อันนี้ต่อเนื่องจากอีกโพสต์หนึ่ง
มีการถกเถียงกันว่า
แล้วอะไรคือกลาง
ผมก็จะมาขออธิบายตรงนี้นะครับว่า
กลาง ....... คือประชาธิปไตยครับ
อธิบาย
------------------------------------------
เวลาที่เราแบ่งขั้วทางการเมืองนะครับ
เรามักจะใช้คำว่าซ้ายขวาเพื่อให้มันเข้าใจง่ายๆกัน
แต่ทฤษฎีซ้ายขวานั้นจะเน้นแต่เรื่องเสรีภาพกับอำนาจนิยม
ในขณะที่มันมี Vector อื่นๆที่มันซับซ้อนกว่านั้นผสมเข้ามาด้วย
ซึ่งระบอบปกครองที่อยู่ทางฝั่งซ้ายสุดนะ
....... มันไม่ใช่ประชาธิปไตยครับ
มันคือคอมมิวนิสต์(ในทางทฤษฏี)
กล่าวคือ
การเชื่อว่าทุกคนนั้นมีสิทธิเท่าเทียมกัน
ไม่มีใครที่มีอำนาจเหนือกว่าใครทั้งนั้น
...... แต่นั่นไม่ใช่ประชาธิปไตยครับ
เพราะกฏของประชาธิปไตยนั้นคือ
คุณต้องทำตามกฏที่ถูกลงมติโดยคนหมู่มาก
สมมุติว่าคนหมู่มากมีแนวโน้มไปทางขวา
ประชาธิปไตยนั้นก็สามารถเป็นขวาได้
หรือถ้าคนหมู่มากมีแนวโน้มไปทางซ้าย
ประชาธิปไตยนั้นก็สามารถเป็นซ้ายได้เช่นกัน
มันถึงได้เป็นเหตุว่า
ทำไมประชาธิปไตย
ถึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มค่อนไปทางกลาง
เพราะมันสามารถเอนไปทางไหนก็ได้
-------------------------------------------
แต่ถ้าหากเราจัด Spectrum ทางการเมืองใหม่
บนปัจจัยของ Individualism VS Collectivism แทน
ประชาธิปไตยจะอยู่กลางค่อนมาทางซ้าย
กล่าวคือ ทุกคนมีสิทธิที่จะเชื่ออะไรก็ได้
แต่เวลาที่เราทำอะไร
เราจะต้องเคารพอำนาจกฏของสังคมที่ถูกบัญญัติโดยคนหมู่มาก
ถ้าคุณไปทางซ้ายสุดของ Spectrum นี้
คุณคือคนที่เชื่อในอนาธิปไตย
หรือคนที่ไม่สนเคารพ หรือทำตามอะไรเกี่ยวกับกฏหมู่ของสังคมเลย
ความถูกต้อง อยู่ที่คุณคนเดียว
หรือจะเรียกอีกอย่างง่ายๆคือ สภาพที่ไร้รัฐ
ในขณะที่สังคมนิยมจะค่อนไปทางขวา
คือคุณต้องคำนึงและทำอะไรเพื่อสังคมก่อนตัวเอง
แต่ถ้ากฏระเบียบนั้นจะนำมาซึ่งความเดือนร้อน
ก็สามารถผ่อนปรนให้เป็นรายกรณีได้
ในขณะที่คอมมิวนิสต์ทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ
รวมถึงเผด็จการจะอยู่ในกลุ่มขวาจัด
คือทุกคนจะต้องมีความเชื่อและทำทุกอย่างแบบเดียวกัน
อย่างไม่สามารถยอมกันได้
---------------------------------------
กลุ่มคนที่เรียกว่า Illiberal Left ที่อยู่ในโพสต์ก่อน
อาจจัดได้ว่าอยู่ฝั่งซ้ายในแกน เสรีนิยม VS อำนาจนิยม
แต่พวกเขาอยู่ในฝั่งขวาในแกน Individualism VS Collectivism
อยู่ใกล้กันกับสังคมนิยม
ค่อนไปทางคอมมิวนิสต์ในทางทฏษฎีมากกว่า
ไม่ใช่คนที่เชื่อในหลักประชาธิปไตยแท้
ที่ยอมรับในการเป็นปัจเจกชนของผู้อื่นด้วยครับ
//--------------------------------------
แก้หน่อย - จริงๆราชาธิปไตยค่อนมาทาง Individualism
คือขึ้นอยู่กับว่าผู้นำชาติเป็นคนยังไง
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過29萬的網紅jaysbabyfood,也在其Youtube影片中提到,#jaysbabyfood #storytime #lgbtinkorea ----------------------------------------- - References - - Ahn, P. (2009). Harisu: South Korean cosmetic media ...
collectivism 在 利世民 Facebook 的最佳貼文
「我只係信科學!」每次聽到這句話,都只有笑而不語;聲稱信科學的人,究竟信甚麼?
理論,可以分有用無用;但任何理論,遲早都可能被推翻。信科學,就要只有懷疑一切理論。
https://fee.org/articles/a-40-year-old-warning-on-how-humanity-s-unbound-confidence-in-science-can-undermine-reason-and-lead-to-collectivism/
collectivism 在 Facebook 的最佳解答
หมายเหตุ อันนี้โพสต์บ่นครับ
ผมอยากจะขอเล่าว่าอะไรคือ
Collectivism และ Individualism
และเพราะอะไรมันถึงเป็นต้นตอความขัดแย้งระหว่างคนสองวัย
-----------------------------
อธิบายย่อๆก่อน
Collectivism คือแนวความคิดที่ว่า
ความสามัคคีคือคุณธรรม
ทุกคนควรเชื่อในสิ่งเดียวกัน ทำสิ่งเดียวกัน
ส่วน Individualism คือแนวความคิดว่า
ความเป็นปัจเจกชนคือคุณธรรม
ทุกคนมีสิทธิที่จะเชื่อและทำในสิ่งที่ตัวเองเชื่อ
------------------------
ในสมัยเริ่มแรกนั้น
เป็นยุคที่การผลิตโภคภัณฑ์มีข้อจำกัด
และมีการรุกรานจากภายนอกที่เป็นภัยถึงชีวิต
ความสามัคคีกันเป็นสิ่งที่ทำให้คนในสังคมอยู่รอดกันได้
ถ้าคุณไม่เชื่อเหมือนคนอื่น หรือทำตามคนอื่น
คุณจะมีฐานะเป็นตัวถ่วงของสังคม
เป็นภัยอันเลวร้ายที่จะต้องถูกกำจัดทิ้ง
Collectivism มีความจำเป็นสำหรับการให้สังคมอยู่รอด
เพราะถ้าไม่ทำอย่างนั้นแล้ว
สังคมจะล่มสลายเอาได้
เช่นการที่ศาสนาคริสต์
เป็นศูนย์รวมจิตใจชาวอังกฤษสมัยถูกไวกิ้งรุกราน
หรือการที่ประชาธิปไตย
เป็นศูนย์รวมทางความคิดต่อต้านคอมมิวนิสต์
ในช่วงสงครามเย็น
---------------
แต่เมื่อวัฒนธรรมมีการพัฒนาขึ้น
ผลผลิตต่างๆเพิ่มมากขึ้น
และการรุกรานจากภายนอกลดลง
Collectivism ก็จะเริ่มลดความสำคัญลง
เพราะต่อให้คุณไม่เชื่อหรือทำตามคนอื่น
สังคมมันก็ยังอยู่รอดไปได้
และคุณเองก็ไม่ได้เดือดร้อนถึงชีวิต
อันเป็นเหตุให้ Individualism มีความเข้มแข็งขึ้น
เช่นในสมัย Renaissance
ที่มีคนไม่เชื่อในความเชื่อเดิม
และคิดค้นสิ่งใหม่ๆ
ทำให้สังคมที่ Individualism แข็งแรง
จะได้เปรียบด้านการพัฒนาวิทยาการและวัฒนธรรมมากกว่า
------------------------------------------------
------------------------------------------------
ช่วงปี 1947 - 1991 เป็นสมัยสงครามเย็น
ที่มีความขัดแย้งระหว่าง
ประชาธิปไตยทุนนิยมที่สหรัฐเป็นผู้นำ
และคอมมิวนิสต์สังคมนิยมที่โซเวียตเป็นผู้นำ
แล้วไปจบที่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
สมัยนั้นเป็นยุคที่ Collectivism ของทั้งสองฝั่งนั้นเข้มแข็ง
เพราะถ้าทุกคนไม่ร่วมแรงร่วมใจกัน
สังคมก็จะถูกกลืนทางความคิดจากอีกฝั่งแทน
มันเป็นเหตุที่ทำให้วลีจำพวก
"ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่ผิด"
เป็นของที่ยอมรับกันได้ในสมัยนั้น
----------
แต่พอสงครามเย็นจบลง
ภัยต่างๆก็เริ่มหายไป
ทำให้ความเป็น Individualism ก็เริ่มเข้มแข็งขึ้น
เป็นเหตุให้ในยุคนี้
เราสามารถพูดกันเรื่องความหลากหลายทางเพศ
สิทธิความเชื่อทางศาสนา
และเรื่องอื่นๆกันได้กันมากกว่าแต่ก่อน
ซึ่งเดิมทีมันเป็นสิ่งที่ถูกกดดันด้วย Collectivism
ว่าถ้าคุณมีความแตกต่างจากผู้อื่น
คุณเป็นภัยที่จะต้องถูกกำจัด
-------------------------------------------
-------------------------------------------
ต่อมา
คนที่โตมาในช่วงปี 1947 - 1991
ก็จะเป็นคนที่เกิดช่วงปี 1937-1981
หรือคนวัยอายุ 40-84 ปี
คนพวกนี้เติบโตมาในสมัยที่ Collectivism นั้นเข้มแข็งมาก
เขาเชื่อว่า
คุณต้องเชื่อตามสิ่งที่คุณถูกสอนมา
คุณต้องทำตามสิ่งที่คนอื่นทำ
ถ้าคุณไม่ทำตาม
คุณจะถือเป็นสิ่งแปลกปลอม
ที่เป็นพิษภัยของสังคม
**ซึ่งมันจำเป็นสำหรับเขาที่ต้องเชื่อตามเพื่อการอยู่รอดในยุคนั้น**
ด้วยเหตุนี้
คนวัยนี้จะพยายามสอนให้ทุกคนเป็นหนึ่งอันเดียวกัน
เพื่อลดความขัดแย้ง
และให้สังคมมันอยู่รอดไปได้
แต่ในขณะเดียวกัน
เราก็จะได้เจอปัญหาพวกมนุษย์ลุงมนุษย์ป้ามนุษย์ตู่
ที่ชอบพูดอะไรไร้สาระตกยุค
ยังนึกว่าโลกอยู่ในสมัยสงครามเย็นกันอยู่
เพราะเขาได้เชื่อไปอย่างสุดใจแล้วว่า
สิ่งที่เขาเชื่อนั้นเป็นสิ่งที่ถูกต้องสูงสุด
มันจะมีอะไรมาแย้งไม่ได้
-------------------
ในขณะที่คนช่วงวัย 39 ลงมา
จะโตขึ้นในยุคที่ Individualism เริ่มมีความเข้มแข็งแล้ว
โดยเฉพาะกับในกลุ่มคนที่เกิดมาก็มีอินเตอร์เน็ตใช้กันแล้ว
นั่นเพราะสังคมนั้นเปิดกว้างขึ้น
พวกเขารับรู้แนวคิดต่างๆจากโลกภายนอก
ทำให้พวกเขารู้กันด้วยว่า
สิ่งที่ถูกสอนในสังคมแคบๆของตัวเองนั้น
มันไม่ได้เป็นอะไรที่ถูกต้องไปทั้งหมด
และเป็นเรื่องขัดแย้งทางความเชื่อ
ระหว่างคนทั้งสองวัยขึ้นมา
-------------------
.......... แต่
นี่ไม่ใช่สาเหตุหลักที่ทำไมคนทั้งสองวัยถึงเข้ากันไม่ได้ครับ
มันมีประเด็นอยู่ว่า
สิ่งที่สังคม Collectivism กับ Individualism เชื่อนั้น
มันไม่ได้จำเป็นว่าจะต้องต่างกันไปทุกเรื่อง
ยกตัวอย่าง
สมมุติว่าคุณโตในสังคมที่ Collectivism เข้มแข็ง
แล้วสังคมนั้นเชื่อว่าคำสอนทางศาสนาสำคัญกว่าวิทยาศาสตร์
คุณเป็นคนเลว ถ้าคุณไม่เชื่อตาม
ถ้ามีบุคคลที่ไตร่ตรองแล้วว่าศาสนาสำคัญกว่าสำหรับเขา
แต่เขาไม่สนว่าคนอื่นจะเชื่อตามเขาหรือไม่
เขาก็ยังถือว่าเป็นบุคคลในกลุ่ม Individualism ได้
โดยที่ไม่ได้ไปขัดแย้งกับความเชื่อเดิมใน Collectivism
แต่ถ้าเขาไม่เชื่อในศาสนา
แล้วบอกว่าวิทยาศาสตร์สำคัญกว่า
อันนี้ถึงจะเป็นการสร้างความขัดแย้ง
ที่ทำให้คนสองกลุ่มเข้ากันไม่ได้
---------------------------------------------
---------------------------------------------
ทีนี้
ถ้าจะถามว่า
ทำไมคนรุ่นใหม่ตอนนี้ถึงเข้ากันคนรุ่นก่อนไม่ได้
ก็ขอสรุปง่ายๆเลยละกันครับว่า
............... เชื่อไปแล้ว
นอกจากจะไม่ได้ประโยชน์อะไร
ยังจะเดือดร้อนอีกต่างหาก
คือ ....... สมมุติว่าถ้าเรายังอยู่ในช่วงสงครามเย็นนะ
สิ่งที่ผู้ใหญ่ยุคนี้พูดมันก็อาจจะยังมีประโยชน์อยู่
เพราะมันช่วยปกป้องผู้คนจากภัยด้านนอกที่คุกคามกว่าได้
แต่สิ่งที่ผู้ใหญ่สมัยนี้พูดกับทำกันอยู่ตอนนี้
ดันกลายมาเป็นของที่มาคุกคามคนรุ่นใหม่กันแทน
ถ้าจะยกตัวอย่างที่เข้าใจโคตรจะง่าย
........ ก็คือเรื่องทางเท้า
ที่ต่อให้ตูจะสามัคคี
เชื่อมั่นว่าประเทศสารขัณฑ์ยิ่งใหญ่ขนาดไหน
มันก็ไม่ได้ทำให้ทางเท้าดีขึ้นมา
..... คือ ....
******Collectivism มันไม่ได้ทำหน้าที่ของมันครับ******
หน้าที่เดิมของ Collectivism
คือการที่ทำให้สังคมภายในเข้มแข็ง
สมมุติว่าถ้าเราเชื่อตามที่ถูกสอนไปแล้ว
ทุกคนจะกินดีอยู่ดี มีความสุข
****ได้เดินบนทางเท้าที่ปลอดภัยไม่มีกับระเบิด****
ต่อให้ผู้คนมีแนวคิด Individualism ขนาดไหน
เขาก็จะไม่พยายามต่อต้านอะไรกันขนาดนั้น
หรือสรุปก็คือ
..................
............
.......
....
...
..
.
........... จะให้ไปเชื่ออะไรคนที่แม่งไม่ทำหน้าที่ของตัวเองหรือครับ?
collectivism 在 jaysbabyfood Youtube 的最讚貼文
#jaysbabyfood #storytime #lgbtinkorea
-----------------------------------------
- References -
- Ahn, P. (2009). Harisu: South Korean cosmetic media and the paradox of transgendered neoliberal embodiment. Discourse, 31(3), 248-272.
- Arora, S., Singhai, M., & Patel, R. (2011). Gender & Education determinants of individualism — Collectivism: A study of future managers. Indian Journal of Industrial Relations, 47(2), 321-328.
- Berry, C. (2001). Asian values, family values: Film video, and lesbian and gay identities. In Sullivan, G., & Jackson P. (Ed.), Gay and lesbian Asia: Culture, identity, community. (pp. 211-232). Binghamton, NY: Harrington Park Press.
- Bong, Y. D. (2008). The gay rights movement in democratizing Korea. Korean Studies, 32(1), 86-103.
- Cho, J. P. (2009). The wedding banquet revisited: "Contract marriages" between Korean gays and lesbians. Anthropological Quarterly, 82(2), 401-422.
- Choi, J. S. (2014). Korean culture orientation: Daily-life and religious culture volume. Sonamoo Publishing.
- Jang, H. S. (n.d.). Resource center of young women service review (늘푸른 사업 리뷰). Retrieved from http://www.seoul.go.kr/info/organ/center/1318_new/info/review/1253299_13874.html
- Kim, H. Y., & Cho, J. P. (2011). The Korean gay and lesbian movement 1993-2008: from "identity" and "community" to "human rights". South Korean Social Movements: From Democracy to Civil Society, 206-223.
- Kim, Y., & Hahn, S. (2006). Homosexuality in ancient and modern Korea. Culture, Health & Sexuality, 8(1), 59-65.
- Kwak. L. G. (2012, April 25). Who murdered a 19-year old LGBT teen (누가 열아홉살 동성애자를 죽였나). Oh My News. Retrieved from http://www.ohmynews.com/nws_web/view/at_pg.aspx? CNTN_CD=A0001724998
- Lee, J. E. (2006). Beyond pain and protection: Politics of identity and iban girls in Korea. In Khor, D., & Kamano, S. (Ed.), Lesbians in east Asia: Diversity, identities, and resistance. (pp. 49-67). Binghamton, NY: Harrington Park Press.
- Novak, K. (2015). The problem with being gay in South Korea. Retrieved from http://edition.cnn.com/2015/10/18/asia/south-korea-being-gay/
- Park, H., Blenkinsopp, J., Oktem, M., & Omurgonulsen, U. (2008). Cultural orientation and attitudes toward different forms of whistleblowing: A comparison of South Korea, Turkey, and the U.K. Journal of Business Ethics, 82(4), 929-939.
- Seo, D. J. (2001). Mapping the vicissitudes of homosexual identities in South Korea. Journal of Homosexuality, 40, 65-79.
- Song, J. (2014). Living on your own: Single women, rental housing, and post-revolutionary affect in contemporary South Korea. SUNY Press.
- Do Koreans Support LGBTQ+? (Ft. Seoul Queer Parade) | ASIAN BOSS https://youtu.be/p_vsIEs72p8
- Koreans React To K-pop Singer Coming Out As Bisexual [Street Interview] | ASIAN BOSS https://www.youtube.com/watch?v=BKL9VrqLJZE
- Is South Korea's LGBT+ community being scapegoated for COVID-19 spread? https://www.dw.com/en/is-south-koreas-lgbt-community-being-scapegoated-for-covid-19-spread/a-53423958
----------------------------------------
- SNS -
Facebook: https://www.facebook.com/jaysbabyfood/
Twitter: https://twitter.com/jaysbabyfood
Instagram: https://www.instagram.com/jaysbabyfood/
----------------------------------------
- Production -
✂️Final Cut Pro
Music by Eric Reprid - Back to Business - https://thmatc.co/?l=3ED40649
Music by ninjoi. - Acceptance - https://thmatc.co/?l=B8A316A
Music by Cassette Tapes - Balance - https://thmatc.co/?l=55784255
----------------------------------------
- Business Inquiries Only -
jaysbabyfood@gmail.com
or LINE: @jaysbabyfood (with @)
----------------------------------------
collectivism 在 Understanding Collectivist Cultures - Verywell Mind 的相關結果
Collectivism stresses the importance of the community, while individualism is focused on the rights and concerns of each person. Where unity and ... ... <看更多>
collectivism 在 collectivism | sociology | Britannica 的相關結果
collectivism, any of several types of social organization in which the individual is seen as being subordinate to a social collectivity such as a state, ... ... <看更多>
collectivism 在 Collectivism - Wikipedia 的相關結果
Hofstede insights describes collectivism as: "Collectivism, represents a preference for a tightly-knit framework in society in which individuals can expect ... ... <看更多>