菩莘寺。市場寺
กาดลี วัดพระเชียง วัดพระสิงห์
再一個月潑水節就要來到,重頭戲的浴佛就會想起菩莘寺(帕邢寺 วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร)。先前在講座中有提到原本菩莘寺是古城中央的重要買賣市場,但忘了當時有沒有再說更多佛寺舊名演變的小故事。
現今菩莘寺前區域,原本是古城中心的市場,稱為 กาดลี Kad li,泰北話 กาด、ลี,都是指 ตลาด「市場」,在獅佛安座前的佛寺稱為 วัดพระเชียง*,也就是指城裡的佛寺。但因為有市場在前方,在地人也習慣將市場名冠上,稱其為 วัดลีเชียงพระ,也就是城中市場佛寺。
因為市場與佛寺位置就在古城中,不僅是城內外買賣交易中心、市民們會面和訊息交換站,也是聯外道路南來北往的必經之處。例如,過往從西雙版納的景洪 เชียงรุ้ง,往緬甸景棟 เชียงตุง、南下到清萊 เชียงราย、接著進清邁 เชียงใหม่,商販沿途採買交易,當時中國雲南的絲綢布匹,大抵也是從這條陸路進到藍納。
買賣除了外國商品進出口,各地貨幣流通也同時出現。當時藍納已使用自鑄貨幣 เงินท้อก,以銀為素材,製成圓形、中間空心拱起、底部收邊,而藍納各地各有其樣式。清邁有製成如貝殼外型的 เงินหอย、做成像螃蟹鑽沙地挖出的小土丘狀 เงินขวยปู;南邦有馬蹄形的 เงินท้อกวงตีนม้า 等,都在市場交易中使用。此外,雲南的銀錠 เงินไซซี、緬甸花型紋路的銀幣 เงินดอกไม้พม่า,以及後來受緬甸統治時期,因為英國商人進出印度、緬甸和泰北,印度的盧比也開始在市場流通。
話說今年潑水節會照辦,但官方要民眾在浴佛潑水的同時帶好口罩、維持防疫安全社交距離。泰國朋友說,嗯哼,這該要怎麼規範才叫做安全距離,水一潑,誰知道裡面有什麼。但時間尚早,規定還會有變化,靜候時間將近再議。
【參考資料】
菩莘寺老照片這邊請:
https://www.facebook.com/cm.3museum/posts/3849448475123109
泰國銀行網站
https://www.bot.or.th/Thai/MuseumAndLearningCenter/BOTMuseum/Northern/Pages/T-Lannacoin.aspx
ChiangMai News https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/676666/
*圖片拍攝於 2015 年潑水節。
*เชียง 是指城市。
同時也有27部Youtube影片,追蹤數超過42萬的網紅ชาญชัย กินให้อ้วนรวย,也在其Youtube影片中提到,น้องหอมแก้วเชียงตุง Keng Tung the most delicious Shan Traditional Pizza แม้จะมีชื่อเรียกเดียวกัน หรือหน้าตาละม้ายคล้ายกันขนาดไหน แต่อาหารหลายชนิดก็กล...
「เชียงตุง เชียงใหม่」的推薦目錄:
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 女子@清邁—ในเชียงใหม่ Facebook 的精選貼文
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 Atichart Chumnanont Facebook 的最讚貼文
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 Hotsia Facebook 的精選貼文
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 ชาญชัย กินให้อ้วนรวย Youtube 的最讚貼文
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 ชาญชัย กินให้อ้วนรวย Youtube 的最佳貼文
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 Ffh Lek Molee Youtube 的精選貼文
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 เที่ยวเชียงตุงกับสาวเชียงใหม่ EP.1 เดินทางเข้าสู่รัฐฉานครั้งใหม่กับ ... 的評價
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 สาวเชียงตุงเยือนถิ่นล้านนา #1 ต้อนรับสาวไตคนงามจากรัฐฉานมา ... 的評價
- 關於เชียงตุง เชียงใหม่ 在 ล้านนาประเทศ - ตำนานเมือง 5 เชียง อดีตดินแดนภาคเหนือของ ... 的評價
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 Atichart Chumnanont Facebook 的最讚貼文
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ความทรงจำ คือ สิ่งที่ชนชาติต้องเรียนรู้ ว่าเรามีที่มาอย่างไร ใครเสียลสละให้เราได้มีเลือดมีเนื้อ มีวัฒนธรรมของตัวเองในทุกวันนี้ แต่ละประเทศมีที่มา แตกต่างกัน มีประวัติศาสตร์ไม่เหมือนกัน เราไม่จำเป็นต้องเหมือนใคร เพราะเรามีเอกลักษณ์ในแบบของเรา
วันนี้เมื่อ ๒๕๒ ปีที่แล้ว การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒
ราชธานีที่รุ่งเรืองกว่า ๔๑๗ ปี ถึงกาลสิ้นสุดลง เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๓๑๐
หลังจากพระราชโอรสองค์แรก คือ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรฯ ผู้ต้องพระราชอาญาสิ้นพระชนม์ไปแล้ว คราวต้องเวนราชสมบัติ สมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ไม่โปรดพระราชโอรสองค์ที่ ๒ คือ เจ้าฟ้าเอกทัศ จึงทรงข้ามไปพระราชทานพระราชบัลลังก์ให้พระราชโอรสองค์ที่ ๓ คือ เจ้าฟ้าอุทุมพร ผู้มีพระปรีชาสามารถมากกว่าแทน
ครั้นสิ้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เจ้าฟ้าอุทุมพรก็ราชาภิเษกเป็นสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร เสวยราชย์ได้ไม่ถึง ๓ เดือน เจ้าฟ้าเอกทัศก็ตั้งพระองค์เองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์อีกพระองค์หนึ่ง ส่วนสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรนั้นทรงตัดสินพระทัยเลี่ยงไปผนวชเสียด้วยเหตุผลส่วนพระองค์ เจ้าฟ้าเอกทัศจึงได้ราชสมบัติเป็นสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ พระองค์สุดท้ายแห่งกรุงศรีอยุธยา
นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๐๑ สืบมา อันเป็นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศนั้น ได้มีหลักฐานบรรยายสภาพบ้านเมืองในช่วงเวลานั้นอยู่หลายมุมมอง หลักฐานฝ่ายไทยสมัยหลังส่วนใหญ่อธิบายไว้ทำนองว่า ในรัชกาลนี้ ข้าราชการระส่ำระสาย บางคนลาออกจากราชการ และมีบาทหลวงฝรั่งเศสเขียนจดหมายเหตุว่า ในยามนั้น
“...บ้านเมืองแปรปรวน เพราะฝ่ายในได้มีอำนาจเท่ากับพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มีความผิดฐานกบฏ ฆ่าคนตาย เอาไฟเผาบ้านเรือน จะต้องได้รับโทษถึงประหารชีวิต แต่ความโลภของฝ่ายในให้เปลี่ยนเป็นริบทรัพย์สิน ริบได้ก็ตกเป็นของฝ่ายในทั้งสิ้น พวกข้าราชการเห็นความโลภของฝ่ายใน ก็แสวงหาผลประโยชน์กับผู้ต้องหาคดีให้ได้มากที่สุดที่จะหาได้ จะได้แบ่งเอาบ้าง ความเดือดร้อนลำเค็ญก็ยิ่งทับถมราษฎรมากขึ้น...” เป็นต้น
ขณะที่หลักฐานอีกฝ่ายหนึ่งมีว่าไว้ถึงพระราชกิจของพระเจ้าเอกทัศที่ถูกมองข้าม และมิได้มองว่า พระเจ้าเอกทัศทรงมีความประพฤติย่ำแย่เช่นนั้นเลย แต่ว่า พระองค์ “ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา บ้านเมืองสงบ การค้าขายเจริญ ทรงบริจาคทรัพย์ให้แก่คนยากจนจำนวนมาก” เป็นต้น
ก่อนหน้านี้ อาณาจักรอยุธยาว่างเว้นการศึกกับพม่ามานานกว่า ๑๕๐ ปีแล้ว และใน พ.ศ. ๒๓๐๓ พระเจ้าอลองพญา กรีฑาทัพมาชิงเอากรุงศรีอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หมายจะกำกัดอิทธิพลจากอยุธยา และทรงเห็นว่า อาณาจักรอยุธยามีความอ่อนแอ นับเป็นโอกาสอันดี ทว่ากองทัพพม่าก็มิอาจเอาชัยเหนือกรุงศรีอยุธยาได้ในครานั้น เพราะพระเจ้าอลองพญาสวรรคตกลางคัน กองทัพพม่าจึงต้องยกกลับไปเสียก่อน
ฝ่ายอยุธยาได้โอกาสจึงทูตไปยั่วยุให้เมืองประเทศราชของพม่าแข็งเมือง พระเจ้ามังระ จึงมีบัญชาให้เนเมียวสีหบดี และมังมหานรธา ไปปราบเมืองประเทศราชที่แข็งเมืองให้ราบสิ้น
ทัพเนเมียวสีหบดี เข้าตีในแคว้นล้านช้าง เชียงตุง เชียงใหม่ ๆด้รับชัยชนะ ได้กำลังพลจำนวน ๒๐,๐๐๐ คน ทัพมังมหานรธา เข้าตีที่ทวาย ทัพพระเจ้ามังระ เข้าตีที่เมืองมณีปุระ และยกทัพไปรวมกับทัพมังมหานรธา รวมกันได้กำลังพลจำนวน ๓๐,๐๐๐ คน แล้วจึงประกาศสงครามกับกรุงศรีอยุธยา เพราะต้องการทำลายอิทธิอยุธยาให้หมดไป
โดยพระเจ้ามังระ ประกาศว่า “...หัวเมืองใดยอมเข้าเป็นพวกแต่โดยดี ส่งคน ส่งเสบียงมา จะเว้นไว้ แต่หากหัวเมืองใดขัดขืน จะเผาให้สิ้น...”
ฝ่ายอยุธยาทราบข้าว พระเจ้าเอกทัศน์ ระดมทหารได้ ๖๐,๐๐๐ คน โดยวางกำลังไว้ที่ กาญจนบุรี สุโขทัย พิษณุโลก และเตรียมกองทัพไว้ตั้งรับที่กรุงศรีอยุธยา
ฝ่ายพม่าเปิดฉากโจมตี ทัพเนเมียวสีหบดี เริ่มตีจากเมืองลำปาง ตาก กำแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก จนถึงกรุงศรีอยุธยา
ทัพมังมหานรธา แบ่งการโจมตีออกเป็น ๓ ทาง
ทางที่ ๑ เมาะตะมะ สุพรรณบุรี
ทางที่ ๒ มะริด ตะนาวศรี ชุมพร เพชรบุรี นนทบุรี ศรีอยุธยา
ทางที่ ๓ ทวาย กาญจนบุรี
และทั้ง ๓ ทัพมารวมกันที่กรุงศรีอยุธยา โดยมีการต้านทานที่เล็กน้อย เพราะหัวเมืองต่าง ๆ เกรงกลัวกองทัพของพม่า พระเจ้าเอกทัศน์ จึงให้สร้างค่ายล้อมเมืองขึ้น ๘ แห่ง
พระเจ้าเอกทัศโปรดให้รวบรวมประชาชนและเสบียงเข้ามาไว้ในพระนคร และเตรียมการป้องกันไว้อย่างแน่นหนา โดยรอคอยฤดูน้ำหลากและอาศัยยุทธวิธีคอยตีซ้ำเมื่อกองทัพพม่าถอนกำลังออกไป อย่างไรก็ตาม ฝ่ายอยุธยาก็มิได้ตั้งรับอยู่ในพระนครแต่เพียงฝ่ายเดียว ยังส่งกำลังออกไปโจมตีค่ายเนเมียวสีหบดีและค่ายมังมหานรธาอยู่หลายครั้ง ส่วนทางด้านกองทัพพม่ากระจายกำลังออกล้อมกรุงเอาไว้ทุกด้าน พยายามเข้าประชิดกำแพงพระนครหลายครั้งก็ไม่ประสบผล จึงยังมีราษฎรหลบหนีภัยพม่าเข้ามาอาศัยอยู่ในกรุงอยู่เสมอ สำหรับเสบียงอาหารในกรุงก็ยังคงบริบูรณ์ดีอยู่ ดังปรากฏในจดหมายเหตุของบาทหลวงฝรั่งเศสว่า “...เมื่อพม่าเข้าตั้งประชิดพระนครและล้อมกรุงอย่างกวดขันขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๐๙ นั้น เสบียงอาหารในกรุงก็ยังบริบูรณ์ดี มีแต่ขอทานเท่านั้นที่อดตาย...”
ในวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๓๐๙ พม่าได้รุกคืบไปอยู่ใกล้กำแพงเมืองสร้างค่าย ๒๗ ค่ายล้อมกรุงศรีอยุธยา
จนถึงวันที่ ๗ เมษายน ๒๓๑๐ เวลาประมาณบ่ายสามโมง พม่าจุดไฟสุมรากกำแพงเมืองตรงหัวรอที่ริมป้อมมหาชัย และยิงปืนใหญ่ระดมเข้าไปในพระนคร จากบรรดาค่ายที่รายล้อมทุกค่าย พอเพลาพลบค่ำกำแพงเมืองตรงที่เอาไฟสุมทรุดลง เวลา ๒ ทุ่ม แม่ทัพพม่ายิงปืนเป็นสัญญาณให้ทหารเข้าพระนครพร้อมกันทุกด้าน พม่าเอาบันไดปีนพาดเข้ามาได้ตรงที่กำแพงทรุดนั้นก่อน ทหารอยุธยาที่รักษาหน้าที่เหลือกำลังจะต่อสู้ พม่าก็สามารถเข้าพระนครได้ในเวลาค่ำวันนั้นทุกทาง
หนังสือพระราชพงศาวดาร ฉบับกรมศึกษาธิการ ร.ศ. ๑๒๐ ว่า พม่าหักเข้ากรุงได้แล้ว ก็เริ่มเผาเมืองทั้งเมืองใน "เพลาเที่ยงคืน ประมาณสองยามเศษ" เพลิงไหม้ไม่เลือกตั้งแต่เหย้าเรือนราษฎรไปจนถึงปราสาทราชมนเทียร เพลิงผลาญพระนครเป็นเวลาถึงสิบห้าวัน โดยหนังสือพระราชพงศาวดารฯ ดังกล่าว บันทึกว่า “...เพลาเที่ยงคืน ประมาณสองยามเศษ เพลิงเกิดในกรุงเทพมหานคร ไหม้แต่ท่าทราย ตลอดถนนหลวง ไปจนถึงวัดฉัททันต์ แสงเพลิงรุ่งโรจน์โชตนาการ ครั้นได้ทัศนาการเห็นก็สังเวชสลดใจ...”
นอกจากการล้างผลาญบ้านเรือนแล้ว ทัพพม่ายังปล้นชิงทรัพย์สินในพระนคร บังคับราษฎรทั้งภิกษุทั้งฆราวาสให้แจ้งที่อยู่ทรัพย์สิน ผู้ขัดขืนต้องเผชิญโทษทัณฑ์ต่าง ๆ แล้วให้จับผู้คน รวมถึงพระราชวงศ์ ข้าราชการ สมณะ ไปคุมขังไว้ โดยพระสงฆ์ให้กักไว้ที่ค่ายโพธิ์สามต้น ส่วนฆราวาสให้ไว้ตามค่ายของแม่ทัพนายกองทั้งหลาย คำนวณแล้ว ปรากฏว่า เชื้อพระวงศ์ถูกกวาดต้อนไปกว่า ๒,๐๐๐ พระองค์ รวมจำนวนผู้ถูกพม่ากวาดต้อนไปนั้นมากกว่า ๓๐,๐๐๐ คน
ในจำนวนเชลยนี้มีสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรรวมอยู่ด้วย พระองค์ได้เป็นผู้ให้ปากคำเรื่องประวัติศาสตร์อยุธยาแก่พม่า ซึ่งได้ชื่อว่า "คำให้การขุนหลวงหาวัด" นอกจากพระเจ้าอุทุมพรแล้ว ยังมีนายขนมต้ม เชลยไทยที่สร้างชื่อเสียงในทางหมัดมวยในเวลาต่อมา
เผาทำลายพระนครแล้ว ทัพพม่าได้พำนักอยู่ ณ ที่นั้นจนถึงวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๑๐ ก่อนยกกลับประเทศตน โดยประมวลเอาทรัพย์สินและเชลยศึกไปด้วย เนเมียวสีหบดีได้แต่งตั้งให้สุกี้เป็นนายทัพ คุมพล ๓,๐๐๐ คน รั้งทัพอยู่ที่ค่ายโพธิ์สามต้น คอยกวาดต้อนผู้คนและทรัพย์สินตามกลับไปภายหลัง อย่างไรก็ดี หลักฐานพม่ากล่าวตรงกันข้ามกับหลักฐานไทย คือ ทหารพม่ามิได้ฆ่าฟันผู้คนมากมาย เพียงแต่เผาเมือง ริบสมบัติ และจับพระเจ้าแผ่นดิน ข้าราชสำนัก และพลเมืองกลับไปด้วยเท่านั้น
ภาพนี้เป็นจิตรกรรมฝาผนังจัดแสดงภายในอาคารภาพปริทัศน์ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 Hotsia Facebook 的精選貼文
การเดินทางยังมีมีต่อไป สำรวจเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ดูการกิน การนอน วัฒนธรรมต่างๆ ของทุกจังหวัดใน AEC ช่วงนี้ถึงเมษา 59 ขอกินเที่ยวหมู่บ้านชาวเขา ชนเผ่า และเพ่ือนบ้านใกล้ๆก่อนครับ ส่วนทริปยาวๆ เจอกัน พ.ค. 59 ขอเก็บเงินเดินทางก่อนครับ
สำหรับทริปต่างๆ ที่ผมไปเดินทางมาติดตามได้ปกติที่ www.youtube.com/mrhotsia ทั้งเมืองยอง เชียงตุง พม่า กินเที่ยวตลาดน้ำ ไปเที่ยวชนเผ่าต่างๆ ครับ
ขอขอบคุณที่ติดตามชม ช่วงนี้ไม่ได้เข้ามาใช้ Facebook เพราะเอาเวลาไปพัฒนางานด้านอื่นๆ เพื่อให้มีเงินพอเที่ยวตามเป้าหมายที่วางใว้ "เที่ยวสะใจ ครบทุกจังหวัด ทุกประเทศใน AEC" ขออนุญาติไม่ได้ตอบข้อความต่างๆ ใน Facebook ครับ หากมีสิ่งหนึ่งสิ่งไดแนะนำ ติดต่อได้ผ่านข้อมูลทางหน้าเว็บ www.hotsia.com ครับ
ช่วงนี้หน้าหนาวรักษาสุขภาพกันด้วย สำหรับคนวางแผนเที่ยว และต้องการสนับสนุนการเดินทางให้ mr.hotsia สามารถเลือกจองโรงแรมลดราคาที่ผมรวบรวมใว้ให้ในหน้าเดียว ทั้งในเชียงราย เชียงใหม่ และเมืองท่องเที่ยวทั้งหมด คลิกเลือกก่อนได้ที่ http://hotel.hotsia.com/
mr.hotsia เที่ยวสะใจ
23 ธันวาคม 2558 : 7:04 น.
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 ชาญชัย กินให้อ้วนรวย Youtube 的最讚貼文
น้องหอมแก้วเชียงตุง Keng Tung the most delicious Shan Traditional Pizza
แม้จะมีชื่อเรียกเดียวกัน หรือหน้าตาละม้ายคล้ายกันขนาดไหน แต่อาหารหลายชนิดก็กลับมีรายละเอียดและรสชาติต่างกันจนทำให้เราแปลกใจ หนึ่งในนั้นคือ ‘ข้าวซอย’ ที่นอกจากจะแบ่งรสชาติกว้างๆ ออกได้เป็นข้าวซอยอิสลามน้ำซุปใส หอมเครื่องเทศ และข้าวซอยตำรับล้านนารสกลมกล่อมด้วยกะทิและพริกแกงอุดมสมุนไพร โลกนี้ยังมีอีกหนึ่งข้าวซอยที่ทำให้เราต้องทวนคำกับแม่ครัวหลายครั้งว่าฟังไม่ผิดใช่หรือไม่ จานนั้นคือ ‘ข้าวซอยน้อย’ ของชาว ‘ไทใหญ่’
ชาวไทลื้อ หรือกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่นั้นเดิมมีถิ่นฐานอยู่บริเวณตอนใต้ของประเทศจีน ก่อนอพยพย้ายถิ่นมากระจายตัวอยู่บริเวณภาคเหนือของไทย ไล่ลงมาตั้งแต่สิบสองปันนา แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ และพะเยา ซึ่งโดยพื้นฐานแล้วแนวอยู่แนวกินของชาวไทใหญ่นั้นคล้ายกับคนพื้นถิ่นล้านนาโดยทั่วไป มีวัตถุดิบพื้นฐานเป็นผักและเนื้อสัตว์ที่หาได้ในชุมชน หมุนเวียนเปลี่ยนไปตามฤดูกาล และมีเครื่องปรุงรสหลักเพียงเกลือและพริก ทว่าสิ่งที่ทำให้รสชาติอาหารของชาวไทใหญ่นั้นโดดเด่นไม่เหมือนใคร คือกลิ่นอายของอาหารจีนที่ผสมใส่อยู่ในบรรดาเมนูอร่อยมากมาย รวมถึงใน ‘ข้าวซอยน้อย’ ที่เราอยากชิมรสชาติแบบต้นตำรับอย่างที่ชาวไทใหญ่รุ่นคุณปู่คุณย่ากินกันเมื่อกว่าร้อยปีก่อน!
กดติดตาม กดกระดิ่ง กดไลค์ กดแชร์
คอมเม้นพูดคุย กันด้วยนะคครับ ขอบคุณครับ
ยูทูป : กดติดตาม กดกระดิ่ง
https://www.youtube.com/charnchainet
แฟนเพจ : กดติดตาม กดเห็นโพสก่อน
https://www.facebook.com/eatfatdead
เฟสบุ๊ค : กดติดตาม กดติดดาว
https://www.facebook.com/charnchai57
ติดต่องานได้ที่..
อีเมล : [email protected]
ไลน์ : charnchai57
โทร : 0991575259
ฝากทุกๆท่าน ที่เข้ามาชมคลิป กินให้อ้วนตาย: กดติดตาม กดกระดิ่ง กดไลค์ กดแชร์
ขอบคุณทุกๆท่านที่เข้ามาชมคลิปครับ
กดติดตาม ติดต่อกินให้อ้วนตาย ได้ทางเฟสบุ๊ค
http://www.facebook.com/charnchai57
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 ชาญชัย กินให้อ้วนรวย Youtube 的最佳貼文
แม้จะมีชื่อเรียกเดียวกัน หรือหน้าตาละม้ายคล้ายกันขนาดไหน แต่อาหารหลายชนิดก็กลับมีรายละเอียดและรสชาติต่างกันจนทำให้เราแปลกใจ หนึ่งในนั้นคือ ‘ข้าวซอย’ ที่นอกจากจะแบ่งรสชาติกว้างๆ ออกได้เป็นข้าวซอยอิสลามน้ำซุปใส หอมเครื่องเทศ และข้าวซอยตำรับล้านนารสกลมกล่อมด้วยกะทิและพริกแกงอุดมสมุนไพร โลกนี้ยังมีอีกหนึ่งข้าวซอยที่ทำให้เราต้องทวนคำกับแม่ครัวหลายครั้งว่าฟังไม่ผิดใช่หรือไม่ จานนั้นคือ ‘ข้าวซอยน้อย’ ของชาว ‘ไทใหญ่’
ชาวไทลื้อ หรือกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่นั้นเดิมมีถิ่นฐานอยู่บริเวณตอนใต้ของประเทศจีน ก่อนอพยพย้ายถิ่นมากระจายตัวอยู่บริเวณภาคเหนือของไทย ไล่ลงมาตั้งแต่สิบสองปันนา แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ และพะเยา ซึ่งโดยพื้นฐานแล้วแนวอยู่แนวกินของชาวไทใหญ่นั้นคล้ายกับคนพื้นถิ่นล้านนาโดยทั่วไป มีวัตถุดิบพื้นฐานเป็นผักและเนื้อสัตว์ที่หาได้ในชุมชน หมุนเวียนเปลี่ยนไปตามฤดูกาล และมีเครื่องปรุงรสหลักเพียงเกลือและพริก ทว่าสิ่งที่ทำให้รสชาติอาหารของชาวไทใหญ่นั้นโดดเด่นไม่เหมือนใคร คือกลิ่นอายของอาหารจีนที่ผสมใส่อยู่ในบรรดาเมนูอร่อยมากมาย รวมถึงใน ‘ข้าวซอยน้อย’ ที่เราอยากชิมรสชาติแบบต้นตำรับอย่างที่ชาวไทใหญ่รุ่นคุณปู่คุณย่ากินกันเมื่อกว่าร้อยปีก่อน!
กดติดตาม กดกระดิ่ง กดไลค์ กดแชร์
คอมเม้นพูดคุย กันด้วยนะคครับ ขอบคุณครับ
ยูทูป : กดติดตาม กดกระดิ่ง
https://www.youtube.com/charnchainet
แฟนเพจ : กดติดตาม กดเห็นโพสก่อน
https://www.facebook.com/eatfatdead
เฟสบุ๊ค : กดติดตาม กดติดดาว
https://www.facebook.com/charnchai57
ติดต่องานได้ที่..
อีเมล : [email protected]
ไลน์ : charnchai57
โทร : 0991575259
ฝากทุกๆท่าน ที่เข้ามาชมคลิป กินให้อ้วนตาย: กดติดตาม กดกระดิ่ง กดไลค์ กดแชร์
ขอบคุณทุกๆท่านที่เข้ามาชมคลิปครับ
กดติดตาม ติดต่อกินให้อ้วนตาย ได้ทางเฟสบุ๊ค
http://www.facebook.com/charnchai57
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 Ffh Lek Molee Youtube 的精選貼文
ระหว่างการเดินทางไกล เราก็หยอกล้อกันไป ตามประสาพี่น้อง สิ่งที่ได้พบ คือ ความน่ารัก ของน้องสาวทั้งสอง
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 สาวเชียงตุงเยือนถิ่นล้านนา #1 ต้อนรับสาวไตคนงามจากรัฐฉานมา ... 的推薦與評價
สาวเชียงตุงเยือนถิ่นล้านนา #1 ต้อนรับสาวไตคนงามจากรัฐฉานมาเที่ยวเชียงใหม่บรรยากาศชื่นมื่น. ... <看更多>
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 ล้านนาประเทศ - ตำนานเมือง 5 เชียง อดีตดินแดนภาคเหนือของ ... 的推薦與評價
#เชียงใหม่ เป็นเมืองเก่าแก่และมีประวัติการสร้างอันน่าภาคภูมิใจ ... #เชียงตุง มีชื่อเรียกอยู่หลายชื่อทั้งเมืองเขิน เมืองขึน เมืองเขมรัฐ ... ... <看更多>
เชียงตุง เชียงใหม่ 在 เที่ยวเชียงตุงกับสาวเชียงใหม่ EP.1 เดินทางเข้าสู่รัฐฉานครั้งใหม่กับ ... 的推薦與評價
เที่ยวเชียงตุงกับสาวเชียงใหม่ EP.1 เดินทางเข้าสู่รัฐฉานครั้งใหม่กับเพื่อนที่รู้ใจและไกด์สาวสวยนำทาง Keng Tung Travel Credit Music Tobu ... ... <看更多>