🙋วิ่งแล้วปวดน่อง ทำไงดี?
#Goodquestion คำถามนี้ดีมากๆ มาลุยกัน
🔴เบื้องต้นพักก่อน แล้วค่อยๆวิเคราะห์กันไปทีละข้อครับ
🔴 ปวดทุกครั้ง แบบ DOMS (วิ่งเสร็จก็ปวดไปวันสองวันใช่ไหม) ถ้าใช่ โอเค ผมอาจจะพอช่วยได้ เพราะอาจจะเกิดมาจาก
Muscle Weakness - กล้ามเนื้อบางมัดอ่อนแอ
Muscle Tightness - กล้ามเนื้อบางมัดตึง
Movement Deficiency - การเคลื่อนไหวอาจจะไม่ค่อยดี
เอาเป็นว่าตราบใดก็ตามที่ไม่ใช่ Accute / Chronic Injury หรืออาการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นมาก่อน
ก็ยังอยู่ใน Scope ของผมที่สามารถช่วยได้ในฐานะ Certified Corrective Exercise Specialist (เรียนมา ก็ขอใช้ความรู้หน่อย 🤓)
🔴เรายังไม่พูดถึงอาการ Shin Splinth นะ เดี๋ยวจะลึกเกินไปกว่านี้
บทความนี้ ผมเขียนตามหลักการทำงาน และความน่าจะเป็น ตามที่เรียนมา
ส่วนโค้ชท่านอื่นๆ ช่วยเสริมในส่วนที่พี่อาจจะไม่ได้พูดถึงด้วยนะครับ
เพราะส่วนตัว ผมไม่ใช่สายวิ่ง 100% อาจจะตอบได้ไม่ครบ
🔴 ปวดน่องฝั่งไหน?
ด้วยความที่บางทีเราเรียกน่อง และหน้าแข้ง รวมๆกัน เลยต้องขอแบ่ง ระบุให้ชัดเจนก่อน
ก่อนอื่นตามหลัก Anatomy เราลองแบ่งน่องเป็น 2 ฝั่ง คือหน้า และหลัง
เผื่อใครชอบเรียน เอาชื่อไป
ด้านหน้าเรียกว่า Tibialis Anterior
ด้านหลัง เรียกว่า Gastrocnemius + Soleus หรือเรียกรวมๆกันว่า Gastrocsoleus
Functions ในการทำงาน ก็น่าจะเข้าใจได้ไม่ยาก คือด้านหน้า กระดกปลายเท้าชี้หน้าเรา เรียกว่า Dorsiflexion
ส่วนด้านหลัง ก็เหยียดเท้าลง เรียกว่า Plantarflexion
🔴ด้านหน้า มักจะปวดเวลาเราวิ่งนานๆ เพราะเราต้องกระดกปลายเท้าเวลาวิ่ง
ลองนึกภาพ ถ้าเราไม่กระดกปลายเท้า ปลายเท้าเราก็จะขูดกับพื้น
ถ้าปวดด้านหน้า มักจะมาจากกล้ามเนื้อมัดนี้อ่อนแรง
อาจจะต้องฝึก กระดกเท้า และ Warm Up การกระดกเท้าก่อนออกกำลังกาย
🔴 ปวดด้านหลัง อันนี้เพราะเวลาเราวิ่ง เราต้องเหยียดเท้าเพื่อออกแรงส่งให้เราไปข้างหน้า
พอทำซ้ำๆ มันก็อาจจะล้าได้ ทีนี้ ข้อนี้ถ้าวิเคราะห์กันแบบ “เอาให้หายขาด” จะยาวมากกกกก
ไอเดียหลักๆคือต้องตั้งคำถามว่า “ทำไมถึงต้องใช้น่องเยอะขนาดนั้น” ส่วนใหญ่ๆ ก็มีข้อสันนิฐานว่า อาจจะเป็นเพราะกล้ามเนื้อก้น และ Core Muscles ทำงานได้ไ่ม่ค่อยดี
👩🏻⚕️Physiotherapist : ปอยเสริม: พี่ฟ้าอย่าลืมคำนึงถึงข้อนี้ด้วย เวลาน่องตึง จะทำให้กล้ามเนื้อหน้าแข้งทำงานหนัก (Gastrocsoleus ตึง ทำให้ Tibialis Anterior ทำงานหนักกว่าเดิม)
ถ้าในเคสนี้ แนะนำให้ยืดน่องเพิ่ม เพื่อเพิ่ม Ankle Mobility
🔴 สรุปเพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวเกินไป
ผมลิสต์สิ่งที่ต้องทำ เป็น ACTIONS ที่อยากให้ลองมาตามนี้ครับ
✅ พักก่อน แล้วอ่านบทความนี้สัก 2 รอบ ทำความเข้าใจ
✅ เพิ่ม Warm Up น่องก่อนออกกำลังกาย เช่น กระดก เขย่งเท้า 5-10 reps x 2-3 sets
✅ เพิ่ม Hip Mobility (ทำ Greatest Stretch ก่อนวิ่ง)
✅ อย่าลืมยืดน่อง (ทั้งสองฝั่ง) หลังวิ่งด้วย 15-30 วิ x 2-3 sets
✅ ลองสังเกตุตัวเอง ว่าเจ็บ ตอนวิ่งเร็วแค่ไหน
✅ เพิ่มท่าบริหารกล้ามน่องเข้าไป
✅ จดบันทึก ACTIONS ที่เราทำ จะได้เอามาศึกษา และปรึกษาโค้ชได้ในอนาคต
ปล. นี่เป็นบทความที่ท้าทายความรู้ผมมาก เพราะผมก็ไม่ได้วิ่งเก่งขนาดนั้น
แต่ทั้งจากแหล่งที่เรียนมา และการทดลอง พบว่า Hip Mobility สำคัญมากๆครับ ช่วยได้จริงๆ
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過5萬的網紅Hunter 物理治療師,也在其Youtube影片中提到,Facebook粉絲團: https://www.facebook.com/HunterPTworkout/ Instagram: https://www.instagram.com/hunterptworkout/...
ankle mobility exercise 在 Kenneth Strength Training - 盧恩澤教練 Facebook 的最佳貼文
Front Squat 101
1. According to the study, Front Squat is about 80-85% of Back Squat.
It means if you can Back Squat 180kg, you can Front Squat 153kg.
2. You cannot cheat on Front Squat.
If your body leans forward, or elbows drop, you're done!
3. The posterior chain is the major muscle group of the Front Squat, especially upper body.
4. Front Squat can process to Olympiclifting - Clean.
5. Elbows must be up and pointing forward.
6. Serratus anterior muscle is one of the vital muscle to support the weight.
7. Never shift your hip back at the beginning of the eccentric phase.
The movement is different from Low-bar Back Squat (Powerlifting style).
8. Chest up is the key during the concentric phase.
9. If you have the wrist injury, you can use the straps to support the bar. But I personally don't prefer to do Crossed arms style.
10. If you have the ankle mobility issue, you can do it with heel elevated Front Squat instead.
Just let me know that Front Squat is an extremely uncomfortable exercise.
Training log on 31.7.2020 Fri
BW: 81kg
A. Front Squat
5 x 2 x 335lb (152.2kg)
B. Push Press
C. Jerk Dips
D. Clean Rack Support
Enjoy the training!
#FrontSquat #Squat #深蹲 #olympiclifting #weighlifting #olifts #MasterWeightlifting #AskKenneth #TeamKenneth #加拿大舉重 #溫哥華舉重 #香港舉重 #KennethLo #香港運動員 #加拿大運動員 #不輕易放棄 #努力 #奮鬥 #磨練自己
#細節決定成敗 #bodybuilding #posing #abs #sixpack #beachbody #網上訓練 #線上訓練 #onlinecoaching #onlinefitnesscoaching
ankle mobility exercise 在 JackyPhysio Facebook 的精選貼文
Hip Airplane
-Closed Chain controlled rotation
-Single leg Glute strength
閉鎖鍊進行單腳的旋轉控制
動態的將髖轉至外展外轉
單腳controlled mobility的訓練是推薦的
在訓練skill 的動作(ex. squat)之外,
把兩側拆開來看,或許可以發現
雖然整體能蹲起很狂的重量
但若左右有失衡, 長期下來可能會有相關累積的傷害
根據Sahrmann學者於
Movement Impairment Syndrome (MIS) 提及
應將Movement看作是身體眾多系統所形成之motion
包含了眾多生理機制
(ex. 肌肉骨骼,神經,心肺,代謝...)
因此將 neurologic dysfunction考量進來
觀察動作整體movement pattern是必須的
所以講這麼多 到底在練哪
我認為如果要列出很明確哪條肌肉
可能會發現永遠列不完
Ankle/Knee/Hip/Core
Single leg balance /Foot tripod dynamic balance
但Overall概念是
拆開看單側髖關節、控制、平衡能力
很建議不管在復健過程,或是在暖身訓練時
皆可以做🤟🤟🤟
(Demo by a 19y/o baseball player)
Video credit to @_xiang_0294
#physicaltherapy #physio #musculoskeletal #training #exercise #workout #mobility #warmup #taiwan #taipei #物理治療 #訓練 #活動度 #髖 #下肢 #臀 #控制 #熱身
ankle mobility exercise 在 Hunter 物理治療師 Youtube 的最佳貼文
Facebook粉絲團: https://www.facebook.com/HunterPTworkout/
Instagram: https://www.instagram.com/hunterptworkout/