำผลตอบแทนให้ได้ปีละ 7% เพื่อให้จ่ายเงินได้ตามที่คาดการณ์ไว้ซึ่งอัตราผลตอบแทนขนาดนี้ มากกว่าผลตอบแทนของตลาดปัจจุบันเป็นอย่างมาก
คนที่จะโดนผลกระทบก็หนีไม่พ้น คุณครู พนักงานองค์กรรัฐต่างๆ ที่ในขณะเดียวกันก็ถูกบีบโดยการปรับลดงบประมาณ
ซึ่งแน่นอนว่าหากเป็นเรา ก็คงไม่ยอมที่จะได้รับสวัสดิการที่ลดลงอย่างแน่นอน
ปัญหานี้ก็เกิดขึ้นกับสวัสดิการด้านสุขภาพเช่นกัน เพราะโครงสร้างประชากรกำลังเปลี่ยนไป ประชากรรุ่นใหม่ที่มีจำนวนน้อยกว่าต้องทำงานเพื่อสนับสนุนประชากรยุคเบบี้บูมเมอร์ที่มีจำนวนมาก และกำลังต้องการสวัสดิการทางสุขภาพ
แล้วทางออกของรัฐบาล มีอะไรบ้าง?
ทางออกที่ 1 คือ ลดสวัสดิการลง
ทางออกที่ 2 คือ ขึ้นภาษี
ทางออกที่ 3 คือ พิมพ์เงินเพิ่มเข้ามาในระบบ
จากทางเลือกทั้งหมดนี้ ดูเหมือนว่าจะไม่มีทางออกไหนเข้าท่า
แถมมันอาจจะเป็นการเร่งให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้นไปอีก
อย่างไรก็ตาม การพิมพ์เงินเพิ่มดูเหมือนจะเป็นทางออกที่ง่ายที่สุด และเป็นทางลัด
ประเด็นมันอยู่ที่ว่า สัญญากู้ยืมเงินทั้งหมดบนโลกนี้มันระบุแค่ว่าต้องคืนเงินให้แก่เจ้าหนี้ตามจำนวนเงินในสัญญา แต่มันไม่ได้ห้ามพิมพ์เงินขึ้นมาใหม่ และไม่ได้ห้ามว่าเงินต้องด้อยค่าลง
ความเสี่ยงที่สำคัญคือ เรื่องนี้กำลังจะเป็นการทดสอบว่า เงินสกุลหลักที่ใช้เป็นเงินสำรองทั่วโลก 3 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร เยน จะยังคงมีค่าในตัวมันเองอยู่หรือไม่
แต่ถ้ารัฐยังหาเงินมาจ่ายเงินบำนาญและประกันสุขภาพได้ไม่พอ ก็ต้องกลับไปย้อนดูทางออกที่ 1 และทางออกที่ 2 ซึ่งก็คือการดูว่า จะตัดสวัสดิการส่วนไหน และต้องเก็บภาษีมากขึ้นเท่าไหร่
ที่น่าสนใจคือ ไม่ว่าทางไหนมันก็จะกระทบทั้งคนรวยและคนจน
เช่น หากลดสวัสดิการก็ทำให้คนจนไม่พอใจ
แต่หากขึ้นภาษีก็จะทำให้คนรวยพากันย้ายไปอยู่ในที่อื่น
และในที่สุด ก็จะทำให้รัฐสูญเสียคนรวยที่เป็นผู้เสียภาษีรายใหญ่ของประเทศ
และก็มาถึงประเด็นข้อสุดท้าย..
ที่พูดมาทั้งหมด จริงๆ แล้ว เงินเป็นของฟรีก็เฉพาะสำหรับผู้ที่มีเครดิตเท่านั้น
ไม่ว่าโลกนี้จะมีเงินล้นมากเท่าไร
กลับเป็นของหายากสำหรับผู้ที่ไม่มีเงินและไม่มีเครดิต
เมื่อรวมกับช่องว่างในอนาคต ที่เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ
จนเครื่องจักรสามารถมาทำงานแทนมนุษย์ได้
กลับมาถามหัวใจสำคัญของ “ระบบทุนนิยม”
ระบบทุนนิยมเกิดขึ้นจากรากฐานความเชื่อว่า
ถ้านายทุนมีเงินเพื่อสร้างการผลิต
คนจน จะได้ประโยชน์เองจากตำแหน่งงานที่เพิ่มขึ้น
สุดท้ายภาพรวมจะดีขึ้นเอง
แต่มาวันนี้ ทฤษฎีนี้อาจใช้ไม่ได้อีกต่อไป
เพราะนายทุนเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องจ้างมนุษย์..
เรื่องทั้งหมดที่กล่าวมานี้อาจแสดงให้เห็นว่า
“ระบบทุนนิยม” แบบเดิมซึ่งเราเชื่อกันว่า
จะเป็นประโยชน์ต่อคนส่วนมากในที่สุด
อาจใช้ไม่ได้อีกต่อไป..
จากสิ่งที่เล่ามาทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงความไม่ยั่งยืนที่พร้อมจะแตกหัก
และมันไม่สามารถฝืนได้อีกต่อไป
เรื่องนี้จะเหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นตอนวิกฤตเศรษฐกิจปี 2008
ซึ่งโลกนี้กำลังดำเนินเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
ในไม่ช้า..
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
Reference
https://www.linkedin.com/…/world-has-gone-mad-system-broken…
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 หุ้นขึ้นสัญลักษณ์ L คืออะไร? เกี่ยวข้องกับคำสั่งประเภท GTC, GTD ... 的推薦與評價
Streaming ได้เพิ่มความสะดวกสบายให้นักลงทุน โดยจะมีสัญลักษณ์ L ขึ้นมาต่อท้ายชื่อหุ้นด้วยในวันแรกที่มี. CA L = Long Order Cancellation คือการ ... ... <看更多>
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 โครงสร้างผู้ถือหุ้น | PTT Public Company Limited (PTT) 的推薦與評價
รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์. ข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์. รายงานที่สำคัญประจำไตรมาส. งบ ... รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 อันดับแรกของ ปตท. ณ วันที่ 3 มีนาคม 2566. ลำดับ, ผู้ ... ... <看更多>
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือ 在 หุ้นสหกรณ์ vs. หุ้นตลาดหลักทรัพย์ ต่างกันอย่างไร - YouTube 的推薦與評價
หุ้น สหกรณ์ คือ อะไร หุ้นตลาดหลักทรัพย์คือ อะไร หุ้น สหกรณ์ vs. หุ้นตลาดหลักทรัพย์ ต่างกันอย่างไร วิธีการเลือกซื้อ หุ้น รายการ 'เงินทองของจริง' การเข้าสู่หน้าจอโทรทัศน์ครั้งแรกของ THE ... ... <看更多>