9 ภาษีที่คนทำธุรกิจต้องรู้จัก จ่ายครบ จบปัญหาภาระทางการเงิน!
.
เพราะภาษี เป็นเรื่องที่ปล่อยปละละเลยไม่ได้ โดยเฉพาะกับคนทำธุรกิจ แม้กิจการจะดำเนินไปได้ด้วยดี แต่วันหนึ่งอาจต้องสะดุด หากเลือกที่จะเลี่ยงไม่จ่าย หรือจ่ายไม่ครบ เพราะมันจะนำมาซึ่งการเรียกเก็บย้อนหลังแบบทวีคูณขึ้นไปหลายเท่า ในบางรายอาจถึงขั้นเป็นคดีความในชั้นศาลเลยทีเดียว โดยสำหรับผู้ประกอบการ คนทำธุรกิจมีภาษีที่ต้องรู้จักและต้องจ่ายถึง 9 ภาษี ดังต่อไปนี้
.
1.ภาษีเงินได้
เป็นภาษีที่เก็บจากเงินได้ สำหรับคนที่มีรายได้ตามกฎหมายกำหนด โดยคนทำธุรกิจจะ ต้องยื่นภาษี 2 ครั้งต่อปี คือ ภาษีครึ่งปี และภาษีเงินได้ประจำปี แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับการทำธุรกิจ ที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จะคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ คือ รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
- ภาษีเงินได้แบบนิติบุคคล จะคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษี
.
2.ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
คือ เมื่อมีการจ่ายเงินเกิดขึ้น ผู้จ่ายเงิน ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือนิติบุคคล ต้อง “หัก” เงินจำนวนหนึ่งไว้เพื่อนำส่งภาษีให้รัฐแทนผู้รับเงิน เพื่อลดภาระภาษีตอนปลายปีของผู้มีเงินได้ เนื่องจากจะเป็นการทยอยเสียภาษีทีละนิด แทนการเสียภาษีด้วยเงินก้อนใหญ่
ถ้าคุณเป็นผู้จ่ายเงินก็จะมีหน้าที่หักภาษีและนำส่งสรรพากร แต่ถ้าเป็นผู้รับเงิน คุณจะโดนหักภาษี ณ ที่จ่ายเช่นกัน
.
3.ภาษีธุรกิจเฉพาะ
เป็นภาษีทั่วไปเรียกเก็บกับธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเงิน การธนาคาร โรงรับจำนำ และประกันชีวิต ตลอดจนการขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นการค้าหรือการหากำไร รวมถึงการให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน และรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่างๆ
.
4.ภาษีอากรแสตมป์
ภาษีที่มาในรูปแบบของดวงแสตมป์ใช้สำหรับปิดบนเอกสารราชการ หรือหนังสือสัญญา เช่น สัญญาการเช่าโรงเรือน สัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ และการกู้ยืมเงิน เป็นต้น โดยผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษี คือ ผู้ให้เช่าหรือผู้ให้กู้ ชำระเป็นอากรที่ซื้อได้จากกรมสรรพากร หรือเป็นเงินสดในตราสารบางประเภท
.
5.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ภาษีที่เรียกเก็บจากสิ่งปลูกสร้าง เช่น บ้าน อาคาร ตึกแถว ร้านค้า สำนักงาน และโรงแรมเป็นต้น ซึ่งจะถูกเรียกเก็บในกรณีที่เจ้าของให้เช่าทรัพย์สินหรือให้คนเข้ามาอยู่อาศัย รวมถึงใช้อสังหาริมทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน ตึกแถว หรือคอนโด เป็นสถานประกอบการเชิงพาณิชย์ โดยชำระภาษีที่สำนักเขต หรือที่ว่าการอำเภอที่ตั้งอยู่ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
.
6.ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT ภาษีที่เก็บเพิ่มจากการขายสินค้าหรือบริการที่คิดกับลูกค้า โดยต้องมีรายได้เกินปีละ 1.8 ล้านบาท และต้องทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มไปในค่าสินค้าหรือบริการ 7% จากนั้นนำส่งให้สรรพากรภายในเวลาที่กำหนด
.
7.ภาษีสรรพสามิต
ภาษีที่ถูกเรียกเก็บจากสินค้าที่ผลิต หรือถูกนำเข้า ตลอดจนการบริการทางธุรกิจตามที่กฎหมายกำหนด เช่น ภาษีน้ำมัน เชื้อเพลิงต่างๆ น้ำหอม รถยนต์ยานพาหนะ บุหรี่ เหล้า เป็นต้น
.
8.ภาษีบำรุงท้องที่
ภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ไม่อยู่ในข่ายที่ได้รับการยกเว้นภาษี เช่น อาคารพาณิชย์ ที่รกร้าง โดยผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องนำเงินมาชำระค่าภาษีในเดือนเมษายนของทุกปี ตามอัตราที่แต่ละท้องที่กำหนด
.
9.ภาษีป้าย
ภาษีที่ต้องเสียเมื่อทำการติดตั้งป้ายตามที่กฎหมายกำหนด เช่น ป้ายไฟ ป้ายผ้าใบ ป้ายบิลบอร์ด รวมถึงป้ายที่ใช้โฆษณาเพื่อหารายได้ ซึ่งคิดราคาตามขนาดของป้าย เริ่มต้นที่ 200 บาท ต้องยื่นที่สำนักงานเขต หรืออำเภอที่ตั้ง ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
.
จากทั้ง 9 ข้อที่กล่าวมา ล้วนแล้วแต่เป็นภาษีที่ผู้ประกอบการและเจ้าของธุรกิจต้องจ่าย เพื่อให้การดำเนินธุรกิจผ่านไปได้ด้วยดี จึงจำเป็นต้องรู้และศึกษาให้เข้าใจก่อน เพราะสิ่งสำคัญในการทำธุรกิจที่ดี คือ การจ่ายภาษีต่าง ๆ ที่กฎหมายกำหนดอย่างถูกต้อง ซึ่งไม่ว่าคุณต้องจ่ายภาษีเพียง 2 ตัว หรืออาจจะทั้งหมด ก็ควรทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย จ่ายให้ครบ จะได้จบทุกปัญหา ไม่เป็นภาระทางการเงินของธุรกิจในอนาคตอีกต่อไป!
.
ที่มา : https://www.prosoft.co.th/Article/Detail/124819
https://smemove.com/.../9-%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0.../
#อายุน้อยร้อยล้านNEWS
#อายุน้อยร้อยล้าน #ryounoi100lan
#ภาษี #ภาษีธุรกิจ #ผู้ประกอบการ
「อาคารพาณิชย์ คือ」的推薦目錄:
- 關於อาคารพาณิชย์ คือ 在 อายุน้อยร้อยล้าน Facebook 的最讚貼文
- 關於อาคารพาณิชย์ คือ 在 อายุน้อยร้อยล้าน Facebook 的最佳解答
- 關於อาคารพาณิชย์ คือ 在 KIM Property Live Facebook 的最佳解答
- 關於อาคารพาณิชย์ คือ 在 สถาปนิก บ้าน บ้าน - “ตึกแถว” ที่แตกต่าง . ลักษณะและประเภทอาคาร ... 的評價
- 關於อาคารพาณิชย์ คือ 在 รีวิว อาคารพาณิชย์ 2 ชั้น เหมาะทำธุรกิจ | โครงการศิวาลัย บางสมัคร 的評價
อาคารพาณิชย์ คือ 在 อายุน้อยร้อยล้าน Facebook 的最佳解答
มาทำความรู้จักกับ 9 ภาษี ที่คนทำธุรกิจต้องจ่าย
.
การเป็นเจ้าของกิจการหรือธุรกิจสักหนึ่งอย่าง มักมีเรื่องให้ต้องจัดการและเป็นกังวลแบบรอบด้านตั้งแต่วันแรกที่เริ่มต้นทำธุรกิจ ซึ่งหนึ่งอย่างที่คนเป็นเจ้าของธุรกิจไม่ว่าจะหน้าเก่าหรือหน้าใหม่ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ แต่กลับไม่ค่อยให้ความสำคัญและพยายามหนีจนถึงที่สุดด้วยซ้ำ คือ “การจ่ายภาษี”
.
ซึ่งภาษีนั้น ก็ไม่ได้มีเพียง 1-2 เท่านั้น เพราะสำหรับคนทำธุรกิจ มีถึง 9 ภาษีที่จำเป็นต้องจ่ายและทำความรู้จักให้ดี หากใครที่ยังไม่รู้จักต้องรีบศึกษา หรือถ้าใครที่รู้แล้ว ก็มาย้ำความจำกันอีกสักรอบ เพื่อไม่ให้การทำธุรกิจเกิดปัญหาน่าปวดหัวในภายหลัง
.
1.ภาษีเงินได้
เป็นภาษีที่เก็บจากเงินได้ สำหรับคนที่มีรายได้ตามกฎหมายกำหนด โดยคนทำธุรกิจจะ ต้องยื่นภาษี 2 ครั้งต่อปี คือ ภาษีครึ่งปี และภาษีเงินได้ประจำปี แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับการทำธุรกิจ ที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จะคำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ คือ รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
- ภาษีเงินได้แบบนิติบุคคล จะคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษี
.
2.ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
คือ เมื่อมีการจ่ายเงินเกิดขึ้น ผู้จ่ายเงิน ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือนิติบุคคล ต้อง “หัก” เงินจำนวนหนึ่งไว้เพื่อนำส่งภาษีให้รัฐแทนผู้รับเงิน เพื่อลดภาระภาษีตอนปลายปีของผู้มีเงินได้ เนื่องจากจะเป็นการทยอยเสียภาษีทีละนิด แทนการเสียภาษีด้วยเงินก้อนใหญ่
ถ้าคุณเป็นผู้จ่ายเงินก็จะมีหน้าที่หักภาษีและนำส่งสรรพากร แต่ถ้าเป็นผู้รับเงิน คุณจะโดนหักภาษี ณ ที่จ่ายเช่นกัน
.
3.ภาษีธุรกิจเฉพาะ
เป็นภาษีทั่วไปเรียกเก็บกับธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเงิน การธนาคาร โรงรับจำนำ และประกันชีวิต ตลอดจนการขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นการค้าหรือการหากำไร รวมถึงการให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน และรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่างๆ
.
4.ภาษีอากรแสตมป์
ภาษีที่มาในรูปแบบของดวงแสตมป์ใช้สำหรับปิดบนเอกสารราชการ หรือหนังสือสัญญา เช่น สัญญาการเช่าโรงเรือน สัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ และการกู้ยืมเงิน เป็นต้น โดยผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษี คือ ผู้ให้เช่าหรือผู้ให้กู้ ชำระเป็นอากรที่ซื้อได้จากกรมสรรพากร หรือเป็นเงินสดในตราสารบางประเภท
.
5.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ภาษีที่เรียกเก็บจากสิ่งปลูกสร้าง เช่น บ้าน อาคาร ตึกแถว ร้านค้า สำนักงาน และโรงแรมเป็นต้น ซึ่งจะถูกเรียกเก็บในกรณีที่เจ้าของให้เช่าทรัพย์สินหรือให้คนเข้ามาอยู่อาศัย รวมถึงใช้อสังหาริมทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน ตึกแถว หรือคอนโด เป็นสถานประกอบการเชิงพาณิชย์ โดยชำระภาษีที่สำนักเขต หรือที่ว่าการอำเภอที่ตั้งอยู่ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
.
6.ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT ภาษีที่เก็บเพิ่มจากการขายสินค้าหรือบริการที่คิดกับลูกค้า โดยต้องมีรายได้เกินปีละ 1.8 ล้านบาท และต้องทำการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มไปในค่าสินค้าหรือบริการ 7% จากนั้นนำส่งให้สรรพากรภายในเวลาที่กำหนด
.
7.ภาษีสรรพสามิต
ภาษีที่ถูกเรียกเก็บจากสินค้าที่ผลิต หรือถูกนำเข้า ตลอดจนการบริการทางธุรกิจตามที่กฎหมายกำหนด เช่น ภาษีน้ำมัน เชื้อเพลิงต่างๆ น้ำหอม รถยนต์ยานพาหนะ บุหรี่ เหล้า เป็นต้น
.
8.ภาษีบำรุงท้องที่
ภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ไม่อยู่ในข่ายที่ได้รับการยกเว้นภาษี เช่น อาคารพาณิชย์ ที่รกร้าง โดยผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องนำเงินมาชำระค่าภาษีในเดือนเมษายนของทุกปี ตามอัตราที่แต่ละท้องที่กำหนด
.
9.ภาษีป้าย
ภาษีที่ต้องเสียเมื่อทำการติดตั้งป้ายตามที่กฎหมายกำหนด เช่น ป้ายไฟ ป้ายผ้าใบ ป้ายบิลบอร์ด รวมถึงป้ายที่ใช้โฆษณาเพื่อหารายได้ ซึ่งคิดราคาตามขนาดของป้าย เริ่มต้นที่ 200 บาท ต้องยื่นที่สำนักงานเขต หรืออำเภอที่ตั้ง ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
.
จากทั้ง 9 ข้อที่กล่าวมา ล้วนแล้วแต่เป็นภาษีที่ผู้ประกอบการและเจ้าของธุรกิจต้องจ่าย เพื่อให้การดำเนินธุรกิจผ่านไปได้ด้วยดี จึงจำเป็นต้องรู้และศึกษาให้เข้าใจก่อน เพราะสิ่งสำคัญในการทำธุรกิจที่ดี คือ การจ่ายภาษีต่าง ๆ ที่กฎหมายกำหนดอย่างถูกต้อง ซึ่งไม่ว่าคุณต้องจ่ายภาษีเพียง 2 ตัว หรืออาจจะทั้งหมด ก็ควรทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา ความวุ่นวาย หรือเป็นภาระด้านบัญชี รวมถึงการบริหารจัดการเงินของธุรกิจ
.
ที่มา : https://www.prosoft.co.th/Article/Detail/124819
https://smemove.com/blog/9-%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3/
#อายุน้อยร้อยล้านNEWS
#อายุน้อยร้อยล้าน #ryounoi100lan
#ภาษี #ภาษีธุรกิจ #ผู้ประกอบการ #Business
อาคารพาณิชย์ คือ 在 KIM Property Live Facebook 的最佳解答
Renovate ตึกเเถว เป็นห้องพัก ตอน 3
จากตอนที่เเล้ว ผมซื้อตึกเเถวมา 2 ห้อง วางเเผนว่าจะซอยทำเป็นห้องพักครับ...
สิ่งที่น่าหนักใจในการทำห้องพัก ในอาคารพาณิชย์ คือ ห้องน้ำ
อย่างที่รู้ อาคารพาณิชย์ ห้องน้ำน้อยมากๆ
ถ้าทำห้องพักเยอะๆ ยังไงก็ไม่พอเเน่นอน
เเต่ถ้าจะทำห้องน้ำในเเต่ละห้องมันก็ จะต้องทุบเยอะ ค่าใช้จ่ายเเพง เเละ อาคารจะเสียรูปไปมาก ทำให้เวลาจะขายต่อ ทำได้ยาก
เราก็เลยคิดวิธีเเก้เเบบนี้ครับ
ห้องน้ำยังไงก็ต้องทำ เเต่เราจะทำเเยกจากตัวห้อง
เพื่อให้ ห้องน้ำอยู่ติดกัน เเบบนี้จะทำให้การก่อสร้างทำได้ง่าย ไม่เปลืองพื้นที่ เเละ ที่สำคัญอาคารไม่ซ้ำ ขายต่อง่ายกว่า
ผมก็เลย ทำห้องน้ำเพิ่ม ชั้นละ 2 ห้อง โดยทุบห้องน้ำเดิมนั่นเเหล่ะ
เพราะ ห้องเดิมค่อนข้างใหญ่ พอดัดเเปลงทำ 2 ห้อง ก็ไม่เล็กจนน่าเกลียดครับ
เเละ ไม่ลืมที่จะทำ ช่องเเสง ทำหน้าต่าง ระบายอากาศด้วย
เเสงแดด กับ อากาศที่ถ่ายเท ช่วยได้เยอะจริงๆ
ใครชอบ ก็เอาไปเป็นไอเดียดูนะครับ
สุดท้าย ขายของนิดนึง
คอร์สอสังหาให้เช่า รอบสด ยังว่างอยู่นะครับ
ดูรายละเอียดที่นี่ https://goo.gl/fm1s47
อาคารพาณิชย์ คือ 在 รีวิว อาคารพาณิชย์ 2 ชั้น เหมาะทำธุรกิจ | โครงการศิวาลัย บางสมัคร 的推薦與評價
แตกต่างจากที่อื่น !! อาคารพาณิชย์ 2 ชั้น ใกล้ถนนบางนาตราดอยู่สบาย #เหมาะทำธุรกิจ .✓หน้ากว้าง 5 เมตร✓2 ห้องขนาดใหญ่✓3 ... ... <看更多>
อาคารพาณิชย์ คือ 在 สถาปนิก บ้าน บ้าน - “ตึกแถว” ที่แตกต่าง . ลักษณะและประเภทอาคาร ... 的推薦與評價
. ตึกแถว คือ อาคารที่ก่อสร้างต่อเนื่องกันเป็นแนวยาวตั้งแต่ ... ... <看更多>