根據一份刊登於《自然》(Nature)期刊的研究發現,如果當年沒有簽訂《蒙特婁公約》(Montreal Protocol),禁止使用氟氯碳化物(CFC),到本世紀末全球將會再多升溫攝氏2.5度。
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過4,830的網紅angealbk201,也在其Youtube影片中提到,『レインボーシックス シージ』期間限定イベント「M.U.T.E PROTOCOL」 マップ「タワー」が未来感あふれる「M.U.T.E通信タワー」へ姿を変えて、ドローンに姿変えたり、カメラ間を移動できる特殊ルールのエリア確保。 8月4~24日の期間限定。(バグにより期間が延びて、24日まで) 『R6...
montreal protocol 在 เกมถูกบอกด้วย v.2 Facebook 的精選貼文
[News] R6 Extraction จะมี 18 Operator, แผนที่ 12 แบบ, อุปกรณ์และอาวุธรวมกว่า 90 ชิ้น และเอเลี่ยน 13 สายพันธุ์
.
Ubisoft ได้เปิดเผยรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Tom Clancy's Rainbow Six Extraction ซึ่งเป็นภาคต่อของแฟรนไชส์เรนโบว์ซิกซ์ ทั้งผู้เล่น Rainbow Six Siege และผู้ที่กำลังมองหาเกม PVE แบบ Co-op ใหม่สามารถสัมผัสกับคุณสมบัติมากมายของ Rainbow Six Extraction รวมถึงระบบความก้าวหน้าของบรรดาเจ้าหน้าที่ ที่ลงลึกในรายละเอียดมากกว่าเดิม ระดับความยากที่ปรับได้สี่ระดับ แผนที่ 12 แผนที่ที่พัฒนาตลอดเวลา วัตถุประสงค์ภารกิจแบบไดนามิก 13 แบบ ปืนและอุปกรณ์มากกว่า 90 ชนิด โหมดจัดอันดับที่ไม่ซ้ำใคร และการสนับสนุนหลังการเปิดตัวฟรี ที่จะให้รายละเอียดในภายหลัง.
.
https://youtu.be/My3L5NwZEqg
เรนโบว์ ซิกซ์ เอ็กซ์แทร็กชัน: ตัวอย่างภาพรวมเกมเพลย์อย่างเป็นทางการ - Rainbow Six Extraction
.
ด้วยการพัฒนาที่นำโดย Ubisoft Montreal เกม Rainbow Six Extraction ให้ผู้เล่นเข้าร่วมทีม REACT (รีแอ็ก) และรวบรวมทีมผู้เล่นหนึ่งถึงสามคนของโอเปอเรเตอร์ที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่รักจาก Rainbow Six Siege เพื่อเผชิญหน้ากับสัตว์ประหลาดลึกลับที่รู้จักกันในชื่อ Archæans (อาเคียนส์) พร้อมกับอาวุธมากกว่า 65 ชนิด เทคโนโลยี Rainbow Six Siege 10 แบบ และเทคโนโลยี REACT พิเศษ 15 รายการ โดยเจ้าหน้าที่ได้รับการยกระดับให้รับมือกับภัยคุกคามจากเอเลี่ยนได้ดีที่สุด สำหรับผู้เล่นใหม่กับเกมเรนโบว์ซิกซ์ ที่ต้องการเล่นเกมตามจังหวะของตัวเอง, เอ็กซ์แทร็กชันก็สามารถเล่นโซโลได้อย่างเต็มที่เช่นกัน
.
ผู้เล่นจะถูกส่งไปทำภารกิจใน 4 ภูมิภาคที่แตกต่างกันทั่วสหรัฐอเมริกา รวมถึงนิวยอร์ก ซานฟรานซิสโก และอีกสองภูมิภาค และเผชิญกับภัยคุกคามเอเลี่ยนใน 12 แผนที่ใหม่เอี่ยมที่คาดเดาไม่ได้ แต่ละแผนที่มีขนาดใหญ่ขึ้นประมาณสามเท่าของแผนที่ Rainbow Six Siege ก่อนหน้า และมีม็อดไดนามิกที่ไม่ซ้ำกัน ทำให้มั่นใจได้ว่าการบุกโจมตีในแต่ละครั้งจะไม่เหมือนเดิม จัดการกับ 13 วัตถุประสงค์ภารกิจที่แตกต่างกันในระหว่างการบุกทางยุทธวิธีรวมถึงเป้าหมายที่เรียกว่า Gateway Objective ซึ่งผู้เล่นจะต้องเผชิญหน้ากับ Protean ซึ่งเป็นสายพันธุ์ Archaean ที่อันตรายสุด ๆ ซึ่งพวกมันจะใช้รูปแบบของเจ้าหน้าที่ REACT และเลียนแบบพฤติกรรมของพวกเขา
.
สำหรับแฟน Rainbow Six Siege นั้น เอ็กซ์แทร็กชันไม่เพียงเป็นการเปิดตำนานบทใหม่ แต่ยังมีการนำตัวละครที่ทุกคนชื่นชอบมาเข้าร่วมมากมาย รวมถึงแผนที่ที่ไม่ซ้ำกันทั้งหมด 12 แผนที่ให้ได้เล่นกัน นอกจากนี้ ยังมีคุณสมบัติการเล่นเกมที่คุ้นเคยในรูปแบบใหม่เอี่ยม: โดยเป็นครั้งแรก ผู้เล่นสามารถก้าวหน้าผ่านระบบปรับระดับแบบกำหนดเองสำหรับเจ้าหน้าที่เรนโบว์ซิกซ์ทั้ง 18 คนได้ ทำให้พวกเขาสามารถพัฒนาอุปกรณ์ อาวุธ และความสามารถของโอเปอเรเตอร์ได้ในรูปแบบใหม่ทั้งหมด เมื่อเลเวลเพิ่มขึ้น ผู้เล่นจะปลดล็อกโซนกักกันใหม่, เจ้าหน้าที่, ไอเท็มปรับแต่ง, เทคโนโลยี REACT ใหม่ ระดับความยากที่สูงขึ้นอย่างถาวร และอื่น ๆ
.
ด้วย 13 ต้นแบบของสายพันธุ์ Archaean สุดอันตราย การระบาดอันรวดเร็ว และความท้าทายในการกลายพันธุ์ของปรสิต จะทำให้เกิดรูปแบบการเล่นอันน่าตื่นเต้น นำไปสู่ภารกิจบุกจู่โจมที่หลากหลาย และคุณสมบัติการเล่นเกมใหม่ที่ต้องเจอทั้งรังเอเลี่ยน, สปอร์ และเมือกขยายตัวอย่าง Sprawl ทั่วพื้นที่ ทั้งนี้ เอ็กซ์แทร็กชัน ยังให้ผู้เล่นที่สนุกกับความท้าทายในการเดิมพันสุดเร้าใจ: โดยผู้เล่นจะได้บุกเข้าไปค้นหาและรวบรวมรางวัลของพวกเขา หรือเจาะลึกเข้าไปในโซนย่อยของแต่ละแผนที่ เผชิญกับความเสี่ยงที่มากขึ้นด้วยรางวัลที่มากกว่าเดิมสำหรับผู้ที่รอดชีวิตมาได้ หากพวกเขาล้มเหลว เจ้าหน้าที่จะตกอยู่ในสภาพ Missing in Action (MIA) หรือภาวะ "รอการช่วยเหลือ" ซึ่งผู้เล่นจะมีโอกาสที่จะกลับเข้าไปในเขตกักกันเพื่อช่วยชีวิตผู้ที่อยู่ในสภาพ MIA เหล่านั้นได้ สำหรับผู้เล่นที่ชอบความท้าทายที่ยากขึ้น จะมีระบบ PVE ที่มีคุณลักษณะมากมายที่เรียกว่า Maelstrom Protocol ซึ่งจะให้รายละเอียดในภายหลัง
.
สำหรับ ผู้เล่นที่เล่นทั้ง Rainbow Six Siege และ Rainbow Six Extraction จะสามารถปลดล็อคเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 18 คนของ Extraction ใน Rainbow Six Siege ได้ทันที และจะได้รับชุดแต่งกาย United Front ที่ยอดเยี่ยมในทั้งสองเกม** ผู้เล่นที่สั่งจองล่วงหน้า Rainbow Six Extraction จะได้รับชุด Orbital Decay พร้อมไอเท็ม Epic สุดพิเศษ รวมถึงชุดเครื่องแบบ Orion และหมวกสำหรับ Finka และ Lion สกินอาวุธ Vaporized และเครื่องรางของ Crashlander ตัวเกม Rainbow Six Extraction จะมีการสนับสนุนเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง พร้อมการอัปเดตคอนเทนต์เป็นประจำ
.
Tom Clancy's Rainbow Six Extraction ซึ่งเป็นภาคต่อตัวหลักอย่างเป็นทางการในแฟรนไชส์เรนโบว์ซิกซ์ จะวางจำหน่ายทั่วโลกพร้อมทั้งการเล่นครอส-เพลย์, ครอส-เซฟ และครอส-โพรเกรสชันเต็มรูปแบบ ในเดือนมกราคม 2565 บน Xbox Series X|S, Xbox One, PlayStation®5, PlayStation®4 และ Ubisoft Store บน Windows PC.
.
Source: Press Release ของ Ubisoft
-------------------------------
GGKeyStore.com ร้านขาย Steam Wallet, เกม Steam, Xbox Pass, PSN ไทย, ไอดีเกมมือถือ, Pokemon TCGO ราคาถูก รับของทันที
-------------------------------
No Time to Relax เกมกระดานบริหารเวลาแข่งกับเพื่อน 4 คน ลดเหลือ 33 บาท ดูที่นี่ - https://bit.ly/3g1t1t7
montreal protocol 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最佳解答
ขีดจำกัดของโลก 9 ประการ
เรื่องโลกร้อนเป็นแค่ 1 ใน 9 เท่านั้น ! มีอีก 8 ตัว! คุณพระ!!
-----------------------
เมื่อไม่นานมานี้ได้ดูสารคดีเรื่อง Breaking Boundaries: The Science of Our Planet ใน netflix [ https://www.imdb.com/title/tt14539726/?ref_=nv_sr_srsg_0 ] น่าสนใจมาก
หนังพูดเรื่อง The 9 planetary boundaries หรือขีดจำกัดของโลก 9 อย่างที่มนุษย์กำลังสร้างผลกระทบโดยตรง และถ้าข้ามขีดอันตรายไปเมื่อไหร่ จะเกิดผลกระทบลูกโซ่ที่ทำลายระบบนิเวศของโลกอย่างหวนกลับมาไม่ได้อีกต่อไป
ซึ่งในบรรดา 9 อย่างนี้ เรารู้จักเรื่องโลกร้อนดีที่สุด แต่ที่เหลือ มีหลายอันที่มีคนพูดถึงน้อยมากๆ
ขีดจำกัดทั้ง 9 นี้ มีที่มาจากกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ นำโดย Johan Rockstrom [นามสกุลโคตรเท่] แห่งมหาวิทยาลัย Stockholm และวิล สเตฟเฟน (Will Steffen) จากมหาวิทยาลัย Australian National University เอางานวิจัยยาวนานกว่า 5 ทศวรรษ มาสรุปเป็นกระบวนการรักษาสมดุลของโลกให้เราเห็นชัดเจน 9 ประการ โดย Rockstrom เองเป็น presenter ของสารคดีชิ้นนี้ด้วย
นอกจากจะทำความรู้จักขีดจำกัดทั้ง 9 อย่างนี้แล้ว งานวิจัยก็ยังบอกเราด้วยว่าตอนนี้มนุษย์อยู่ในขีดอันตรายระดับไหนแล้วในแต่ละหัวข้อ
-----------------------
สถานการณ์: [Code Red] วิกฤติแล้วจ้า ฉิบหายแล้ว มี 2 ข้อ
1. Biodiversity loss [การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ว่าด้วยการสูญพันธ์ของสัตว์และพืช ใช่ 50 ปีที่ผ่านมา อัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ หลักๆมาจากการสูญเสียที่อยู่อาศัยจากการกระทำของมนุษย์ ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม เพื่อผลิตอาหาร น้ำ และทรัพยากร
- ต่อปี อัตราการสูญพันธุ์ในปัจจุบัน อยู่ที่ 1,000 ต่อ 1,000,000 ชนิด ต่อปี [0.1%] โดยอัตราการสูญพันธุ์ที่ปลอดภัย อยู่ที่ ไม่เกิด 10 ต่อ 1,000,000 ชนิดต่อปี [ 0.001%] เท่ากับเราเลย limit ที่ปลอดภัยมาแล้ว 100 เท่า!
2. Nitrogen Cycle and Phosphorus Cycle [ วงจรไนโตรเจนและฟอสฟอรัส] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ใช้แล้วครับ ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัส ในปุ๋ยเคมี NPK นี่แหล่ะ
- เรื่องนี้มีคนรู้น้อยมาก หลักๆคือการที่มนุษย์ผลิตอาหารมากขนาดนี้ เราต้องใช้ปุ๋ยจำนวนมหาศาล เราไปเก็บไนโตรเจนมาจากชั้นบรรยากาศ และขุดฟอสฟอรัสมาจากในดิน แล้วในกระบวนการเกษตร สารเหล่านี้โดนเก็บไว้ในพืชแค่นิดเดียว ที่เหลือไหลลงน้ำลงทะเล หรือกลายเป็นมลพิษในอากาศ
- ซึ่งผลพวงก็มีเช่น ปุ๋ยลงน้ำไปทำให้เกิด Algae Bloom [สาหร่ายเติบโต] ซึ่งพอตายทับถมกัน ก็ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลงเรื่อยๆ จนบางที่กลายเป็น "Dead Zone" หรือจุดที่สิ่งมีชีวิตไม่สามารถอยู่ได้อีกแล้ว เพราะขาดออกซิเจน ซึ่งทั่วโลกพบอยู่หลายร้อยแห่งแล้ว ปล่อยไปเรื่อยๆจะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ทำระบบนิเวศพังทั้งระบบ
- ตอนนี้เราใช้ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัสเพื่อผลิตอาหาร เกิดขีดจำกัดที่นักวิทยาศาสตร์กำหนดไว้ ประมาณ 2 เท่าในทุกๆปี
-----------------------
สถานการณ์: [Code Yellow] ต้องเฝ้าระวัง หากไม่เปลี่ยนแปลง วิกฤติแน่
3. Deforestation Land use Changes การตัดไม้ทำลายป่า และการเปลี่ยนแปลงผืนโลก : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- คือการเปลี่ยนป่าเป็นพื้นที่การเกษตรหรือเลี้ยงสัตว์[การผลิตเนื้อ ใช้ที่ดินเยอะมาก] ซึ่งนำไปสู่ทั้งความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ [ข้อ 1. ] และเป็นการปล่อยคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในต้นไม้กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ซึ่งก็ไปสร้างปัญหาภาวะโลกร้อนต่อ รวมถึงการเปลี่ยนน้ำทะเลให้เป็นกรดอีกด้วย
- ป่าคือ Carbon Sink หรือตัวดูดซับคาร์บอนที่ดีที่สุดที่เรามีอยู่ในธรรมชาติ การสูญเสียป่า คือการสูญเสียระบบจัดการคาร์บอนของดาวโลก
- การสูญเสียพื้นที่ป่าในประเทศหนึ่ง อาจสร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศในระดับโลก (เช่นป่า Amazon เป็นต้น)
4. Climate Change ภาวะโลกร้อน : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- ตัวโหดที่ทุกคนรู้จักดี ตอนนี้เราผ่านจุดที่คาร์บอนในชั้นบรรยากาศ อยู่ที่ 418 ppm [Parts per million] ซึ่งอาจจะนำไปสู่โลกที่อุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 2 องศา ซึ่งเป็นสิ่งที่ Paris Agreement ในปี 2015 ตั้งใจจะทำให้ได้ แต่อย่างไรระดับคาร์บอนได้ออกไซด์ก็ไม่มีทีท่าจะลดลงมาสักกะที ถ้าหากว่าเกิน 500 ppm ขึ้นไป และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราอาจจะจบที่ร้อนชึ้น 4-8 องศา ซึ่งนั่นคือ Game Over แน่นอน
- ตอนนี้น้ำแข็งทะเลในขั้วโลกเหนือลดลงจนไม่น่าจะหวนกลับมาได้แล้ว ทำให้เรายิ่งไม่มีพื้นที่สีขาวมาสะท้อนแสงอาทิตย์กลับไป
- น้ำแข็งในกรีนแลนด์ละลายเร็วขึ้นกว่าที่คาดการเอาไว้ 3-4 เท่า ถ้ากรีนแลนด์ละลายหมด น้ำทะเลจะสูงขึ้น 7 เมตร
- ตอนนี้ขั้วโลกได้ที่เชื่อว่าละลายได้ยากมาตลอด เริ่มมีอาการแปรปรวนให้เห็น ถ้าละลายหมด น้ำจะสูงขึ้นหลายสิบเมตร
- จุดที่เราจะย้อนกลับไม่ได้ ใกล้เข้ามาทุกที
-----------------------
สถานการณ์: [Code Green] ยังปลอดภัยอยู่ ต้องรักษาระดับเอาไว้
5. Freshwater Use การใช้น้ำจืด : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- เป็นตัวแปรที่ link กับเรื่อง climate change + ระบบการจัดการน้ำของมนุษย์ ซึ่งได้เปลี่ยนวงจรที่น้ำจืดแปรสภาพและไหลเวียนตามธรรมชาติไปโดยสิ้นเชิง การชลประทานนำไปสู่การเปลี่ยนในการไหลของแม่น้ำ การถางป่านำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงของวงจรไอน้ำ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและส่วนใหญ่เปลี่ยนแล้วแก้คืนไม่ได้
- ถึงแม้ว่าตอนนี้จะยังไม่วิกฤติ แต่ก็ต้องระวังดีๆ หากเราเปลี่ยนวงจรน้ำจืดไปเรื่อยๆอย่างไม่คิดถึงผลกระทบที่ตามมา อาจจะส่งผลลูกโซ่ต่อเนื่อง สร้างความเสียหายในแบบที่เรายังคาดไม่ถึงได้
6. Ocean Acidification การเป็นกรดของมหาสมุทร : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- ประมาณ 25-30% ของคาร์บอนที่เราปล่อยออกมา ถูกดูดซับโดยน้ำในมหาสมุทร ซึ่งผลพวงของมันก็คือทำให้น้ำทะเลมีความเป็นกรดมากขึ้น ซึ่งก็ไปทำให้ในน้ำมี แคลเซียมคาร์บอเนต ลดลงเรื่อยๆ ซึ่งอันนี้เป็นสิ่งสำคัญที่สิ่งมีชีวิตในทะเล ทั้งปะการัง ทั้งกุ้ง หอย ปู แพลงตอนบางประเภท หรืออะไรก็ตามที่มีเปลือก ใช้ในการสร้างเปลือกป้องกันตนเอง
- พอสัตว์เหล่านี้โตไม่ได้ ก็กระทบบ่วงโซ่อาหาร ในทะเลก็มีปลาน้อยลงเรื่อยๆ
- ตอนนี้น้ำทะเลของเรา มีความเป็นกรดมากขึ้น 30% เมื่อเทียบกับตอนก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม
- อันนี้ link กับเรื่อง Climate change ในเชิงมีสาเหตุร่วมกัน แต่ถือเป็นคนละมาตรวัดกัน
- ถึงยังปลอดภัยอยู่ แต่ถ้าไม่เปลี่ยนเรื่องปล่อยคาร์บอนกัน มันก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆต่อไป
7. Stratospheric ozone depletion การสลายตัวของชั้นโอโซน : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- อย่างที่รู้กัน โอโซนช่วยกัน UV [ultraviolet] ไม่ให้เข้าสู่บรรยากาศโลก ถ้าไม่มีโอโซนเราก็จะเป็นมะเร็งผิวหนังกันหมด และระบบนิเวศโลกก็จะพัง
- อันนี้เป็นข้อเดียวที่สถานการณ์ดีขึ้นมาก นับตั้งแต่มีการค้นพบปัญหารูโอโซนบริเวณขั้วโลก และมีการระบุชัดเจนว่าสารเคมีชนิดไหนที่เป็นต้นเหตุ นานาชาติก็มีการตกลงแบนสารเหล่านั้นร่วมกันผ่าน Montreal Protocol จนได้ผลนำสถานการณ์อันตรายมาสู่ระดับที่ปลอดภัยได้
- เป็นความหวังของหมู่บ้าน ว่ามนุษย์สามารถรวมตัวกันแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ
-----------------------
สถานการณ์: [Unknown] รู้ว่าเป็นปัญหา แต่ยังไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่เกินขีดอันตรายไปได้
- 2 ข้อนี้ คือตัวแปรที่นักวิทยาศาสตร์เห็นตรงกันว่าจะมีผลกระทบกับระบบนิเวศของโลกอย่างมีนัยยะสำคัญ แต่ว่ายังหาคำตอบไม่ได้ว่าขีดอันตรายอยู่ที่จุดไหน
8. Particle Pollution [Atmospheric aerosol loading] สารแขวนลอยในชั้นบรรยากาศ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- ง่ายๆก็คือพวก pm10/ pm2.5 นั่นแหล่ะครับ + สารเคมีต่างๆที่มนุษย์ปล่อยขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ สิ่งเหล่านี้นอกจากจะมีผลกับสุขภาพของมนุษย์แล้ว คือมีผลกับอุณหภูมิของโลกด้วย
- ในขณะที่ก๊าซเรือนกระจก ทำให้โลกร้อนขึ้น สารแขวนลอยและมลพิษในอากาศ มีผลกระทบในการสะท้อนแสงอาทิตย์ออกนอกชั้นบรรยากาศ พูดง่ายๆยิ่งอากาศขุ่นมัวมาก อุณหภูมิก็ยิ่งลดลง ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องดีเสมอไป เพราะต้องแลกมากับคุณภาพอากาศที่ย่ำแย่มากๆ เป็นผลกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
- นอกจากนั้น สารแขวนลอยเหล่านี้ยังสามารถจับตัวกับไอน้ำ มีผลกับการจับตัวของก้อนเมฆและการเปลี่ยนแปลงของอากาศอีกด้วย
- ซึ่งผลกระทบตรงนี้ ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาเพิ่มเติม ทำให้ยังไม่สามารถทราบผลกระทบทั้งหมดได้
9. Chemical Pollution การปนเปื้อนของสารสังเคราะห์ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- มนุษย์เราสร้างสารสังเคราะห์ชนิดใหม่ขึ้นมากว่า 100,000 ชนิด ซึ่งมีทั้งโลหะหนักต่างๆ สารกัมมันตภาพรังสี ไมโครพลาสติก ฯลฯ ซึ่งผ่านอุตสาหกรรมและกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ สารเหล่านี้ก็ถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยที่เรายังไม่เข้าใจผลกระทบที่พวกมันมีต่อสัตว์ พืช และระบบนิเวศเลย รวมไปถึงผลกระทบที่มันมีต่อคนด้วย [ยกตัวอย่าง จนถึงตอนนี้ ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ ว่าการกินไมโครพลาสติกเข้าไป มีผลอะไรกับร่างกายคนบ้าง]
- ทำให้การกำหนดขอบเขตในเรื่องนี้ เป็นไปได้ยากมาก แต่นักวิทยาศาสตร์ก็เห็นพ้องกันว่า เป็นตัวแปรที่มีผลต่อระบบนิเวศของโลกแน่นอน
-----------------------
นอกจาก 9 ข้อนี้ ขอฝากคำศัพท์ไว้อีกคำ คือคำว่า [Antropocene]=แอนโทรโพซีน คือชื่ออย่างไม่เป็นทางการของโลกยุคปัจจุบัน โดยยุคก่อนหน้านี้คือยุค Holocene [โฮโลซีน] ที่เริ่มต้นประมาณ 11,700 ปีที่แล้ว หลังยุคน้ำแข็งรอบสุดท้ายจบลง เป็นยุคที่อุณหภูมิของโลกเริ่มคงที่ ทำให้สภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสังคมมนุษย์เกิดขึ้นได้ เป็นสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
แต่มาตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์บอกว่ายุค Antropocene ได้มาถึงแล้ว มาจากคำว่า Anthropo ที่แปลว่า "คน" ในภาษากรีก ซึ่งอธิบายง่ายๆก็คือ นี่คือยุคที่มนุษย์กลายเป็นตัวแปรหลักในการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและระบบนิเวศของโลก จากที่ก่อนหน้านี้ ไม่เคยมีสปีชีส์ไหนทำแบบนี้ได้มาก่อน สัตว์ทุกชนิดต้องยอมรับสภาวะที่โลกหยิบยื่นให้ มีเราเป็นสปีชีส์แรกที่สามารถเปลี่ยนระบบของโลกได้ด้วยการกระทำของเรา
ขึ้นอยู่กับว่าจะเปลี่ยนไปทางไหนเท่านั้นเอง
Ref
http://www.salforest.com/blog/planetary-boundary
https://en.wikipedia.org/wiki/Planetary_boundaries#/media/File:Planetary_Boundaries.png
https://www.stockholmresilience.org/research/planetary-boundaries/the-nine-planetary-boundaries.html
https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/anthropocene/
https://www.imdb.com/title/tt14539726/
montreal protocol 在 angealbk201 Youtube 的精選貼文
『レインボーシックス シージ』期間限定イベント「M.U.T.E PROTOCOL」
マップ「タワー」が未来感あふれる「M.U.T.E通信タワー」へ姿を変えて、ドローンに姿変えたり、カメラ間を移動できる特殊ルールのエリア確保。
8月4~24日の期間限定。(バグにより期間が延びて、24日まで)
『R6S(レインボーシックス シージ) year 5~』再生リスト
https://www.youtube.com/playlist?list=PLhPwYdbtNgORwfchwAwpqB2HfBFmm0-qb
『RainbowSix Siege(レインボーシックス シージ)Y1-2』再生リスト
https://www.youtube.com/playlist?list=PLhPwYdbtNgOTjiDL8u3rMBP6yG2-eiFdG
『R6S(レインボーシックス シージ) year 3-4』再生リスト
https://www.youtube.com/playlist?playnext=1&list=PLhPwYdbtNgOR-616Za8-F46M9Ds05hxnw
『R6S(レインボーシックス シージ)アウトブレイク』再生リスト
https://www.youtube.com/playlist?list=PLhPwYdbtNgOT2uKWDHznqHREHOxXeVAOf
SHAREfactory™
https://store.playstation.com/#!/ja-jp/tid=CUSA00572_00
レインボーシックス シージ
https://store.playstation.com/#!/ja-jp/tid=CUSA02499_00
以下、公式リリースより
交渉決裂。――突入開始!
チームを組んで5対5のPvPバトルを繰り広げましょう。各種特殊技能をもったオペレーターたちを駆使して仲間を勝利に導きましょう。
熾烈な近接戦、戦術的なチームプレイ、そして絶えず変化する激しいアクションがプレイヤーを待ち受けます。
絶えず進化している「レインボーシックス シージ」の新たな戦略と戦術を体験しましょう。オペレーター、武器、ガジェット、マップが新たに登場するアップデートのたびに、シージは新鮮に変化しています。
「レインボーシックス シージ」はUbisoft Montrealスタジオが開発を手掛ける人気FPSシリーズ。 実在する世界中のテロ対策特殊部隊が登場する本作では、プレイヤーは特殊部隊の隊員となり、ユニークなガジェットを駆使して、極限状態の中で近接戦闘を戦う。
対テロ攻撃部隊「レインボー」とは
GSG 9(ドイツ)、Spetsnaz(ロシア)、GIGN(フランス)、SAS(イギリス)、FBI SWAT(アメリカ)——これら、世界の名だたる特殊部隊から選抜された精鋭からなる、対テロ専門のチームが「レインボー」である。司令官「シックス」の指揮のもと、彼らは世界各地で暗躍するテロリストに立ち向かうのだ。
戦術性の高いチーム戦形式の近接戦闘
「レインボーシックス シージ」で描かれるミッションは、建物内での近接戦闘に特化したもの。プレイヤーは5人のオペレーターでチームを組み、相手チームと対峙することになる。シビアな状況だけに、頭を使わない力押しは通用しない。どこに戦力を振り分け、どこから突入するのか。あるいはどこにトラップを配置し、どこを重点的に守るのか……。『レインボーシックス シージ』の戦いでは、何よりも戦術眼が求められるのだ。
#R6S #レインボーシックスシージ
montreal protocol 在 Montreal Protocol - Wikipedia 的相關結果
The Montreal Protocol is an international treaty designed to protect the ozone layer by phasing out the production of numerous substances that are ... ... <看更多>
montreal protocol 在 The Montreal Protocol on Substances That ... - State Department 的相關結果
The Montreal Protocol, finalized in 1987, is a global agreement to protect the stratospheric ozone layer by phasing out the production and consumption of ozone- ... ... <看更多>
montreal protocol 在 About Montreal Protocol - UN Environment Programme 的相關結果
The Montreal Protocol The Montreal Protocol on Substances that Deplete the Ozone Layer is the landmark multilateral environmental agreement that regulates ... ... <看更多>