ทักษะ 10 อย่าง ที่จำเป็นกับการทำงานของมนุษย์ใน 5 ปีข้างหน้า
ในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก โดยเฉพาะทาง Artificial Intelligence (AI), Machine Learning และ Automation ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายๆธุรกิจ รวมถึงถูกนำมาใช้แทนแรงงานมนุษย์ ทำให้หลายๆคนอาจได้ยินคำว่า Reskilling หรือ กระบวนการเรียนรู้ทักษะใหม่ เพื่อทำให้เรามีทักษะที่บริษัทต้องการมากที่สุด
วันนี้ คุยการเงินกับที นำทักษะ 10 อย่าง ที่จำเป็นกับการทำงานของมนุษย์ใน 5 ปีข้างหน้ามาให้ดูกัน
Professor Klaus Schwab ผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร The forum กล่าวว่า “ความก้าวหน้าของนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในปัจจุบันสามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อปลดปล่อยศักยภาของมนุษย์”
เขายังกล่าวอีกว่า “เรามีความตั้งใจที่จะพัฒนาและเพิ่มทักษะให้กับบุคคลากรในจำนวนมหาศาล เพื่อป้องกันแรงงานจากสถานการณ์ต่างๆ และ สร้างเส้นทางของพวกเขาไปสู่งานต่างๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ที่ๆพวกเขาจะสามารถเติบโตได้
The world economic forum คาดการณ์ไว้ว่า 50% ของแรงงานทั้งหมด หรือ85 ล้านงานจะถูกแทนที่โดยเครื่องจักร และอีก 97 ล้านงาน จำเป็นจำต้องเพิ่มทักษะภายในปี 2025 เป็นผลมาจากการนำเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงาน ทั้งนี้ผลกระทบดังกล่าวยังสามารถช่วยให้มนุษย์เรียนรู้ทักษะใหม่ๆ
_____________________________________________________________
ทักษะทั้ง 10 ทักษะ(The top 10 skills)
ทักษะในการแก้ปัญหาและการคิดเชิงวิพากย์(critical thinking) จะเป็นทักษะอันดับต้นๆที่นายจ้างเชื่อว่าจะเพิ่มความโดดเด่นในอีก 5 ปีข้างหน้า ซึ่งสิ่งเหล่านี้สอดคล้องกันมาตั้งแต่รายงานในปี 2016
แต่ทักษะใหม่ที่พึ่งเกิดขึ้นในปีนี้ เป็นทักษะทางด้านการบริหารจัดการตัวเอง(self-management) เช่น active learning, ทักษะการฟื้นตัว(resilience), ทักษะการทนทานต่อความเครียด(stress tolerance), และทักษะการยืดหยุ่น(flexibility)
ในปีนี้ทาง World Economic Forum ได้รับอนุญาติให้ติดตาม
ข้อมูลจาก LinkedIn และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่าง Coursera ซึ่งไม่เคยมีมาก่อน เกี่ยวกับประเภทของทักษะเฉพาะทางที่เป็นที่ต้องการของอาชีพในอนาคต และกำลังเป็นที่ต้องการท่ามกลางอาชีพที่เกิดใหม่
ในบรรดาทักษะที่ข้ามสายเหล่านี้ล้วนเป็นทักษะเฉพาะทางด้าน เช่น การตลาดสินค้า(product marketing), การตลาดดิจิทัล(digital marketing), และทักษะการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์(human computer interaction)
_____________________________________________________________
การรีสกิล(reskill)ใช้เวลานานเท่าไหร่?
ผู้นำธุรกิจส่วนใหญ่(94%) คาดหวังให้พนักงานในตอนนี้ได้รับทักษะใหม่ๆในการทำอาชีพ—เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 65% ในปี 2018
ผู้ตอบแบบสำรวจใน Future of Jobs ประเมินว่าประมาณ 40% ของแรงงาน ต้องใช้เวลาที่จะรีสกิล(reskill)เป็นเวลาหกเดือนหรือน้อยกว่านั้น แต่นี่เป็นตัวเลขที่สูงกว่าแรงงานในอุตสาหกรรมผู้บริโภค อุตสาหกรรมสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ในส่วนของภาคบริการทางการเงินและพลังงานนั้น สัดส่วนของคนทำงานที่สามารถรีสกิลได้ภายใน 6 เดือนนั้นต่ำกว่า เพราะพวกเขาเหล่านี้มีโปรแกรม(ทักษะที่reskill)ที่ต้องใช้เวลามาก
การฝึกฝนทักษะจะถูกจัดแบบภายใน ตาม39%ของนายจ้าง แต่ตามที่ศาสดาจารย์ Schwab ได้กล่าวไว้ว่าสิ่งนี้จะส่งเสริมโดยการเรียนรู้ทางแพลตฟอร์มออนไลน์(18%ของการฝึกฝน) และที่ปรึกษาภายนอก(11%ของการฝึกฝน)
การแพร่ระบาดของโรคเป็นตัวเร่งให้เกิดกระแสการฝึกฝนทักษะใหม่ทางออนไลน์(online reskilling) โดยในปีนี้ระหว่างเดือนเมษายนและมิถุนายน Coursera พบว่าจำนวนคนที่แสวงหาโอกาสเพิ่มให้กับตัวเองนั้นเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนถึง 4 เท่า
นายจ้างให้โอกาสการเรียนรู้ทางออนไลน์ให้แก่แรงงานลูกจ้างของเขาเพิ่มขึ้น 5 เท่า และมีการลงทะเบียนที่เข้าถึงแหล่งข้อมูลทางออนไลน์ของรัฐบาลเพิ่มขึ้น 9 เท่า
ทาง Coursera ได้กล่าวว่า มันอาจใช้เวลา 1-2 เดือนในการได้รับทักษะที่มีความเชี่ยวชาญ 10 อันดับแรกในอาชีพที่กำลังขยายขึ้นมาใหม่ ทั้งในด้านผู้คนและวัฒนธรรม การเขียนเนื้อหาบทความ และ การตลาดและการขาย
มันอาจจะใช้เวลา 2-3 เดือนสำหรับผู้เรียนรู้ ที่จะขยายทักษะในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ AIและข้อมูลในขณะที่การเรียนรู้เกี่ยวกับ เขียนโปรแกรมใช้เวลา 4 เดือน ในการช่วยให้ผู้คนได้ย้ายไปในบทบาทหน้าที่ด้าน วิศวกรรมและCloud
ตัวเลขดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า แม้การเรียนรู้ทักษะใหม่ๆจากสามารถเข้าถึงได้ผ่านเทคโนโลยีมากขึ้น แต่ทว่าแต่ละคนก็ต้องการเวลาและเงินทุนเช่นกัน เพื่อที่จะสามารถแสวงหาโอกาสใหม่ๆได้
ขอขอบคุณบทความจาก:
https://www.weforum.org/agenda/2020/10/top-10-work-skills-of-tomorrow-how-long-it-takes-to-learn-them/
แอดแพรว, แอดเพิร์ล
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過684的網紅Ta Đi Tây Podcast,也在其Youtube影片中提到,Trong phần 2 này Trang sẽ chia sẻ nhiều hơn về bản chất công việc khoa học dữ liệu của Trang - các công cụ sử dụng, các điểm nhấn, các hiểu lầm, và vì...
「active learning machine learning」的推薦目錄:
- 關於active learning machine learning 在 คุยการเงินกับที Facebook 的最佳解答
- 關於active learning machine learning 在 Terry&Friends程天縱與朋友們 Facebook 的最佳解答
- 關於active learning machine learning 在 Familystaysg Facebook 的最讚貼文
- 關於active learning machine learning 在 Ta Đi Tây Podcast Youtube 的最佳解答
- 關於active learning machine learning 在 Overview of Active Learning for Deep Learning - Jacob ... 的評價
- 關於active learning machine learning 在 DeepAL: Deep Active Learning in Python - GitHub 的評價
- 關於active learning machine learning 在 What is the difference between active learning and online ... 的評價
active learning machine learning 在 Terry&Friends程天縱與朋友們 Facebook 的最佳解答
兩年前的文章,謝謝吳俊毅找出來分享。
我的大兒子是UCLA CSE (加州大學洛杉磯分校計算機科學與工程系)畢業的博士,他專注在移動應用軟體的開發。畢業後,他並沒有走入學術領域當教授,反而選擇進入企業,走軟體開發的技術路線。
他告訴我,在學校的教授每年都忙著寫論文,發表在專業雜誌或論壇上。如果沒有辦法找到大企業合作,通常教授的論文就會偏向理論,在發表過後,就永遠歸檔留存,無法商品化。
只有跟大企業合作,才能夠得到許多真實的案例和大數據,才能夠驗證教授論文中的理論和模型。但是和大企業合作,談何容易?由於牽涉到商業機密,如果不是很知名的教授,通常都找不到願意合作的大企業。
與其留在學校當教授,得不到企業的合作,每年寫一些理論性的論文發表,我大兒子選擇進入企業,接觸真實的商業領域,開發可以應用和使用的產品。
我的三兒子今年暑假從 UCSD CSE(加州大學聖地牙哥分校的計算機科學與工程系)畢業,八月下旬他就進入 USC(南加大)攻讀碩博士,他專注在 AI 人工智慧領域的類神經網路模型與算法。
他跟我分享人工智慧過去70年的發展,曾經三起兩落。最早在上個世紀50年代,就出現人工智慧這個名詞。經過一陣子熱潮以後,由於技術出現瓶頸,無法突破,因此逐漸衰退。
80年代透過「專家系統」的程序和「知識處理」的應用,「機器學習」(Machine Learning)成了熱門話題,人工智慧迎來了第二次流行。經過一陣子熱潮以後,由於做不到業界預期的應用,又逐漸冷卻了。
第三波熱潮開始於2006年,Hinton教授找到了解方,提出限制玻爾茲曼機(RBM)模型成功訓練多層神經網路,重新命名為「深度學習」(Deep Learning),人工智慧的應用出現了一線曙光。
真正的爆發點是在2012年10月,Hinton教授的兩個學生參加了全世界最大的圖像識別資料庫 ImegeNet 的比賽,以深度學習的算法加上GPU圖形處理器的運算速度,一舉拿下第一名。
其實從 2007 年 ImageNet 比賽創辦以來,每年的比賽結果、每家都差不多,錯誤率大致落在 30%、29%、28%... 瓶頸一直無法突破。結果這兩位學生以 16.42% 的錯誤率遠勝第二名的 26.22%。
從此爆發深度學習熱潮。先是 Google 在 2013 年收購了 Hinton 和他的兩位學生的公司,接下來一堆企業爭相投入深度學習的研究領域。後來,2015 年的冠軍 Microsoft ,以 3.5% 的錯誤率贏得冠軍,超越⼈類的 5%錯誤率,發展快速,一日千里。
2016年3月,AlphaGo擊敗李世乭,成為第一個不讓子而擊敗職業圍棋棋士的電腦圍棋程式。2017年5月,AlphaGo在中國烏鎮圍棋峰會的三局比賽中擊敗當時世界排名第一的中國棋手柯潔。
我的三兒子說,人工智慧能夠發展到今天的這個結果,主要的就是靠大量的「伺服器運算」和大量的「數據學習」。
我以上所說的大兒子和三兒子的例子,主要的目的就是指出大數據的重要性。而擁有各種大數據的機構,不外乎政府和大企業。
在未來互聯網和人工智慧爆發的時代𥚃,大企業擁有大量的伺服器和大數據,跟新創企業比起來,大企業擁有絕對的競爭優勢。
可是回顧歷史,在高科技領域的競爭中,反而是許多新創企業打敗了跨國大企業。為什麼呢?除了創業家和專業經理人的不同心態以外,我認為最主要的原因就是大企業不會創新。
大企業空擁有大量的數據和各種競爭優勢,但是大部分的專業經理人卻不懂得怎麼樣利用這些數據,產生策略和行動。
在上一篇文章當中,我提到過,80年代中期,我在惠普台灣分公司,負責電子測試儀器和電腦系統的銷售部門,主要市場就是台灣的電子產業。
在成立我的這個部門之前,測試儀器和電腦產品是隸屬於兩個不同的產品線業務團隊。雖然台灣的電子企業是共同的目標客戶,但是這兩個不同產品線的業務團隊,彼此很少交流合作。
我的這個部門在當時也是一個創舉,是第一次把兩個產品線放在一個部門裡。部門剛成立時,我首先到這兩個不同產品線的客戶資料庫裡面去做了一些統計分析。
當我將所有的測試儀器客戶和電腦產品的客戶列表出來以後,發現只有30%的客戶是兩種產品都有採購的。也就是說,有70%的現有客戶,我們可以推銷另外一種產品。
在軍事上來講,現有客戶就是我們已經佔據的山頭,如果競爭對手要取代我們,就是要攻山頭。攻山頭和守山頭的兵力,至少10比1才能打成平手。
例如我們的測試儀器現有客戶,或許使用競爭對手的電腦系統,但是我們和競爭對手都在一個山頭上了,比起重新攻打一個新山頭,要容易得多。
因此,我就把大部分資源集中在這70%的客戶上面,訂出目標,列出行動計劃,努力把這些現有客戶攻克。
一年以後,我們把同時向惠普購買測試儀器和電腦的客戶比率,從30%提高到80%。再加上我們還有新開發的客戶,當年的業績達成率遠遠超過我們年初所訂的目標。
另外,我在客戶資料庫裡又做了一些統計分析。我把過去三年買過惠普產品(包含配件、耗材、軟硬體維修合同)的客戶,定義為「現有客戶」(Installed Base Customers)。然後把過去一年曾經買過惠普產品的客戶,定義為「活躍客戶」(Active Customers)。
結果我發現,「活躍客戶」只佔了「現有客戶」的40%左右。所以我把這60%,在過去一年沒有跟惠普有過任何交易的客戶,叫做「冬眠客戶」(Dormant Customers)。
很簡單的數學公式:活躍客戶數+冬眠客戶數=現有客戶數。
這些冬眠客戶到底發生了什麼事?過去三年曾經是我們的現有客戶,可是卻在過去12個月當中,沒有跟公司發生任何採購交易紀錄?這些就是所謂 Low Hanging Fruits,應該是垂手可得的產品銷售對象。
80年代中期,還沒有互聯網和手機等等的通訊工具。我唯一可以使用的就是電子郵件和電話。
於是我組識了一個小小的電話行銷(Telemarketing)團隊,主動打電話給這些冬眠客戶,一方面更新我們的客戶資料庫,一方面介紹、推銷我們的新產品。這個計劃就叫做「叫醒」(Wake Up Call)。
除了極少數已經停止營業的小客戶之外,我們發現,有一些現有客戶已經轉投競爭者的陣營,也就是說,我們攻下的山頭並沒有好好守住,反而讓競爭對手攻佔了。
其餘大部分的現有客戶,都是由於我們沒有主動去好好照顧,也不了解到底我們有些什麼新產品,也不知道應該採購一些零配件或消耗品,因此在過去一兩年都沒有提出採購的需求。
經過我們一個一個的「叫醒」以後,我們得到了很大的收穫,重新連結客戶關係、更新了客戶資料庫、提高了客戶滿意度、取得了許多新的訂單。小投入得到大成果,關鍵就在於我們懂得利用數據做分析,然後採取行動。
回顧過去的經驗和歷史,我也重新學習,並且和各位朋友分享我的總結。
1)在中大型企業上班的朋友們,公司裡一定有許許多多的資料庫和大數據,各位可以發揮各種創新和創意,加以統計分析,或是找到新的「市場區隔」,或是找到新的「行銷策略」,都會得到意想不到的收穫。
2)對於新創企業,或許可以嘗試和政府、大企業合作,取得他們的大數據,加上創業者的創新生意模式和產品技術,增加創業成功的機會。
3)前一陣子,在網路上有許多爭論,對於台灣是否適合在人工智慧領域創業和投資,有不同的看法。我認為,人工智慧的領域非常廣泛,台灣一定有機會的。
最重要的關鍵是,擁有大數據的機構未必能夠創新,而想要創新創業的年輕人,又未必能夠接觸到這些大數據。
因此,擁有大數據的政府機構和大企業,應該把資源開放出來,鼓勵年輕人利用這些大數據來創新創業。
政府除了開放所擁有的大數據資源給新創者之外,還可以訂定一些優惠政策,鼓勵大企業將其擁有的大數據資源,開放出來給新創團隊。而大企業也可以透過合作、投資,達到輔導新創,建立雙贏的結果。
active learning machine learning 在 Familystaysg Facebook 的最讚貼文
Do you have a parent or family member with diabetes? Is your BMI 23kg/m2 and above? Are you always sitting down in the office and not have an active lifestyle every day after work? These are some of the factors that can increase your risk of diabetes. It’s never too late to stop and reverse Pre-Diabetes. Let’s BEAT DIABETES now!
This weekend, come to the Health Promotion Board, Singapore Healthy Lifestyle Festival SG 2018 event happening at Waterway Point (26 - 28 Oct, 11am - 8.30pm) to learn how to beat (BASH 👊🏻) all the bad habits! Among all the activities our boys love playing the bishy bashy machine while learning what not to do so they don’t become a victim of this illness ✖️ Do swing by to see the other fun activities too! See our Ig stories for more deets 🤙🏻
🙌🏻 Upcoming Grand Finale event for this festival will be happening at Singapore Sports Hub, from 10 November 2018 to 11 November 2018 (11:00 AM to 8:00 PM ).
For more information please visit www.healthylifestyle.sg. See you there! #HealthyLifestyleSG
active learning machine learning 在 Ta Đi Tây Podcast Youtube 的最佳解答
Trong phần 2 này Trang sẽ chia sẻ nhiều hơn về bản chất công việc khoa học dữ liệu của Trang - các công cụ sử dụng, các điểm nhấn, các hiểu lầm, và vì sao nên học thạc sĩ để tiến thân trong ngành khoa học dữ liệu.
Nếu muốn nghe về các hiểu lầm, tua đến phút 17. Để nghe về vì sao học thạc sĩ, tua đến phút 27.
Phần 3 sẽ nói về học Toán ở Mỹ, hay là cơn ác mộng của đời mình, và khác với học Toán ở Việt Nam như thế nào. Nó không dễ như bạn nghĩ đâu
Các tài liệu mà Trang nhắc đến giúp chuẩn bị vào ngành Khoa học dữ liệu:
- Khóa Deep Learning Coursera: https://www.coursera.org/specializations/deep-learning
- Andrew Ng: tất cả các khóa về khoa học dữ liệu
- Towards Data Science Medium: https://towardsdatascience.com/
#NỘIDUNG:
2:00 - Tổng quan công việc ở 2 công ty khoa học dữ liệu của Trang
11:50 -Các công cụ và quy trình làm việc khoa học dữ liệu
11:00 - Active Learning là gì
14:30 - Testing trong khoa học dữ liệu
16:00 - Không biết công cụ công ty yêu cầu có phải vấn đề không?
18:20 - Hiểu lầm 1 về khoa học dữ liệu - cần giỏi Toán và Tin để làm
22:30 - Hiểu lầm thứ 2 về khoa học dữ liệu
27:48 - Học thạc sĩ Machine Learning và Computational DS - càng đi làm càng thấy khác biệt giữa cử nhân và thạc sĩ/tiến sĩ trong công việc
31:30 - Tổng quan các chương trình thạc sĩ Data Science ở Mỹ
Nhạc: https://archesaudio.com/
------------------------------------------
➫ Email: [email protected]
➫ Spotify: https://sptfy.com/taditay
➫ Apple Podcast: https://podcasts.apple.com/vn/podcast/ta-%C4%91i-t%C3%A2y/id1463143817
➫ Facebook Group: https://www.facebook.com/groups/474610666713744/?source_id=1216051758544764
➫ Facebook: https://www.facebook.com/taditay.podcast/
➫ Instagram: https://www.instagram.com/taditay.podcast/
active learning machine learning 在 DeepAL: Deep Active Learning in Python - GitHub 的推薦與評價
DeepAL: Deep Active Learning in Python · Random Sampling · Least Confidence [1] · Margin Sampling [2] · Entropy Sampling [3] · Uncertainty Sampling with Dropout ... ... <看更多>
active learning machine learning 在 What is the difference between active learning and online ... 的推薦與評價
The key idea behind active learning is that a machine learning algorithm can achieve greater accuracy with fewer training labels if it is ... ... <看更多>
active learning machine learning 在 Overview of Active Learning for Deep Learning - Jacob ... 的推薦與評價
Combining Active Learning and deep learning is hard. ... Deep neural networks are computationally heavy, so you usually want to select a batch with many images to ... ... <看更多>
相關內容