เราตรวจหาเชื้อโควิด-19 ได้อย่างไร?
“มึงว่ากูติดยังวะ?” น่าจะเป็นคำถามที่คนถามมากที่สุดกันในช่วงนี้ ซึ่งวิธีเดียวที่จะรู้ได้แน่ๆ ว่าติดหรือไม่ติด ก็คือการ “ไปตรวจ” ว่าแต่ว่าการตรวจนี่เขาทำกันอย่างไร? ทำไมมันถึงแพงและใช้เวลานาน? เราพอจะมีวิธีอื่นที่จะตรวจได้เร็วกว่านี้หรือไม่
*ทำไมตรวจหาไวรัสจึงไม่ได้ตรวจได้ง่ายๆ?*
ถ้าจะให้อธิบายง่ายๆ ไวรัสก็เป็นแค่สารพันธุกรรมที่ทำจาก RNA และหุ้มด้วยเปลือกนอกที่ทำจากโปรตีนและไขมัน ปัญหาที่ท้าทายอย่างหนึ่งของการตรวจหาเชื้อไวรัสก็คือ ไวรัสนั้นมีขนาดเล็กมากเกินกว่าที่จะส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาได้ และปัจจุบันนี้นั้นเราก็ยังไม่พบวิธีที่จะสามารถเพาะเชื้อไวรัสภายนอกร่างกายของมนุษย์ได้ เราจึงไม่สามารถตรวจไวรัสจากการเพาะเชื้อได้ นอกไปจากนี้ในช่วงแรกๆ ของการติดต่อนั้นจำนวนอนุภาคไวรัสอาจจะมีน้อยมากเสียจนไม่สามารถตรวจวัดได้ด้วยวิธีปรกติ
วิธีหนึ่งที่เราสามารถตรวจหาเชื้อไวรัสได้ ก็คือการตรวจหาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ผลิตออกมาเพื่อต่อสู้กับเชื้อไวรัส (วิธี IgG/IgM) ซึ่งวิธีนี้ค่อนข้างสะดวกและรวดเร็ว และเหมาะกับการช่วยสกรีนผู้ป่วยแต่เนิ่นๆ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวิธีนี้นั้นใช้ตรวจหาภูมิคุ้มกันที่สร้างขึ้นมา ในระยะแรกๆ ของการติดเชื้อร่างกายอาจจะยังไม่ได้สร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมา ผลที่เป็นลบโดยวิธีนี้จึงไม่สามารถยืนยันได้อย่างแน่นอนว่าไม่ได้มีเชื้อไวรัสอยู่ในร่างกาย และเป็นการตรวจว่า "เราเคยติดเชื้อโควิด-19 แล้วหรือยัง" เสียมากกว่า ซึ่งกว่าจะตรวจวิธีนี้พบก็อาจจะปาเข้าไปสองอาทิตย์[2][3] ซึ่งตอนนั้นก็เลยเวลาที่ควรจะต้องกักตัวไปแล้ว
ดังนั้นหากเราต้องการจะตรวจดูว่าเราติดเชื้อหรือยัง ตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อกักตัว วิธีเดียวที่จะทำได้ก็คือการตรวจหาลำดับของกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ที่เป็นสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 ที่ทำให้เกิดโรคโควิด-19
ความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เราเพิ่งจะรู้จักกับสารพันธุกรรมที่เรียกว่า DNA เมื่อไม่นานมานี้นี่เอง เราเพิ่งจะทราบว่า DNA มีโครงสร้างคล้ายบันไดเกลียวแค่เพียงประมาณ 50 ปีที่แล้ว และการใช้รหัสพันธุกรรมที่จำเพาะของ DNA ในการตรวจสอบทางนิติเวชก็เพิ่งจะเกิดขึ้นเมื่อปีค.ศ. 1986 นี่เอง แต่ด้วยความเข้าใจเรื่องชีวโมเลกุลที่เพิ่มมากขึ้นทำให้ทุกวันนี้เรามีเทคโนโลยีเพียงพอที่จะสามารถตรวจหารหัสพันธุกรรมของเชื้อไวรัสในผู้ป่วยแต่เนิ่นๆ ได้ในแบบที่เราไม่เคยทำได้มาก่อน
สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตนั้นถูกเขียนอยู่ในรูปของกรดนิวคลีอิก ซึ่งเปรียบได้กับตัวอักษรหนึ่งตัวในสมุดเล่มหนาๆ ที่เป็นรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดนั้นประกอบขึ้นจากตัวอักษรเพียงแค่สี่ตัว ได้แก่ C, G, A, T (หรือ U ในกรณีของ RNA) ซึ่งใน DNA นั้น เบสแต่ละตัวจะจับคู่กันกับคู่ของมัน โดย C จะคู่กับ G, A คู่กับ T เปรียบได้กับตัวต่อที่ลงล๊อคกันพอดี ใน DNA จึงประกอบขึ้นเป็นสายสองสายที่คู่กัน พันกันเป็นเกลียวคล้ายบันไดเวียน
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกใช้ “ตัวอักษร” และ “ภาษา” เดียวกันในการถอดรหัสสารพันธุกรรมไปเป็นโปรตีน สิ่งเดียวที่ทำให้เราแตกต่างจากไวรัสก็คือ “เนื้อหา” ซึ่งขึ้นอยู่กับ “ลำดับ” ของการเรียงตัวอักษรในพันธุกรรม แม้กระทั่งเซลล์ร่างกายของเราก็ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าสารพันธุกรรมเส้นใดเป็นของเรา และเส้นใดเป็นของไวรัส นี่คือเหตุผลว่าทำไมรหัสพันธุกรรมของไวรัสจึงสามารถใช้ทรัพยากรของเซลล์เราในการเพิ่มจำนวนได้ แต่ในขณะเดียวกันนั่นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถแยกได้ว่าสารพันธุกรรมใดมาจากร่างกายของเรา และสารพันธุกรรมใดมาจากเชื้อไวรัส แต่เนื่องจากรหัสพันธุกรรมที่ประกอบขึ้นเป็นมนุษย์อย่างเรานั้น แตกต่างจากรหัสที่ทำให้ไวรัสเป็นไวรัสที่ร้ายแรงและสร้างโรคติดต่อได้ หากเราสามารถหาวิธีที่จะ “อ่าน” และค้นหาลำดับการเรียงตัวของรหัสพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจงที่ไม่พบในสิ่งมีชีวิตอื่นใดอีกเลยนอกไปจากเชื้อที่ทำให้เกิดโรคโควิด-19 อยู่ภายในร่างกายของเรา เราก็จะยืนยันได้ว่าเรามีเชื้อไวรัสอยู่
แต่ปริมาณของสารพันธุกรรมที่เราเก็บได้จากผู้ป่วยนั้นมีเพียงน้อยนิด ในตัวอย่างหนึ่งเราอาจจะมีสารพันธุกรรมเพียงแค่ 100 เส้นต่อการเก็บตัวอย่างหนึ่งครั้ง ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อยและมีขนาดเล็กเกินกว่าจะสามารถสังเกตเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์ใดๆ ได้ และปัจจุบันเรายังไม่มีวิธีใดที่จะหยิบบันไดเกลียวขนาดเล็กนี้มาเปิดอ่านราวกับเป็นหน้าหนังสือได้โดยตรง
แต่เนื่องจากสารพันธุกรรมนั้นเป็นสิ่งที่สามารถจำลองและเพิ่มจำนวนตัวเองได้ตามธรรมชาติ เราจึงสามารถพึ่งคุณสมบัตินี้ในการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมของไวรัสให้มีมากพอที่เราจะสามารถตรวจสอบได้
*วิธีตรวจมาตรฐานแบบ RT-PCR*
วิธีมาตรฐานที่แม่นยำที่สุดที่ยอมรับกันทั่วโลกและถือเป็นมาตรฐาน (Gold Standard) ในปัจจุบันก็คือ วิธีการตรวจหารหัสพันธุกรรมของ SARS-CoV-2 ผ่านทางกระบวนการที่เรียกว่า RT-PCR (Real-Time PCR)
วิธีนี้เริ่มจากสกัดและถอดรหัส RNA ของไวรัสในตัวอย่างให้อยู่ในรูปของ DNA (เรียกว่าขั้นตอน Reverse Transcription) จากนั้นเราจึงใช้คุณสมบัติของ DNA ในการจำลองตัวเองในธรรมชาติ เพื่อเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมของไวรัสในหลอดทดลองให้มากพอที่จะสามารถตรวจวัดได้ ผ่านทางปฏิกิริยาการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมแบบลูกโซ่ที่เรียกว่า Polymerase Chain Reaction (PCR)
ในการจำลองสารพันธุกรรมนั้น ขั้นแรกเราจะต้องมีการคลายเกลียว DNA และแยกออกจากกันก่อน โดยในหลอดทดลองเราทำได้โดยการเพิ่มความร้อนไปที่ 95°C จากนั้นเมื่อคลายเกลียวออกจากกันแล้วเราจะลดอุณหภูมิลงมาที่ 58°C และสาย DNA สั้นๆ ตั้งต้นที่เรียกว่า primer จะจับเฉพาะกับ DNA ที่ตรงกับรหัสพันธุกรรมของไวรัส และกรดนิวคลีอิกในสารละลายจะค่อยๆ จับกับคู่ของตนบนสาย DNA ที่คลายเกลียวออกทีละคู่ จนสุดท้ายจาก DNA หนึ่งเกลียว เราจะได้ออกมาเป็นสองเกลียวที่มีรหัสพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ และหากเราทำซ้ำไปเรื่อยๆ สัก 45 ครั้ง เราก็จะสามารถเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมในตัวอย่างของเราขึ้นมาเป็น 2^45 หรือประมาณ 35 ล้านเท่า
ในระหว่างนี้ เราสามารถออกแบบโมเลกุลมาโมเลกุลหนึ่ง ที่มีรหัสส่วนหนึ่งของเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ไม่ได้ซ้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่นใด (สำหรับการตรวจหาโรคโควิด-19 เราใช้รหัส CAGGTGGAACCTCATCAGGAGATGC)[1] ติดกับโมเลกุล reporter ที่สามารถเรืองแสงได้เมื่อจับเข้ากับรหัสพันธุกรรมที่พอดีกันของไวรัส ซึ่งหากเครื่องมือ RT-PCR สามารถสังเกตเห็นแสงนี้ได้ ก็จะเท่ากับเป็นการยืนยันว่าในตัวอย่างนี้มีรหัสพันธุกรรมของไวรัสอยู่จริง โดยในวิธี Real-Time PCR นั้นการเพิ่มจำนวนจะทำไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีปริมาณสารพันธุกรรมของไวรัสมากพอที่สามารถตรวจพบได้ ซึ่งหากตัวอย่างนั้นมีอนุภาคไวรัสอยู่เยอะก็อาจจะพบหลังจาก cycle การเพิ่มจำนวนไปไม่มาก และใช้เวลาไม่นาน แต่หากตัวอย่างมีน้อยมากหรือไม่มี ก็จะต้องทำซ้ำไปถึง 40-50 cycle เพื่อให้แน่ใจว่าในตัวอย่างนั้นไม่มีสารพันธุกรรมของไวรัสจริงๆ
แม้ว่าวิธีการตรวจหารหัสสารพันธุกรรมในปัจจุบันจะได้รับการพัฒนาให้ถูกและเร็วกว่าเมื่อไม่ถึงสิบปีที่ผ่านมาเป็นอย่างมาก แต่ว่าวิธีดังกล่าวนั้นก็ยังมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง และใช้เวลาที่ค่อนข้างนานหลายชั่วโมง นอกไปจากนี้ยังต้องใช้เครื่องมือพิเศษที่ทั้งสามารถปรับ cycle อุณหภูมิที่พอเหมาะได้ และสามารถตรวจวัดแสงที่เรืองออกมาจากโมเลกุลของ reporter ที่ตรวจพบรหัสพันธุกรรมที่เรากำลังมองหา เนื่องจากเครื่องมือเหล่านี้นั้นมีจำกัด ขั้นตอนใหญ่ๆ ของการตรวจจึงเสียไปกับการส่งตัวอย่างที่เก็บได้ไปยังห้องทดลอง
จะเห็นได้ว่ากว่าจะได้คำตอบมาว่า “มึงว่ากูติดยังวะ” นั้นไม่ได้ง่ายๆ เลย และต้องผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนที่ทั้งยุ่งยากและเสียเวลาและทรัพยากรพอสมควร ซึ่งทั่วโลก แม้กระทั่งในไทยเอง ก็มีการศึกษาหาวิธีอื่นที่อาจจะลดขั้นตอนที่ยุ่งยากเหล่านี้ให้ถูก และเร็วกว่าได้อีก
*วิธีตรวจแบบใช้อุณหภูมิคงที่ loop-mediated isothermal amplification (LAMP)*
วิธีแรกที่เรียกสั้นๆ ว่า “LAMP” นั้น อาศัยการออกแบบชิ้นส่วนของ DNA ตั้งต้น ที่เราเรียกว่า primer ที่มีความสามารถในการเบียดแทนกัน และขดเป็นวงได้ คุณสมบัติพิเศษทั้งสองของ primer ที่ออกแบบนี้นั้น ทำให้เราสามารถทำการเพิ่มจำนวนของ DNA โดยที่ไม่ต้องผ่านขั้นตอนการคลายเกลียวออก ซึ่งนั่นหมายความว่าเราสามารถข้ามขั้นตอนการ cycle เปลี่ยนอุณหภูมิ และสามารถทำการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมทั้งหมดได้ที่อุณหภูมิคงที่เพียงอุณหภูมิเดียว (isotherm)
เนื่องจากด้วยวิธีนี้เราสามารถทำ PCR ได้ที่อุณหภูมิที่คงที่เพียงอุณหภูมิเดียว ทำให้เราสามารถใช้เครื่องมือที่มีต้นทุนที่ถูกกว่า และแพร่หลายกว่าในการทดสอบได้ โดยเราสามารถใช้เครื่องมือปรกติที่หลายๆ โรงพยาบาลทั่วประเทศมีอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องส่งตัวอย่างมาตรวจที่ห้องทดลองที่มีเครื่องมือเฉพาะ
และด้วยวิธี LAMP นี้ เราสามารถเติมสารลงไปที่จะเกิดการตกตะกอนและเกิดสีเมื่อมีรหัสพันธุกรรมตรงกับรหัสของเชื้อ SARS-CoV-2 ที่เรากำลังหา ซึ่งการเกิดตะกอนนี้สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า และสามารถกำจัดการใช้เครื่องมือเพื่อยืนยันการเปล่งแสงไปได้อีก
นอกไปจากนี้ การตัดขั้นตอนการเปลี่ยนอุณหภูมิยังทำให้ทั้งค่าใช้จ่ายและเวลาที่ใช้ในการตรวจลดลง ผลที่ได้ก็คือการตรวจที่ทั้งถูก และเร็วกว่าวิธี RT-PCR ปรกติ
ซึ่งสำหรับวิธีนี้นั้น ในประเทศไทยก็มีทีมนักวิจัยที่กำลังทำการศึกษาวิจัยวิธีนี้อยู่ โดยได้ทำการทดสอบวิธี LAMP กับกลุ่มตัวอย่างควบคู่ไปกับการตรวจเชื้อในโรงพยาบาลโดยวิธีมาตรฐานมาตลอด และปัจจุบันอยู่ระหว่างการทดสอบกับหน่วยงานกลางเพื่อรอการรับรองให้สามารถนำมาใช้จริงในวงกว้างเพื่อเสริมการทำงานของการทดสอบแบบ RT-PCR ซึ่งจะทำให้สามารถตรวจเชื้อได้กว้างขึ้น ด้วยเวลาที่สั้นลง และค่าใช้จ่ายที่ถูกลง
*วิธีตรวจโดยใช้เทคโนโลยี CRISPR-Cas13*
อีกวิธีหนึ่งที่กำลังมีการวิจัยอยู่ ก็คือวิธีการตรวจสอบผ่านทางโปรตีนที่เรียกว่า CRISPR-Cas13 โปรตีนกลุ่ม CRISPR (อ่านว่า คริส-เปอร์) นี้เป็นโปรตีนที่พบในแบคทีเรีย ในธรรมชาตินั้นแบคทีเรียใช้โปรตีนเหล่านี้เป็นกลไกในการการจดจำรหัสพันธุกรรมของไวรัส และสู้กับไวรัสในธรรมชาติ
ในโปรตีน CRISPR นั้น จะมีส่วนของ guide RNA ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ guide RNA นั้นจับคู่เข้ากับรหัสพันธุกรรมที่ตรงกับที่ระบุเอาไว้ใน guide RNA โปรตีน CRISPR ก็จะทำงาน และจะทำหน้าที่คล้ายๆ กับกรรไกรเริ่มตัดสาย RNA ของไวรัสทิ้งเสีย ซึ่งการที่ CRISPR สามารถเอาส่วนของ RNA ไวรัสใหม่มาเป็น guide RNA และสามารถทำลาย RNA ของไวรัสได้นั้น เป็นกลไกหลักๆ ที่ทำให้แบคทีเรียสามารถตอบสนองและต่อสู้กับไวรัสชนิดใหม่ๆ ที่พบได้ในธรรมชาติ
ปัจจุบันเรามีงานวิจัยที่พยายามใช้ประโยชน์จาก CRISPR เป็นจำนวนมาก โดยเราสามารถใช้ CRISPR ในการหารหัสพันธุกรรมที่ต้องการ ทำการตัดรหัสพันธุกรรมเหล่านั้นทิ้งเสีย และเราสามารถออกแบบให้มันทดแทนรหัสพันธุกรรมที่ตัดทิ้งไปด้วยรหัสพันธุกรรมใหม่ที่เราใส่เข้าไป เราจึงสามารถใช้ CRISPR ในการตัดต่อพันธุกรรมได้ไม่ต่างอะไรกับฟังก์ชั่น Find and Replace บนคอมพิวเตอร์ และวิธี CRISPR นี้ก็เป็นวิธีเดียวกับที่นักวิจัยจากจีนได้ทำการตัดต่อพันธุกรรมทารกคู่แฝดที่ตัดต่อพันธุกรรมคู่แรกของโลก เพื่อให้มียีนที่ทนทานต่อเชื้อ HIV
โปรตีน CRISPR-Cas13 นั้นเป็นโปรตีนตัวหนึ่งในกลุ่มของ CRISPR แต่มีความพิเศษกว่าตรงที่ เมื่อมันจับเข้ากับ guide RNA แล้วนั้น มันจะทำการตัด RNA ทุกอย่างรอบตัว ไม่ว่า RNA นั้นจะเกี่ยวข้องกับรหัสที่มันกำลังหาอยู่หรือไม่ก็ตาม ซึ่งถึงแม้ว่าความไม่จำเพาะเจาะจงของ CRISPR-Cas13 นั้นจะไม่มีประโยชน์ในการนำไปตัดต่อพันธุกรรม แต่เราพบว่าเราสามารถนำมันมาใช้ได้ในการตรวจหาโรค
เนื่องจาก CRISPR-Cas13 นั้นจะไม่ทำงานจนกว่ามันจะพบกับ RNA ที่เข้าคู่ได้กับ guide RNA มันจึงมีความเจาะจงเฉพาะกับรหัสพันธุกรรมของไวรัสที่เรากำลังหาเพียงเท่านั้น และเนื่องจากเมื่อมันถูก activate แล้วนั้นการตัดของมันสามารถตัดสาย RNA อื่นได้ด้วย เราจึงสามารถออกแบบโมเลกุล reporter ที่ถูกเชื่อมเอาไว้โดย RNA สายสั้นๆ
เมื่อใดก็ตามที่ตัวอย่างของเรามีรหัสพันธุกรรมที่เข้าคู่กันได้กับ guide RNA ที่เราใส่ลงไปใน CRISPR-Cas13 โมเลกุล reporter ที่ปลายทั้งสองของ RNA สายสั้นๆ จะถูกแยกออก ซึ่งเราสามารถออกแบบแถบกระดาษที่ทำให้ reporter เหล่านี้ไปติดที่คนละตำแหน่งได้ ขึ้นอยู่กับว่ามันถูก CRISPR-Cas13 ตัดหรือยัง ซึ่งทำให้เราสามารถออกแบบเครื่องมือตรวจที่สามารถทำได้โดยการหยดสารพันธุกรรมลงไปบนแถบกระดาษ และขึ้นขีดขึ้นมาคนละตำแหน่งขึ้นอยู่กับว่ามีพันธุกรรมของไวรัสอยู่ในตัวอย่างแล้วหรือยัง
ซึ่งวิธีนี้นั้น นอกจากจะถูกกว่า และรวดเร็วกว่าวิธี RT-PCR มาตรฐานแล้ว ยังได้เปรียบตรงที่การอ่านผลนั้นทำได้โดยง่ายโดยการอ่านแถบสีบนกระดาษ ไม่ต่างอะไรกับที่ตรวจครรภ์ธรรมดา
ปัจจุบันสำหรับประเทศไทย ทีมนักวิจัยจาก VISTEC กำลังทำการวิจัยเครื่องมือตรวจหาโรคโควิด-19 ด้วยวิธี CRISPR-Cas13 นี้ โดยได้ทำการทดสอบกับตัวอย่างเชื้อจากผู้ติดเชื้อจริงแล้ว และกำลังอยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่รอการรับรองก่อนสามารถนำไปใช้จริง
*หมายเหตุ* สำหรับโพสต์นี้เป็นโพสต์ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างผม ทีมนักวิจัยจาก VISTEC ที่กำลังทำเครื่องมือทดสอบโดย CRISPR-Cas13 และอีกทีมนักวิจัยที่กำลังพัฒนาเครื่องมือทดสอบแบบ LAMP โดยไม่แสวงหากำไรและไม่ประสงค์จะออกนาม และขอขอบคุณภาพวาด โดยคุณตุลย์ กับ คุณจินดา จาก www.picturestalk.net ที่อาสาจะวาดภาพให้โดยไม่แสวงหาค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6988269/
[2] https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.02.20030189v1?fbclid=IwAR2dckugSvn277FBWU_-RH8MvYvqOm0l9aji9qzx9FpxQMnd1mOIAG5hsmI
[3] https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.02.20030189v1?fbclid=IwAR2dckugSvn277FBWU_-RH8MvYvqOm0l9aji9qzx9FpxQMnd1mOIAG5hsmI
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
dna amplification 在 潘小濤 Facebook 的精選貼文
請傳給你認識的外國朋友
(繼續發酵!英文翻譯上線!幫手推!)🔥 有外媒相繼報道了關於袁國勇、龍振邦兩位教授疑似因壓力而撤回《明報》專欄文章一事,有手足更花了時間,把文章譯作英文。西方社會是需要知道真相的,請廣傳給在外國的朋友:
[On Mar 18 2020, Professor David Lung at the University of Hong Kong and his colleague Professor Yuen Kwok-yung, a world-renowned expert in microbiology and infectious diseases, withdrew their op-ed in the Chinese-language newspaper Ming Pao, in which they elucidated the origin and naming of the Wuhan Coronavirus, and criticized "inferior Chinese culture" for being the origin of the present pandemic. This led to allegations that the Chinese and Hong Kong governments are covering up the truth and suppressing academic freedom. Below is an English translation of this op-ed. Please spread the word and expose the truth!]
Outbreak in Wuhan shows that lessons from seventeen years ago are forgotten - David Lung and Yuen Kwok-yung, University of Hong Kong [translated from Chinese]
The novel coronavirus outbreak began in Wuhan in Winter 2019, and engulfed the entire province of Hubei by Spring 2020; the number of cases in China grew to over 80,000, with at least 3,000 deaths. The outbreak in China slowed down only after a month-long lockdown, which has failed to curtail the spread of the disease overseas by March 2020. The World Health Organization (WHO) was sluggish in response and failed to declare this a pandemic in a timely fashion. Shortage of relevant measures and protective gear around the world contributed to the global outbreak. Singapore, Hong Kong, Macau, and the Republic of China have so far been spared of the pandemic, though cases linked to overseas travel have yet to cease.
This pandemic is caused by a coronavirus, thus named because of its shape. From 2015 onwards, the WHO has ceased to name diseases using monikers for people, places, animals, food, culture, or occupations. As such, they labeled the disease using the year of the outbreak; thus the designation COVID-19. The International Committee on Taxonomy of Viruses (ICTV) used viral genome sequencing as the sole criterion for the naming of viruses; because the similarity between the genetic sequences of the SARS coronavirus and the present novel coronavirus, which therefore is not truly "novel", the ICTV designated the novel coronavirus as "SARS-CoV-2.0". Media organizations and the public call this the Wuhan Coronavirus or the Wuhan Pneumonia; this is perfectly fine because of its simplicity.
There has been heated debate over the naming of the pandemic. As a matter of fact, the disease is named by the WHO and the virus is named by the ICTV; the common name is purely a customary matter and suffices to serves it purpose as long as it is simple and clear. The official names of COVID-19 for the disease, or SARS-CoV-2 for the virus, must be used in scientific and academic discourse. However, the simplicity of the popular designations "Wuhan Coronavirus" and "Wuhan Pneumonia" are far more conducive to daily communication and conversations in the media.
The 2020 pandemic originated in Wuhan
Roughly 75% of novel diseases can be traced to wild animals; the ancestral virus from which several mammalian coronaviruses descend can be traced to bats or birds, both of which can fly over a distance of several thousands of kilometers to the location of first discovery of the virus. As such, the nomenclature of viruses may utilize the name of the location of discovery. The most accurate and objective means to identify the origin of the virus is to isolate the virus from the animal host. However, the Huanan Seafood Market had been cleared, and live wild animals vacated, by the time researchers had arrived for live samples. Consequently, the identity of the natural and intermediate hosts of the coronavirus is unclear. According to local personnel, the wild games in the Huanan Seafood Market are shipped and smuggled from various locations in China, Southeast Asia, and Africa; it remains impossible to identify the ancestry of the Wuhan Coronavirus.
Viral genome sequencing shows a 96% similarity between the Wuhan Coronavirus and the viral strain RaTG13 found in bats, lending credence to the belief that the RaTG13 strain is the ancestral virus for the Wuhan Coronavirus. This viral strain can be isolated from the bat species Rhinolophus sinicus found in Yunnan, China; thus bats are believed to be the natural host to the Wuhan Coronavirus. Epidemiological studies show definitively that the Huanan Seafood Market was the amplification epicenter, where the transmission of the virus from the natural host to the intermediate host likely occurred, before a mutation to a form that can adapt to the human body, followed by human-to-human transmission.
The identity of the intermediate host remains unclear; viral genome sequencing, however, reveals a 90% similarity between the spike receptor-binding domain of the Wuhan Coronavirus and of the coronavirus strain found in pangolins. While uncertainties remain for us to unambiguously identify the pangolin as the intermediate host, it is extremely likely that the pangolin coronavirus strain donated the spike receptor-binding domain genetic sequence, or even the entire gene section, to the bat coronavirus strain, culminating in the novel coronavirus upon DNA shuffling.
Wild animal market: the origin of numerous viruses
The SARS outbreak in 2003 can be traced to Heyuan prior to engulfing Guangdong and ravaging Hong Kong. The SARS Coronavirus was found in the masked palm civet; China has subsequently outlawed the sales of live wild animals. Seventeen years later, wild animal markets have instead grown unabashed, in flagrant violation of the law. The Chinese people have forgotten the lessons of SARS in their entirety. The glaring appearance of live wild animal markets in city centers, and the egregious acts of selling, cooking, and eating these wild animals, constitute a stunning and blatant disregard for the laws. The feces of these wild animals carry large concentrations of bacteria and viruses; the crowded set-up, the poor hygiene, and the proximity of different animal species are extremely conducive to DNA shuffling and genetic mutations. As such, these markets need to be banned outright.
Remodeling of markets is key to the prevention of epidemics. The Chinese and Hong Kong governments must promptly improve the set-up of markets by enhancing ventilation and getting rid of rats and pests. Before the elimination of all live poultry markets becomes a reality, animal feces found in these markets must be handled properly to lower the chances of genetic shuffling between viruses.
Internet conspiracies of an U.S. origin of the virus is not supported by facts, and only serves to mislead the public. The dissemination of conspiracy theories needs to stop. Transparency is first and foremost in the fight against an epidemic; we need cool heads and rational analysis in place of hearsay and falsehood. The failure to close all live wild animal markets post-SARS was a colossal mistake; to win the battle over the pandemic, we must face reality, and not repeat the same mistakes while leaving the blame upon others. The Wuhan Coronavirus is a product of inferior Chinese culture -\-\ the culture of recklessly catching and eating wild animals, and treating animals inhumanely, with an utter disrespect and disregard of lives. This inferior culture of the Chinese people -\-\ specifically the consumption of wild animals to satiate themselves -\-\ is the true origin of the Wuhan Coronavirus. If these habits and attitudes remain in place, SARS 3.0 will certainly happen in a matter of a decade or so.
以上翻譯來自:
一個窮科學家移民美國的夢幻故事
外媒報道:
https://www.nytimes.com/…/19reuters-health-coronavirus-hong…
https://www.nasdaq.com/…/adviser-to-hong-kong-on-coronaviru…
dna amplification 在 葉漢浩 Alex Ip Facebook 的最佳貼文
被撤回的文章,英文版如下,please Share to your network.
The English version of Prof Yuen and Prof Lung's article is already available: 👇🏻
18 Mar 2020: David Christopher Lung, Yuen Kwok-yung: Pandemic Originated from Wuhan; Lesson from 17 Years Ago Forsaken
Winter of Jihai (2019), a virus began in Wuhan. Comes spring of Gengzi (2020), an epidemic broke out in Hubei. Within China, there were 80,000 confirmed cases, and 3,000 deaths. People were confined in their homes and the epidemic only began slowing down towards the end of the month, yet the virus had leaked to the world outside before it could be stopped. In March, it was a pandemic, only it was announced too late by the World Health Organization (WHO). Countries lacked measures and reserves, and the pandemic swept across the globe. Singapore, Hong Kong, Macau, and Taiwan were spared from the pandemic with continuous sprinkles of overseas imported cases and small groups, but have not yet fallen.
This pandemic came from a virus, shaped like a corona, hence named Coronavirus. Since 2015, WHO has avoided using names of people, places, animals, food, culture, occupation, etc., to name illnesses. For this one, the “year” was used for differentiation, COVID-19. In the naming of viruses, International Committee on Taxonomy of Viruses (ICTV) analyses only the genome sequencing meticulously and disregards the other aspects. Since the genome sequence of this Coronavirus was “not novel enough”, it belongs in the same sisterhood with the SARS Coronavirus, also known as SARS 2.0 (SARS-CoV-2). Local and international media call it the Wuhan Coronavirus or Wuhan Pneumonia, simple and straight-forward, which is not incorrect.
Much controversy has resulted in society regarding the name of this pandemic. In fact, the illness was named by WHO, while the virus was named by ICTV. Nicknames are conventional, as long as they are clear and understood. In scientific discussions or academic exchanges, COVID-19 or SARS-CoV-2 must be used. In daily public communications or media wordings, Wuhan Coronavirus or Wuhan Pneumonia are both conventional, easy to understand, and great for communication purposes.
The Pandemic of Gengzi, an Origin in Wuhan
Around 75% of the newly discovered infectious diseases originated from wild animals. Among the few that could infect mammals is the Coronavirus, whose ancestral virus originated from bats or avians. Both have the ability to fly thousands of miles to the place the virus was first discovered, therefore the naming of a virus would also include its place of origin. To investigate the origin of a virus, the correct and objective way is to isolate the virus from the animal host. Unfortunately, since Huanan Seafood Wholesale Market was eradicated early on, the wild animals in the market were already gone by the time researchers had arrived to collect samples. The identities of the natural host and the intermediate host became a mystery. According to the locals, the wild animals sold within the Market came from all over China, Southeast Asia, and Africa (smuggled) to be distributed from there. The ancestral virus of the Wuhan Coronavirus cannot be determined.
Using genome sequencing to determine its origin, a bat Coronavirus stand (RaTG13) was found to be extremely similar to the Wuhan Coronavirus, with a sequencing similarity of 96%, therefore it is believed to be the ancestral virus stand of this Wuhan Coronavirus. This particular virus strand was obtained and isolated from Yunnan bats (Rhinolophus sinicus), and bats are believed to be the natural host of this Wuhan Coronavirus. Epidemiology clearly indicated Huanan Seafood Wholesale Market as the amplification epicenter, where there was a huge possibility that the virus had cross-infected between the natural host and the intermediate host, and then mutated within the intermediate host to adapt to the human body, followed by human-to-human infections.
The identity of the intermediate host remains unknown, but genome sequencing indicated that the Spike Receptor-binding domain of the Wuhan Coronavirus has a 90% similarity to that of the pangolin Coronavirus strand. Although the pangolin could not be confirmed as the intermediate host, it is highly possible that this pangolin Coronavirus strand donated Spike Receptor-binding domain DNA (or even the entire sequence) to the bat Coronavirus strand. Though gene shuffling recombination, the novel Coronavirus was born.
Wild Animal Market, the Origin of Innumerable Viruses
The 2003 SARS virus originated from Heyuan, became an epidemic in Guangdong, and passed to Hong Kong. The SARS Coronavirus was found in civets, and China clearly banned the trading of wild animals afterward. 17 years on, the wild animal market has run amuck. The Chinese have outright forgotten the lessons from SARS and have allowed a live wild animal market to exist within the centre of a highly developed city, with wild animals being cooked and eaten in brought daylight – simply astonishing. The feces of the animals within a live wild animal market contain a large amount of germs and viruses. With a crowded environment, vile hygiene, and a mix of wild animal species, gene shuffling and mutation could easily occur in viruses, therefore these markets must be banned.
Reform of the wet markets should be a focus of epidemic prevention. The mainland Chinese and Hong Kong governments must quickly improve these environments by enhancing ventilation and pest control. Before the complete elimination of live-animal markets, animal feces must be well handled to minimise the chances of gene shuffling in viruses.
The online rumour that the virus originated from USA was absolutely groundless, delusional. Stop spreading the falsity before we expose ourselves to ridicule. To remain calm before a pandemic, informational transparency is of the utmost importance. With calm and objective analysis, refrain from parroting others and spreading hearsay. Not strictly enforcing the closure of all wild animal markets after SARS was a grave mistake. In order to defeat an illness, one must own up to the mistakes and face the truths. Stop committing the same mistakes and putting the blame onto others. The Wuhan Coronavirus was a product of the inferior culture of the Chinese people: excessive hunting and ingesting wild animals, inhumane treatment of animals, disrespecting lives. Continuing to devour wild animals for human desires, the deep-rooted bad habits of the Chinese people are the real origin of the virus. With this attitude, in a dozen years, SARS 3.0 is bound to happen.
(Dr Lung graduated in 2004 from the University of Hong Kong, Faculty of Medicine with distinction in Medicine. He currently works in the Hong Kong Children’s Hospital, where he built up the microbiology team and lab. Yuen Kwok-yung is a Professor and Chair of Infectious Diseases of the Department of Microbiology of the University of Hong Kong)
(Original image by Ming Pao)
https://news.mingpao.com/pns/%e8%a7%80%e9%bb%9e/article/20200318/s00012/1584470310596/%e9%be%8d%e6%8c%af%e9%82%a6-%e8%a2%81%e5%9c%8b%e5%8b%87-%e5%a4%a7%e6%b5%81%e8%a1%8c%e7%b7%a3%e8%b5%b7%e6%ad%a6%e6%bc%a2-%e5%8d%81%e4%b8%83%e5%b9%b4%e6%95%99%e8%a8%93%e7%9b%a1%e5%bf%98
dna amplification 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
dna amplification 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
dna amplification 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
dna amplification 在 DNA Amplification, PCR & qPCR | NEB 的相關結果
Rather than isolate a single copy of the target DNA from a large number of cells, it is often more useful to generate multiple copies of a target from a single ... ... <看更多>
dna amplification 在 Polymerase Chain Reaction (PCR) Fact Sheet - National ... 的相關結果
Polymerase chain reaction (PCR) is a technique used to "amplify" small segments of DNA. What is PCR? ... <看更多>
dna amplification 在 DNA Amplification: Current Technologies and Applications 的相關結果
DNA amplification is a powerful technique that has had an immense impact on scientific research in the past 2 decades. While polymerase chain reaction (PCR) ... ... <看更多>