#新刊出版 New release!!!
Voices of Photography 攝影之聲
Issue 30:美援視覺性──農復會影像專題
U.S. Aid Visuality: The JCRR Issue
本期我們重返影響台灣戰後發展至關重要的美援年代,尋索過往在台灣影像歷史視野中遺落、但卻十分關鍵的美援時期台灣視覺歷程──「農復會」的影像檔案。
成立於1948年、以推行「三七五減租」和「耕者有其田」等土地改革與農業政策聞名的農復會(中國農村復興聯合委員會,JCRR),被認為是奠定二十世紀「台灣經驗」基礎的重要推手。然而很少人留意,這一農經專業的美援機構,在1950至60年代拍攝了大量的照片、幻燈、電影,並生產各種圖像、圖表、圖冊與海報,在冷戰年代與美援宣傳機制緊密連結,深深參與了戰後「台灣(視覺)經驗」的構成,影響著我們的視覺文化發展。
冷戰與美援如何形塑台灣的影像與視覺感知?本期專題透過採集考察眾多第一手的農復會早期攝影檔案、底片、圖像、影片與文獻資料,揭載鮮為人知的美援年代視覺工作,追尋這一段逐漸隱沒的戰後台灣攝影與美援視覺性的重要經歷。
其中,李威儀考掘農復會的歷史線索與視覺文本,探查美援的攝影檔案製程、「農復會攝影組」的成員蹤跡,以及文化冷戰期間從圖像、攝影到電影中的美援視覺路徑;蔡明諺分析1951年由農復會、美國經合分署與美國新聞處共同創辦的《豐年》半月刊,從語言、歌謠與漫畫等多元的視覺表現中,重新閱讀這份戰後最具代表性的台灣農村刊物潛在的意識形態構成與政治角力;楊子樵回看多部早期農教與政策宣傳影片,析論農復會在戰後台灣發展中的言說機制與感官部署,並從陳耀圻參與農復會出資拍攝的紀錄片計畫所採取的影音策略,一探冷戰時期「前衛」紀錄影像的可能形式;黃同弘訪查農復會在1950年代為進行土地與森林調查所展開的航空攝影,解析早期台灣航攝史的源起與美援關聯,揭開多張難得一見的戰後台灣地景航照檔案。
此外,我們也尋訪生於日治時期、曾任農復會與《豐年》攝影師的楊基炘(1923-2005)的攝影檔案,首度開啟他封存逾半世紀、收藏農復會攝影底片與文件的軍用彈藥箱和相紙盒,呈現楊基炘於農復會工作期間的重要文獻,並收錄他拍攝於美援年代、從未公開的攝影遺作與文字,重新探看他稱為「時代膠囊」的視覺檔案,展現楊基炘攝影生涯更為多樣的面向,同時反思「美援攝影」複雜的歷史情愁。
本期專欄中,李立鈞延續科學攝影的探討,從十九世紀末天文攝影的觀測技術,思考可見與不可見在認識論上的交互辨證;謝佩君關注影像的遠端傳輸技術史,檢視當代數位視覺政權中的權力、知識與美學機制。「攝影書製作現場」系列則由以珂羅版印刷著稱的日本「便利堂」印刷職人帶領,分享古典印刷傳承的工藝秘技。
在本期呈現的大量影像檔案中,讀者將會發現關於美援攝影的經歷與台灣歷史中的各種視覺經驗,還有許多故事值得我們深入訪查。感謝讀者這十年來與《攝影之聲》同行,希望下個十年裡,我們繼續一起探索影像的世界。
_____________
● 本期揭載未曾曝光的美援攝影工作底片、檔案與文件!
購書 Order | https://vopbookshop.cashier.ecpay.com.tw/
_____________
In this issue of VOP, we revisit the era of U.S. aid, a period that was of utmost importance to Taiwan’s post-war social and economic development, and explore Taiwan’s much forgotten but crucial visual journey during this era ── the visual archives of the JCRR.
Established in 1948, the Chinese-American Joint Commission on Rural Reconstruction, or the JCRR, is widely known for the implementation of various land reform and agricultural policies, such as the “375 rent reduction” and “Land-to-the-tiller” programs. Hence, the Commission is considered an important cornerstone to laying the foundations of the “Taiwan Experience” in the 20th century. That said, very few are aware that this U.S. aid organization specializing in agricultural economics was also closely associated with the American propaganda mechanism during the Cold War, and had in its possession countless photos, slides and movies, and produced various images, charts, pamphlets and posters. All these contributed to the formation of the post-war “Taiwan (Visual) Experience”, deeply influencing the development of our visual culture.
How exactly did the Cold War and U.S. aid shape Taiwan’s image and visual perception? This issue’s special feature uncovers the little-known visual activities from the U.S. aid era by investigating the collection of JCRR’s first-hand photo files, negatives, images, films and documents, and traces this important journey of post-war Taiwan photography and U.S. aid visuality that has gradually faded from people’s minds.
Among them, Lee Wei-I examines the historical clues and visual texts of the JCRR, and explores the production of the U.S. aid photographic archives, following the traces of the members of the “JCRR Photography Unit” and the trails of U.S. aid visuals during the Cold War from images and photography to films. Tsai Ming-Yen analyzes the diverse visual manifestations, such as languages, ballads and comics, contained in the semimonthly publication Harvest, which was co-founded by the JCRR, the U.S. Economic Cooperation Administration, and the U.S. Information Service in 1951, presenting a new take on the ideological and political struggles that were hidden beneath the pages of this agricultural publication that could also be said to be the most representative publication of the post-war era. Yang Zi-Qiao looks back at the early agricultural education and propaganda films, and analyzes the discourse and sensory deployment utilized by the JCRR in the development of a post-war Taiwan and the possibilities of the “avant garde” documentary films from the Cold War period through the audio-visual strategies gleaned from director Chen Yao-Chi’s documentary project that was funded by the JCRR. At the same time, Houng Tung-Hung checks out the aerial photography taken by the JCRR in the 1950s for land and forest surveys, and uncovers the origins of Taiwan’s aerial photography with U.S. aid, giving readers a rare glimpse at post-War Taiwan’s aerial landscape photographic archives.
In addition, we will explore the photographic archives of Yang Chih-Hsin (1923-2005), a former photographer who was born during the Japanese colonial period and worked for the JCRR and Harvest, unearthing negatives and documents kept away in the ammunition and photo-paper box that had stayed sealed for more than half a century. This feature presents important files of Yang during his time with JCRR, and photographs taken and written texts produced during the U.S. aid era but were never made public. We go through the visual archives enclosed in what he called a “time capsule”, shedding light on the diversity of his photography career, while reflecting on the complex historial sentiments towards “U.S. aid photography” at the same time.
Lee Li-Chun continues the discussion on scientific photography in his column, exploring the interactive dialectics between the seen and the unseen through the observation technology of astrophotography in the late nineteenth century. Hsieh Pei-Chun focuses on the history of the technology behind remote transmission of visuals and examines the power, knowledge and aesthetics that underlies contemporary digital visual regime. Finally, this issue’s “Photobook Making Case Study” is led by the printing experts at Japan’s Benrido, a workshop that is renowned for its mastery of the collotype printing technique.
Through the large collection of photographic archives presented in this issue, readers will see that there remain many stories on the photography process in the U.S. aid era and various types of visual experiences in Taiwan’s history that are waiting to be unearthed. We thank our readers for staying with VOP for the past decade and we look forward to another ten years of exploring the world of images with you.
_____________
Voices of Photography 攝影之聲
vopmagazine.com
_____________
#美援 #農復會 #冷戰 #台灣 #攝影
#USAID #JCRR #ColdWar
#Taiwan #photography
#攝影之聲 #影言社
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過83萬的網紅serpentza,也在其Youtube影片中提到,It's a serious question! A lot has changed in the Chinese Automotive industry since I bought my Chinese car 8 years ago, come and find out if Chinese ...
1950s economic 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
ทำไม สเปน จึงเป็นประเทศแห่ง การท่องเที่ยว? /โดย ลงทุนแมน
ทุกหนแห่งในดินแดนนี้ถูกทาบทาด้วยความมีชีวิตชีวา และแสงสว่าง..
หากเทียบกับประเทศอื่นๆ ในยุโรปแล้ว สเปนมีแสงแดดสาดส่องยาวนานเป็นอันดับต้นๆ
มากถึงปีละ 2,500 ชั่วโมง หรือเฉลี่ยวันละ 7 ชั่วโมง และจะยาวนานกว่านี้มากในช่วงฤดูร้อน
นอกจากแสงสว่าง ประเทศในยุโรปใต้แห่งนี้ยังเจิดจ้าไปด้วยมรดกทางวัฒนธรรมทุกยุคทุกสมัย
นับตั้งแต่จักรวรรดิโรมัน อาณาจักรมุสลิมของชาวมัวร์ ไปจนถึงความรุ่งเรืองของยุคแห่งการสำรวจ
สเปนมีรายได้จากการท่องเที่ยวสูงเป็นอันดับ 2 ของโลก เป็นรองเพียงสหรัฐอเมริกา
ทั้งที่มีพื้นที่เล็กกว่าสหรัฐอเมริกาถึง 18 เท่า
ประเทศที่เราเคยคิดว่าอยากไปท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็น อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี หรือแม้แต่ประเทศไทยเอง ก็มีรายได้จากการท่องเที่ยวไม่เท่า สเปน
ซึ่งในโลกนี้ สเปนเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศ ที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือน
มากกว่าจำนวนประชากรในประเทศที่ 47 ล้านคนเกือบ 2 เท่า
World Economic Forum จัดอันดับให้สเปนเป็นที่ 1 ของโลก ในการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว
สิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจนสร้างรายได้มหาศาลของประเทศนี้
อาจไม่ได้มีแค่ความสว่างไสวทางกายภาพ และวัฒนธรรม
แต่มันเป็นเพราะอะไร มาหาคำตอบกันได้ในบทความนี้
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม สเปน จึงเป็นประเทศแห่ง การท่องเที่ยว?
╔═══════════╗
ชอบบทความแบบนี้ ต้องอ่านหนังสือเล่มนี้
เศรษฐกิจโลก 1,000 ปี พิมพ์ครั้งที่ 6
สั่งซื้อได้ที่ (รับส่วนลด 10% จากราคาปก 350 บาท)
Lazada : https://www.lazada.co.th/products/1000-i714570154-s1368712682.html
Shopee : https://shopee.co.th/product/116732911/6716121161
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปในยุคแห่งการสำรวจ ราวศตวรรษที่ 15
สเปน คือมหาอำนาจผู้นำโลกตะวันตกมาค้นพบกับโลกใหม่
เมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส นักเดินเรือผู้ทำงานให้ราชสำนักสเปน
เดินทางรอนแรมข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกจนค้นพบทวีปใหม่ในปี ค.ศ. 1492
ไม่นาน กองทัพสเปนก็เข้าบุกยึดอาณาจักรโบราณของชาวพื้นเมือง และครอบครองพื้นที่ทวีปใหม่อันกว้างใหญ่ที่ต่อมาถูกเรียกว่า “อเมริกา” และนำสิ่งของใหม่ๆ มาสู่ยุโรป
มันฝรั่ง ยาสูบ โกโก้ ทองคำ และแร่ธาตุต่างๆ ล้วนหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย จนสเปนกลายเป็นประเทศที่มั่งคั่ง และเต็มไปด้วยสิ่งก่อสร้างตระการตา
แต่สงครามหลายต่อหลายครั้งกับมหาอำนาจอื่นๆ ในยุโรป โดยเฉพาะอังกฤษ และฝรั่งเศส
ก็นำมาสู่หนี้สินอันมหาศาล และพาสเปนเข้าสู่ยุคตกต่ำเป็นเวลาหลายร้อยปี
แล้วความรุ่งเรืองก็จบลงด้วยสงครามกลางเมืองที่นำพาสเปนเข้าสู่ยุคเผด็จการยาวนาน 40 ปี
ของจอมพลฟรานซิสโก ฟรังโก ซึ่งเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1936
สเปนผ่านสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยการดำรงความเป็นกลาง และไม่ให้ความช่วยเหลือฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อสงครามจบลงเรื่องนี้ก็ได้สร้างความไม่พอใจแก่ฝรั่งเศส และอังกฤษผู้ชนะสงคราม
สเปนจึงถูกขัดขวางไม่ให้เข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ องค์การนาโต และไม่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อฟื้นฟูยุโรปจากสหรัฐอเมริกา ที่เรียกว่า แผนการมาร์แชล
ท่ามกลางเศรษฐกิจยุโรปที่เฟื่องฟู สเปนถูกทิ้งให้โดดเดี่ยว และจมอยู่กับเศรษฐกิจที่ย่ำแย่
แต่ก็ผ่านมาได้ด้วยความช่วยเหลือจากประธานาธิบดีเปรอนแห่งอาร์เจนตินาที่ส่งอาหาร และเนื้อสัตว์มาให้
อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์อันดีกับสเปน และคนในประเทศอาร์เจนตินาก็พูดภาษาสเปนกัน
จนเมื่อเข้าสู่ยุคสงครามเย็น ฝ่ายสหรัฐอเมริกา และพันธมิตรเกรงกลัวการขยายอำนาจของฝ่ายคอมมิวนิสต์ จึงลงนามในสนธิสัญญามอบเงินช่วยเหลือให้สเปนแลกกับการตั้งฐานทัพ และยอมรับสเปนเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติในปี ค.ศ. 1955
สเปนจึงเปิดประเทศอีกครั้ง แต่ในเวลานั้น สเปนไม่ได้มีภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่แข็งแกร่งเหมือนประเทศอื่นๆ ในยุโรปตะวันตก หนทางเดียวที่จะฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ให้กระเตื้องขึ้นมา
ก็คือ “การท่องเที่ยว”
ด้วยชายหาดริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่อบอุ่นและเต็มไปด้วยแสงแดด ล้วนดึงดูดชาวยุโรปเหนือผู้อยู่กับความหนาวเย็น และท้องฟ้าขมุกขมัวให้มาเยือน
แคมเปญการท่องเที่ยวแรกของสเปนก็คือ “Spain is Different”
ด้วยทำเลที่ไม่ไกล ไม่นานชายหาดสเปนก็เนืองแน่นไปด้วยนักท่องเที่ยวจากทั่วยุโรป
การท่องเที่ยวสร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำ จนรัฐบาลของจอมพลฟรังโกสามารถนำเงินมาพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ สร้างระบบชลประทาน โรงไฟฟ้าพลังน้ำ และพัฒนาประกันสังคมให้ครอบคลุม เศรษฐกิจของสเปนดีขึ้นเรื่อยๆ แต่สิ่งที่ชาวสเปนยังขาดแคลนก็คือ “เสรีภาพ”
แล้วการถึงแก่อสัญกรรมของจอมพลฟรังโก ในปี ค.ศ. 1975 ก็ทำให้เกิดการปฏิรูปสังคม และการเมืองครั้งสำคัญ ชาวสเปนได้เสรีภาพกลับมาอีกครั้ง การเลือกตั้งในปี ค.ศ. 1976 เปิดทางให้ระบอบประชาธิปไตยหยั่งรากในสเปน
ภาษาท้องถิ่นที่เคยถูกห้ามใช้ในยุคเผด็จการ เช่น ภาษากาตาลันในแคว้นกาตาลุญญาทางตะวันออก และภาษาบาสก์ในแคว้นบาสก์ทางตอนเหนือ ก็ได้รับอนุญาตอีกครั้ง
วัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่นก็เบ่งบานพร้อมกับเสรีภาพในการพูด และการแสดงออก มีงานแสดงศิลปะ คอนเสิร์ต มากมายในกรุงมาดริด ทำให้นอกจากชายหาดแล้ว การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่รัฐบาลสเปนพยายามผลักดัน ทั้งสถานที่ท่องเที่ยว ประเพณี และอาหารท้องถิ่นที่หลากหลาย
การเติบโตของการท่องเที่ยวทำให้มีการสร้างโรงแรมเกิดขึ้น
เชนโรงแรมระดับโลกสัญชาติสเปนถือกำเนิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1950s-1970s หลายแห่ง
เช่น Iberostar Group, Eurostars Hotels, NH Hotel Group และ Meliá Hotels International
รัฐบาลสเปนได้จัดตั้ง El Instituto de Turismo de España หรือ TURESPAÑA ในปี ค.ศ. 1990 เพื่อกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
สิ่งที่สเปนให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ คือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว
ไม่ว่าจะเป็นถนน เครือข่ายระบบราง สนามบิน เพื่อเชื่อมโยงการเดินทางจากเมืองหลักๆ และเมืองชายหาด สู่ภูมิภาคอื่นๆ ที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกันไป
เครือข่ายรถไฟความเร็วสูง AVE (Alta Velocidad Española) เป็นสิ่งที่รัฐบาลสเปนเร่งพัฒนาในช่วงปลายทศวรรษ 1980s เพื่อให้ทันกับงานมหกรรมระดับโลกที่สเปนได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพในปี 1992 โดยให้กรุงมาดริดที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศเป็นจุดเริ่มต้นของเครือข่าย
งานแรกคืองาน World Expo ที่เซบิยา เมืองใหญ่ทางตอนใต้ ไม่ไกลจากท่าเรือที่โคลัมบัสเริ่มออกเดินทางไปพบโลกใหม่ ด้วยปี 1992 เป็นวาระครบรอบ 500 ปี การเดินทางของโคลัมบัสพอดี งานจึงถูกจัดในธีม “ยุคสมัยแห่งการค้นพบ”
โดยกำหนดปิดงานคือวันที่ 12 ตุลาคม ก็เป็นวันที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์ เพราะเป็นวันที่โคลัมบัสเดินทางถึงทวีปอเมริกา
แล้วรถไฟความเร็วสูงสายแรกของสเปนที่เชื่อมระหว่างกรุงมาดริด กับเมืองเซบิยาก็เสร็จทันการจัดงาน World Expo สร้างความสะดวกสบายให้กับนักท่องเที่ยวผู้เข้าร่วมงานจากทั่วโลก
นอกจากงาน World Expo แล้ว อีกงานหนึ่งคือ
มหกรรมโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 ที่เมืองบาร์เซโลนา ซึ่งได้มีการขยายสนามบิน สร้างถนนวงแหวนเพื่อรองรับการจราจร ปรับปรุงท่าเรือ และสร้างสนามกีฬาเพื่อรองรับผู้ชมจากทั่วโลก
ปี 1992 จึงเป็นเหมือนปีทองของการแจ้งเกิดของสเปนในเวทีการท่องเที่ยวระดับโลก
ความสำเร็จของทั้ง 2 งาน ทำให้นักท่องเที่ยวมาเยือนสเปนอย่างล้นหลาม
นับตั้งแต่นั้นมา เครือข่ายรถไฟความเร็วสูงของสเปนก็ค่อยๆ ขยายขึ้นเรื่อยๆ
จนปัจจุบัน เครือข่ายนี้ครอบคลุมทั่วประเทศ มีระยะทางกว่า 3,100 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากประเทศจีน เชื่อมระหว่างเมืองสำคัญในทุกภูมิภาค
จำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้รัฐบาลสเปนหันมาให้ความสำคัญกับ
“การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยเฉพาะความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
มีกฎหมายควบคุมการบุกรุกพื้นที่ป่าจากกิจกรรมท่องเที่ยวอย่างเข้มงวด
จัดการน้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ
ควบคุมการปล่อยมลภาวะในเขตเมืองใหญ่ และให้ความสำคัญกับการกำจัดขยะ
สเปนยังวางแผนระยะยาวด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อลดมลภาวะและการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งการเพิ่มสัดส่วนการใช้รถยนต์ไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่สเปนมีอย่างเหลือเฟือ
สเปนได้วางแผนไว้ว่า ภายในปี 2030 การผลิตพลังงานไฟฟ้าจะต้องมาจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน มากกว่า ร้อยละ 70 ของพลังงานทั้งหมด..
สเปนเปิดรับนักท่องเที่ยวทั่วโลกมาตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1950s และผ่านการพัฒนาในหลายๆ ด้านจนกลายเป็นประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวอันดับ 1 ของโลกจาก World Economic Forum
ชาวสเปนเข้าใจเป็นอย่างดีว่าชายหาดที่สวยงาม สถานที่และวัฒนธรรมที่ตื่นตาตื่นใจ จะดึงดูดผู้คนให้มาเยือนเป็นครั้งแรก
แต่การเดินทางที่สะดวกสบาย สาธารณูปโภคที่ครบครัน การบริการที่ดี และสภาพแวดล้อมที่ยังคงสมบูรณ์ จะทำให้นักท่องเที่ยวประทับใจและเลือกที่จะกลับมาเยือนอีกครั้ง
และถึงแม้ว่าโลกเรา จะมีสงคราม การก่อการร้าย หรือโรคระบาด อีกกี่ครั้ง แต่หากจะหาสักประเทศที่เตรียมพร้อมทุกอย่างเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยวทั่วโลกเองก็อยากกลับไปอีกครั้ง
ประเทศนั้นก็คงเป็น “สเปน”..
อ่านซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ในตอนก่อนหน้าทั้งหมดได้ที่แอป Blockdit blockdit.com/download
╔═══════════╗
ชอบบทความแบบนี้ ต้องอ่านหนังสือเล่มนี้
เศรษฐกิจโลก 1,000 ปี พิมพ์ครั้งที่ 6
สั่งซื้อได้ที่ (รับส่วนลด 10% จากราคาปก 350 บาท)
Lazada : https://www.lazada.co.th/products/1000-i714570154-s1368712682.html
Shopee : https://shopee.co.th/product/116732911/6716121161
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References:
-https://www.researchgate.net/profile/Tatiana_Iniguez-Berrozpe2/publication/261145071_Sustainability_and_tourist_promotion_The_case_of_SPAIN/links/56a2028908ae27f7de289ee3/Sustainability-and-tourist-promotion-The-case-of-SPAIN.pdf?origin=publication_detail
-https://riuma.uma.es/xmlui/bitstream/handle/10630/7488/Art%EDculo%20Preprint%20Tourism%20Management.pdf;jsessionid=E342478E672A137AE0920AFAB4A922A8?sequence=1
-https://www.oecd-ilibrary.org/sites/8ed5145b-en/index.html?itemId=/content/component/8ed5145b-en
-https://www.econstor.eu/bitstream/10419/138734/1/v07-i11-a14-BF02929667.pdf
-https://fsr.eui.eu/electric-vehicles-and-sustainable-development-in-spain/
-สเปน หน้าต่างสู่โลกกว้าง
1950s economic 在 篠舞醫師的s日常 Facebook 的最佳解答
還是忍不住先分享這篇了。
雖然我原先給自己的預設計畫,是先打算默默地看完這本書,再嘗試寫一點東西來告訴大家
但最近,預估我能夠讀完的時間遙遙無期
各種心情下還是忍不住先分享這篇
-----------------------------
作者 胖胖樹的熱帶雨林(Fat-Fat Tree Tropical Rainforest)用非常驚人的毅力和熱情
自己畫自己寫自己考據自己拍照
完成了這本書
能和他認識是透過這個粉專,先前某篇跟《本草綱目》有關的文字吸引(?)了他的注意,然後我才發現了這本書(笑)
目前的閱讀進度停在金雞納樹那個篇章,細細地咀嚼中
過一陣子我一定會好好的細嚼慢嚥完這本書再說些什麼的
等著吧呼呼呼呼....
《Invisible Rainforest: The Formosa Rainforest Flora》
Taiwan is commonly known as Formosa until 1970s. It is a beautiful island on the Eastern Pacific Ocean. The Portuguese were the first European group who reached the island of Taiwan in 1544, and named it Formosa.
The cultural diversity in Taiwan is like the biodiversity in tropical rainforest, which is rich and diverse. The ethnic groups that came to Taiwan at different stages have brought wide varieties of tropical plants with them which are related to living habits.
The aborigines who first lived in Taiwan imported many plants from Southeast Asia that we are familiar with nowadays, e.g. taro, ginger, banana, betel nut, coconut, kapok. They came to Taiwan in the prehistoric time and have lived in Taiwan for about 8,000 years.
From 1624 to 1662, in the era of great navigation, the Dutch and Spanish people briefly occupied Taiwan and used Taiwan as a base for trade with China, Japan, and Southeast Asia. Fruits that Taiwanese people are familiar with and are proud of, such as mango, bell-apple, custard apple, guava, and Cherry tomato, as well as chili, pepper, and tobacco were introduced to Taiwan by Dutch people during this period.
Between 1662 and 1895, Taiwan was part of the Chinese territory. Minnan people from Fujian Province as well as Chaozhou people and Hakka people from Guangdong Province moved into Taiwan. Carambola, grapefruit, and tung oil tree were introduced from China by South China immigrants during this period. The pineapple was also imported from the Philippines by South China immigrants during this period.
From 1895 to 1945, Japan ruled Taiwan for 50 years, and established several botanical gardens and research institutes throughout Taiwan to introduce large-scale experiments and cultivation of tropical plants in order to have more resources for the Japanese Empire. Rubber tree, cinchona tree for the treatment of malaria, logwood for making purple-black dyes, mahogany, and ylang-ylang were all introduced by Japanese into Taiwan.
From the end of the Qing Dynasty to the Japanese era, missionaries, botanists, and European traders came to Taiwan again. Although the number of people are rather small, they made a great contribution to Taiwan’s medical and scientific progresses. They also introduced some tropical plants into Taiwan. For example, Dr. George Leslie MacKay introduced variegated leaf croton and bougainvillea, and Dr. George Gushue-Taylor introduced windy oil trees for the treatment of leprosy. Coffee was introduced to Taiwan at earliest in 1884 by the British Merchants Bank.
The Republic of China established Taiwan Provincial Government in 1945. During the martial law period from 1949 to 1987, restrictions were imposed on all aspects. In addition, the access to information was limited. As a result, fewer tropical plants were introduced to Taiwan during this time as compared to other eras. At that time, academic and agricultural institutions were the main units that introduced plants into Taiwan. The trumpet Tree, which is now familiar to everyone, was introduced in the late 1960s.
There was also a Thai-Myanmar solitary army composed of ethnic minorities from southwest China. After the defeat of the civil war between the Kuomintang and the Communist Party, Thai-Myanmar solitary army temporarily stayed in the Golden Triangle at the borders of Thailand, Laos, and Myanmar, and eventually retreated to Taiwan in the 1950s and 1960s. In the early 1960s, a large number of Burmese Chinese immigrated to Taiwan after riots in Burma against Chinese community. They brought the tradition of Songkran Water Festival of Dai people, the spice plants, and vegetables commonly seen in Indochina to Taiwan.
In 1989, Taiwan for the first time allowed foreign workers to come to work in Taiwan. In the 1990s, the government also promoted the southward policy to encourage cultural exchange and economic investment with Southeast Asia. Meanwhile, many Taiwanese males with weak social and economic status chose to marry females from Southeast Asia. To date, there are about 180,000 Taiwanese new citizens from Indonesia, Vietnam, the Philippines, Thailand, Cambodia, and other ASEAN countries, and about 680,000 foreign workers from ASEAN. They have brought more vegetables, fruits, and spices that are common in Southeast Asia, enriching Taiwanese food culture.
These aforementioned culture traits and the history of the introduction of plants in Taiwan are extracted from my first book "Invisible Rainforest: The Formosa Rainforest Flora". This is a series of Taiwanese historical stories featuring plants as the leading actors and scientists as supporting actors. I want to share with you the history and social culture of Taiwan that I have discovered which have not been recorded in our history or social textbooks, which may have been forgotten or ignored. This book is not a challenging botanical handbook to read. It is an interesting story book. I hope that more people can understand Taiwan from a different perspective through this book. Thank you for your time!
台灣就是過去西方歷史中所熟悉的福爾摩沙。它是太平洋東方海上的一座美麗的島嶼。1544年葡萄牙人發現,並將台灣稱作福爾摩沙。
台灣的文化多樣性,彷彿熱帶雨林的生物多樣性一般,豐富且多元。不同時期來到台灣的個族群,帶來各式各樣與生活習習相關的熱帶植物。
最早居住在台灣的原住民,從東南亞引進了我們熟悉的芋頭、薑、香蕉、檳榔、椰子、木棉花等植物。他們從史前時期便來到台灣,在台灣活動的時間約八千年。
1624年至1662年,大航海時代,荷蘭人與西班牙人也曾短暫佔領台灣,以台灣作為根據地,與中國、日本及東南亞進行貿易。台灣人熟悉,甚至引以為傲的水果,例如芒果、蓮霧、釋迦、芭樂、小番茄,還有辣椒、胡椒、菸草,便是這時期荷蘭人引進台灣的植物。
1662年至1895年之間,台灣被納入中國版圖。源自中國福建省的閩南人與廣東省的潮州人與客家人,大量移入台灣。楊桃、柚子、油桐花便是這個時期華南移民從中國引進。而鳳梨也是這時期華南移民自菲律賓引進。
1895年至1945年,日本統治台灣50年,並在全台各地建立數個植物園及研究機構,大規模引進熱帶植物試驗及栽培,目的是為了開發更多資源提供日本帝國使用。橡膠樹、治療瘧疾的金雞納樹、製作紫黑色染料的墨水樹、桃花心木、香水樹等,都是日本人引進台灣的植物。
清朝末年至日本時代,宣教士、植物學家及歐洲的貿易商人再度來台。雖然人數不多,卻對台灣的醫療及科學進步有很大貢獻。他們也曾引進了一些熱帶植物來台灣,例如馬偕博士引進了變葉木與九重葛,戴仁壽醫生引進治療痲瘋病的大風子樹。而咖啡最早則是英商德記洋行在1884年引進台灣。
1945年,國民政府來台。1949至1987年,戒嚴時期,各方面限制重重,加上資訊不發達,熱帶植物引進較少。當時主要從事植物引進工作的是學術與農業單位。現在大家所熟悉的風鈴木,便是1960年代末期所引進。
還有一支由中國西南方少數民族組成的泰緬孤軍,國共內戰戰敗後,短暫滯留泰緬金三角,在1950至1960年代從中南半島輾轉來台。1960年代緬甸排華事件下,移民或依親方式到台灣定居的緬甸華僑。他們率先將傣族的潑水節,還有中南半島常見的香料植物與蔬菜,帶進了台灣。
1989年台灣首次開放外籍移工來台。1990年代政府推動南向政策,許多社會經濟條件弱勢的男性,紛紛到東南亞尋找配偶。直到今日,來自印尼、越南、菲律賓、泰國、柬埔寨等東協國家的新住民和移工,分別約18萬人和68萬人。他們帶更多東南亞常見的蔬菜、水果及香料,豐富了台灣的飲食文化。
上述這些文化跟植物引進史,摘要自我的第一本著作《看不見的雨林:福爾摩沙雨林植物誌》。這是一本以植物為主角、科學家為配角的台灣歷史故事集。我想藉由本書,跟大家分享我所查到、看到的那些不曾出現在我們歷史或社會課本中,被遺忘或忽略的台灣歷史與社會文化。這本書不是生硬的植物圖鑑,是一本有趣的故事書。希望透過這本書,讓更多人可以從不一樣的角度認識台灣。謝謝!
1950s economic 在 serpentza Youtube 的最佳貼文
It's a serious question! A lot has changed in the Chinese Automotive industry since I bought my Chinese car 8 years ago, come and find out if Chinese cars can now stand up to their international competition.
The automotive industry in China has been the largest in the world measured by automobile unit production since 2008. Since 2009, annual production of automobiles in China exceeds that of the European Union or that of the United States and Japan combined.
The traditional "Big Four" domestic car manufacturers are SAIC Motor, Dongfeng, FAW and Chang’an. Other Chinese car manufacturers are Beijing Automotive Group, Brilliance Automotive, BYD, Chery, Geely, Jianghuai (JAC), Great Wall, and Guangzhou Automobile Group. In addition, several multinational manufacturers have partnerships with domestic manufacturers.
While most of the cars manufactured in China are sold within China, exports reached 814,300 units in 2011. China's home market provides its automakers a solid base and Chinese economic planners hope to build globally competitive auto companies that will become more and more attractive and reliable over the years.
China's automobile industry had mainly Soviet origins (plants and licensed auto design were founded in the 1950s, with the help of the USSR) and had small volumes for the first 30 years of the republic, not exceeding 100–200 thousands per year. Since the early 1990s, it has developed rapidly. China's annual automobile production capacity first exceeded one million in 1992. By 2000, China was producing over two million vehicles. After China's entry into the World Trade Organization (WTO) in 2001, the development of the automobile market accelerated further. Between 2002 and 2007, China's national automobile market grew by an average 21 percent, or one million vehicles year-on-year. In 2009, China produced 13.79 million automobiles, of which 8 million were passenger cars and 3.41 million were commercial vehicles and surpassed the United States as the world's largest automobile producer by volume. In 2010, both sales and production topped 18 million units, with 13.76 million passenger cars delivered, in each case the largest by any nation in history. In 2014, total vehicle production in China reached 23.720 million, accounting for 26% of global automotive production.
The number of registered cars, buses, vans, and trucks on the road in China reached 62 million in 2009, and is expected to exceed 200 million by 2020. The consultancy McKinsey & Company estimates that China's car market will grow tenfold between 2005 and 2030.
The main industry group for the Chinese automotive industry is the China Association of Automobile Manufacturers (中国汽车工业协会).