มาทำความรู้จัก "การนอนหลับ" ของเราเอง
ผมคิดว่าสิ่งหนึ่งที่ชาวทะเลน่าจะได้รับไม่ต่างกันในแต่ละแห่งทั่วโลกน่าจะเป็นเรื่องของ การนอน และ การนอน ของชาวทะเลนี่เอง คือจุดหนึ่งที่แตกต่างกับชีวิตของชาวบนฝั่งค่อนข้างมากครับ
การได้นอนวันละ 7-8 ชั่วโมง ที่น่าจะเกิดได้ยากมากสำหรับชาวฝั่ง แต่กลับเป็นอะไรที่พบได้ง่ายมากกับคนในทะเล
ในฐานะของผมเอง เลยอยากมาลองแชร์มุมมองเรื่องการ นอนหลับ ที่น่าจะเป็นประโยชน์กับทุกคน รวมถึงคนออฟชอร์ด้วยนะครับ เห็นมีแวะเวียนมาทักทายกันพอสมควรเลย 😊 อ่าวไทยไม่ได้ใหญ่มาก ผมคิดว่าเราต้องอยู่ไม่ห่างกันแน่ๆครับ
ผมสรุปเนื้อหาบางส่วนมาจากหนังสือเรื่อง Why we sleep ซึ่งเป็นหนังสือที่ผมได้อ่านเมื่อตอนมาอยู่ทะเลในรอบที่แล้ว และพบว่าเนื้อหาข้างในมันดีมาก ดีจนอยากเอามาแชร์และแบ่งปัน และอยากให้มองว่าลองใช้ชีวิตออฟชอร์เป็นจุดเริ่มต้นในการเปลี่ยนวิธีการนอนของเรา ซึ่งคนบนฝั่งก็สามารถนำไปใช้ได้ครับ
มี 2 คำ ที่อยากให้ทำความเข้าใจกันก่อนคือคำว่า NREM และ REM ครับ เพราะอันนี้คือจุดเริ่มต้นของเรื่องราวการนอนอย่างมีคุณภาพ
REM และ NREM คืออะไร
ลองนึกถึงภาพของ สมองของเรา กันนะครับ เป็นความจริงที่ว่าสมองเราอาจจะมีหน่วยความจำที่ใส่ข้อมูลเข้าไปได้เรื่อยๆอย่างไม่จำกัดก็จริง แต่ปัญหาคือการเรียกเอาออกมาใช้ในเวลาที่ต้องการกลับไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เพราะข้อมูลที่เคยใส่ไว้อาจจะจำไม่ได้ว่าเก็บไว้ไหน หนักกว่าคือลืมไปว่าเคยรู้มาก่อน ถ้าข้ามประเด็นเรื่องนอนเพื่อให้ร่างกายได้พักแล้ว จุดประสงค์ของการนอนที่สำคัญที่สุดอีกอย่างคือ เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะมาจัดการ สะสาง กับสิ่งที่เกิดในสมองของเราตลอด 24 ชั่วโมงก่อนหน้านั้นนั่นเองครับ
NREM Sleep (Non rapid eye movement) ช่วงของการหลับตื้นไปจนถึงหลับลึก คำจำกัดความในทางเทคนิค คือช่วงของการหลับที่ลูกตาไม่กรอก อันนี้ไม่ต้องสนใจได้ครับ ไปต่อเลย
ความสำคัญของ NREM คือ การประมวลข้อมูลที่ได้รับรู้มาตลอดทั้งวัน การเปลี่ยนความทรงจำจากระยะสั้นไปเป็นระยะยาว การเตรียมวัตถุดิบใหม่ๆ การเคลียร์ข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์ออกจากสมอง การครุ่นคิด เปิดโอกาสให้เกิดการสื่อสารในส่วนต่างๆ ของสมอง จัดเก็บความทรงจำจากคลังระยะสั้นให้เป็นความทรงจำระยะยาว กลั่นกรองความทรงจำ เสริมสร้างวัตถุดิบทักษะใหม่ๆ ซึ่งพวกนี้คือการนอนที่สัตว์อื่นๆก็มีเช่นเดียวกันกับมนุษย์
REM Sleep (Rapid eye movement) เป็นการนอนในจังหวะที่ที่กล้ามเนื้อลายต่างๆของร่างกาย (skeletal muscle) อ่อนตัวลง หยุดทำงาน คลายตัวเกือบ 100% จะมีเฉพาะในส่วนของกล้ามเนื้อเรียบ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจที่ยังทำงานอยู่ รวมถึงกล้ามลูกตาที่กรอกไปมา ถ้าใครไปเปิดตาเพื่อนดูในช่วงนี้เราก็จะเห็นว่าทำไมตาเพื่อนขยับแต่จริงๆ เขามองไม่เห็นเรา
ความสำคัญของ REM sleep คือเป็นช่วงที่ร่างการประกอบสร้างความเข้าใจใหม่ๆ ความสามารถในด้านต่างๆ การเชื่อมโยงข้อมูลดิบเข้าหากกัน การสร้างสรรค์ข้อมูลใหม่ๆขึ้นมา REM คือจุดแตกต่างที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากลิง REM คือจุดเปลี่ยนของมนุษยชาติที่ทำให้เราสามารถพาตนเองไปดวงจันทร์ได้ ในขณะที่ชิมแปนซีซึ่งวิวัฒนาการมาก่อนเราหลายล้านปีกลับแช่นิ่งอยู่ที่เดิม ระยะนี้เป็นระยะการนอนหลับที่มีการทำงานอย่างหนักของสมอง นี่เป็นระยะการหลับที่มีความฝันเกิดขึ้น เหมือนกับหนังที่กำลังฉายอยู่ในใจของเรา
เอาละครับ เมื่อเราพอคุ้นเคยกับคำว่า NREM และ REM แล้ว เรามาดูเรื่อง วัฎจักรการนอน (sleep cycle) กันครับ
วัฏจักรการนอน (Sleep cycle)
ในช่วงของการนอน 1 คืน จะเป็นการสลับไปมาของการหลับแบบ REM และ NREM กันตลอดทั้งคืน ถ้าเรานอน 8 ชั่วโมง การหลับทั้ง 2 รูปแบบจะเกิดขึ้นสลับกันไปมานับได้ประมาณ 5 รอบ (5 cycle) ยกตัวอย่าง เราเข้านอนเวลา 23.00 น. ตื่นนอนเวลา 07.00 น. (8 ชั่วโมงพอดี)
• ในแต่ละรอบ cycle นั้นจะกินระยะเวลาประมาณ 90 นาที (1.5 ชั่วโมง) 5 รอบก็ราวๆ 7.5 ชั่วโมง หรือ 8 พอดีครับ
• ใน 3 cycle แรกนั้น จะเป็นการหลับแบบ NREM ราวๆ 80% ในขณะที่เกิด REM ประมาณ 20% เท่านั้น ซึ่งถ้าดูตามเข็มนาฬิกาจะอยู่ในช่วงเวลา 23.00 – 03.30 น. ของอีกวัน
• และตั้งแต่ราวๆ 03.30 น. ของอีกวันไปจนถึงตื่นนอนนอนนั้น จะเป็น 2 cycle หลัง ที่มีสัดส่วนของ REM มากขึ้นเรื่อยๆ จนใน cycle ที่ 5 จะมีสัดส่วนของ REM sleep ประมาณ 60-70%
ลองคิดถึงภาพการสร้างรูปปั้นขึ้นมาจากดินเหนียว เรามักจะเริ่มต้นด้วยการเอาดินเหนียวทั้งหมดมาปั้นขึ้นโครง (เปรียบได้กับ NREM ที่เกิดขึ้นก่อนในช่วงแรกของการนอน) ตามมาด้วย การปรับรายละเอียดเล็กๆอย่างสั้นๆ (เปรียบได้กับ REM ที่เกิดขึ้นในตอนท้ายของแต่ละ cycle) ก่อนที่จะเอาดินเหนียวมาขึ้นโครงต่อและปรับรายละเอียดอีกครั้ง นับเป็น cycle ที่ 2 3 4 … 5 โดยการปั้นรูปปั้นในช่วงท้ายๆ โครงมักจะเสร็จไปแล้ว แต่จะเป็นการตกแต่งในรายละเอียด (fine tuning) ซึ่งก็คือระยะเวลาของ REM ที่ยาวนานที่สุดก่อนที่เราจะตื่นนั่นเองครับ
จากจุดนี้เอง เราจะเริ่มเห็นแล้วว่าจริงๆแล้วใน 8 ชั่วโมงของการนอนนั้น อาจจะได้แบ่งได้ช่วง 4 ชั่วโมงแรก และ 4 ชั่วโมงหลัง ซึ่งร่างกายได้ออกแบบสรีรวิทยาการนอนไว้แบบนี้มาหลายล้านปีแล้ว เพราะเราเป็นสัตว์ที่นอนกลางคืนและตื่นตอนเช้า แต่ตรงนี้อาจจะมีความแตกต่างทางด้านพันธุกรรมในบางคนที่เป็นกลุ่มของ Morning lark คือกลุ่มที่นอนเร็ว ตื่นเช้า ทำงานได้ดีมากตอนเช้าตรู่ หรืออีกกลุ่มคือ Night owl กลุ่มที่นอนดึก ตื่นสาย จะทำงานได้ดีมากๆตอนบ่าย ส่วนนี้จะเก็บไว้เล่าภายหลังนะครับ
จากประเด็นนี้สรุปได้อย่างแรกคือ การนอนแต่ละช่วงล้วนมีความสำคัญในแง่ของ เราจะนอนเฉพาะในช่วง NREM โดยขาด REM ไม่ได้ เช่น ถ้าเรานอน 11.00 น. แต่ไปตื่นเอาตอน 04.00 น. ร่างกายจะได้รับการนอนแต่ NREM มา และจะเสียการนอน REM ไป ทำให้การนอนเราอาจจะไม่ได้ต่างจากลิงมากนัก
ในทางตรงกันข้ามถ้าเรานอนดึกเช่นนอนตอน 02.00 น. แล้วมาตื่นตอนราว 07.00 น. เราก็จะได้การนอนเฉพาะ REM มา แล้วจะขาด NREM ไปซึ่งควรจะเป็นการนอนขั้นพื้นฐานในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทำให้ส่งผลเสียระยะยาวต่อสุขภาพของร่างกายตามมา
ซึ่งทั้ง 2 เหตุการณ์นี้ แทบไม่ต่างอะไรไปกับถ้าเปรียบเทียบการกินอาหารก็คือ เราอาจจะกินแต่คาร์โบไฮเดรต โดยไม่กินโปรตีน หรือ กินแต่โปรตีนโดยไม่กินคาร์โบไฮเดรต แบบนี้ การนอนอย่างมีคุณภาพเพื่อให้ได้ครบทั้ง REM และ NREM จึงมีประโยชน์อย่างมาก ถ้าสามารถทำได้ครับ ซึ่งถ้าเรามีเวลานอนอย่างน้อย 7-8 ชั่วโมงต่อวันก็น่าจะพอการันตีคุณภาพของการนอนได้
สิ่งที่อยากลองแนะนำให้ทำครับ
1.) เปิด blue light filter ไว้ตลอดทั้งวัน ทั้งมือถือ ไอแพด แลปทอป ทุกที่ที่ๆเป็นแสง LED โดยตั้งเวลาไว้อัตโนมัติตั้งแต่ 18.00 น. เป็นต้นไป จนถึงเช้า แสง blue light คือตัวการสำคัญที่ทำให้ร่างกายคิดว่าตนเองตื่นตลอดเวลาแม้กระทั่งเวลากลางคืน เวลาดูหนังสืออ่านหนังสือภาพอาจจะออกเหลืองๆ แต่เชื่อผมครับ มันดีกับคุณภาพการนอนมาก ห้องนอนต้องมืดสนิทเท่าที่จะทำได้ ดีสุดคือไม่มีแสงใดๆเล็ดลอดเข้ามาแม้แต่น้อย
2.) แอลกอฮอล์ก่อนนอน ถ้าได้รับประทาน จะไปลดระยะการหลับแบบ REM ลง เป็นไปได้ควรหลีกเลี่ยง
3.) การออกกำลังกายเป็นประจำในระดับที่พอดี ทำให้การหลับ NREM มีคุณภาพ แต่สำคัญคือ ระยะเวลาหลังออกกำลังกายกับการนอน ควรต้องเว้นระยะห่างมากกว่า 3 ชั่วโมง
4.) ทำให้อุณหภูมิห้องนอนเย็นๆ เป็นไปได้ต้องทำให้อุณภูมิร่างกายต่ำลงกว่าเกณฑ์เล็กน้อยประมาณ 1 องศา เช่นการอาบน้ำอุ่น หรือการล้างหน้า ล้างมือ ล้างเท้าด้วยน้ำอุ่น มนุษย์เราจะหลับได้ง่ายและดีในห้องที่เย็น โดยอุณหภูมิห้องที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการนอนจากงานวิจัยคือ 18.3 องศาเซลเซียส
5.) อันสุดท้าย เลี่ยงได้คือเลี่ยงครับ นั่นคือ เสียงนาฬิกาปลุก เสียงปลุกดังตอนเช้า 1 ครั้ง ยอมรับได้ครับ แต่ผลเสียทุกครั้งที่เสียงนาฬิกาปลุกให้เราตื่นขึ้นจากในช่วงจังหวะของการนอนคือ ความดันโลหิต และ ชีพจรเราจะพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว และทุกครั้งที่เรากดปุ่ม snooze และปล่อยให้มันดังอีกครั้ง ก็คือทำให้หัวใจเราเหมือนกับถูกกช็อคอีกครั้งเช่นกัน ทุกครั้งที่กดปุ่ม snooze เลยไม่ต่างจากการกระตุ้นหัวใจให้ตื่นเต้นไปเรื่อยๆ ถ้าไม่ชอบการทรมานหัวใจตัวเอง ก็ไม่ควรทำครับ 555
.
ลองนำไปปรับใช้กันดูนะครับ ตัวผมเองใช้ชีวิตออฟชอร์เป็นตัวจัดการแบบแผนไลฟ์สไตล์ของตนเองได้หลายอย่าง และการนอนก็เป็นหนึ่งในนั้น หวังว่าจะได้ประโยชน์กับผู้อ่านทุกคนครับ ขอบคุณครับ
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過37萬的網紅mingjai14,也在其Youtube影片中提到,"Sleep is the single most effective thing we can do to reset our brain and body health each day -- Mother Nature's best effort yet at contra-death." ...
nrem sleep 在 科技大觀園 Facebook 的精選貼文
#2021世界睡眠日 #IG社群互動活動分享
「睡眠」也可以當作一個節日?
Q粉們沒聽錯,每年春分前的禮拜五,是由世界睡眠學會指定以推廣「睡眠」為目的的世界性節日,今年就落在的3月19日這天,主題是「規律睡眠,迎向健康(Regular Sleep, Healthy Future)」。
但這個日子可不是要大家純睡覺這麼簡單,而是要喚起大家對睡眠的重視,讓我們了解睡眠對健康、幸福乃至環境的影響。
為此,我們將在《科技大觀園》IG舉辦一個互動小遊戲,Q粉們可以透過這遊戲來推敲你現在的壓力狀況並補充有關睡眠的科普小知識,讓大家好好「規律睡眠,迎向健康」!
👉https://www.instagram.com/p/CMayJN6n-Am
______________
延伸閱讀:
青少年也會失眠嗎?
https://scitechvista.nat.gov.tw/c/sfxT.htm
解開睡眠的秘密
https://scitechvista.nat.gov.tw/c/sf3o.htm
nrem sleep 在 文茜的世界周報 Sisy's World News Facebook 的最佳貼文
《轉傳來自中國醫藥大學副校長、華盛頓大學醫學博士,前紐約-康乃爾癌症中心主任趙坤山的文章》
介紹一本好書,《Why We Sleep》,以下是書裡的精彩觀點。
《Why We Sleep》的作者名叫Matthew Waler,他是一位睡眠學專家,曾是哈佛醫學院教授,現在為伯克萊大學心理學和神經科學教授。
摘錄書一開頭的一段:
*科學家們已經發現了一個可以讓你延長生命的革命性的秘方。
它能提高你的記憶力,增加你的魅力;讓你保持苗條,降低食慾;保護你不得癌症和老年痴呆;不讓你感冒和傷風;降低你心臟病、心肌梗塞和糖尿病的風險。你會感覺更快樂,不抑鬱,不緊張。
你有興趣嗎?
Walker教授說:這個答案良方,就是「睡眠」。
睡眠,我和我身邊很多人都為其煩惱。看了這本書,才明白晚上睡不好帶來的問題,絕對不僅僅是白天的疲倦,而是非常可怕的智力低下、生理疾病、心理障礙、性格缺陷,甚至生命危險。
這些結論並非憑空臆造,而是經過二十多年無數例的科學試驗得出的。
以下分享一些觀點,與大家共勉。
01
睡眠裡面最重要的是NREM(不眨眼的深睡,主要功能是提高體質和免疫力)和REM(快速動眼的做夢睡眠,主要功能是提高大腦功能),這兩樣決定了睡眠質量。
簡單說,睡覺愛做夢的孩子會比較聰明!
02
只要一個晚上睡眠低於5小時,體內專門對付癌細胞的免疫Natural Killer細胞就會減少70%!
睡眠不足的人容易患腸癌、攝護癌或乳癌(現代人得癌症的比例增加,不僅僅是因為我們活得更久了)。
03
睡眠不足會加速癌細胞的增長。小鼠若睡眠不足,腫瘤增大速度也會快很多倍。
世界衛生組織已將睡眠不足視為致癌因素。
04
睡眠比飲食和運動更重要。
如果剝奪一個人睡眠、或食物、或運動24小時,睡眠傷害最大。
05
每晚睡少於6小時45歲以上的人,比睡7-8小時的人得心肌梗塞和腦中風的概率高200%。
06
睡眠不足會變傻(因為REM不足影響腦細胞健康),容易得失智症。
柴栔爾夫人和雷根總統都是號稱自己每天只睡4-5小時的,最後都得了失智症。
Walker預言:下一個失智患者也許就是川普總統。如果他繼續清晨三、四點起床。
07
一個人如果連續19小時不睡覺,腦力和體力狀態如醉酒。
所以很多國家警察採用的無痕跡逼供刑求的方法就是:不讓「犯人」睡覺。
超過40小時不睡覺的犯人,基本上叫他簽什麼字就簽什麼字,不求自由,只求睡眠。
08
喝咖啡是相當於在服用讓自己睡眠不足的藥物。
如果已經上癮,必須喝咖啡,那麼必須在下午1點前喝。
09
酒精不但不能幫助睡眠,而且影響睡眠。
酒精(哪怕只有一點點)會扼殺REM睡眠,讓我們不會做夢。
不做夢(沒有REM的睡眠)嚴重影響智商。
10
我們晚上睡不好一部分原因是中央空調供應的恆溫環境,違背睡眠需要的自然規律。
11
鬧鐘影響心臟健康。
特別是那種每隔五分鐘就會叫一次的Snooze功能鬧鐘,讓心臟在短時間內受到3-4次壓力,長期持續對心血管的影響很大。
12
睡眠不足影響性功能。(哈哈😄)
每晚睡眠低於5小時的男人,比睡眠超過8小時的男人,睪丸明顯小很多,血液中睪固酮濃度降到十年後水準。
女性缺乏睡眠則容易不孕或流產。
13
睡眠不足容易長胖。(哈哈😄)
因為睡眠不足,降低跟飽腹有關的荷爾蒙Leptin,提高跟飢餓有關的荷爾蒙ghrelin。
14
不能補眠。如果工作日睡眠不足,即使週末再怎麼多睡,也補救不了。
15
每一個致死的重大疾病,幾乎都和缺乏睡眠有關。
而如果能讓病人好好睡一覺,很多健康問題,都可以改善或解決。
nrem sleep 在 mingjai14 Youtube 的最讚貼文
"Sleep is the single most effective thing we can do to reset our brain and body health each day -- Mother Nature's best effort yet at contra-death."
?Audible free trial link: https://amzn.to/3tg094i
?"Why we sleep" book link: https://amzn.to/3ld30bp
?Social media
Facebook: https://www.facebook.com/MingJais/
Instagram: Mingjai14
Twitter: Mingjai14
Mewe: https://mewe.com/p/mingjai4
?♂️Hair: Calvin Yuk (Reservation)97774723
0:00 How I failed at sleep
1:22 "Why we sleep" intro
2:05 Factors of sleep: Circadian rhythm
3:06 Factors of sleep: Adenosine
3:31 Caffeine is a stimulant
4:55 What happens when we sleep: nREM
5:41 What happens when we sleep: REM
7:10 Why dreams are important?
7:48 7 ways to improve your sleep
8:31 Final thoughts
9:31 Lins to Audible free trial/social media
#sleep #dreams #NERDimmunity
nrem sleep 在 好倫 Youtube 的精選貼文
睡眠魔藥學概論(一)
睡眠是世界上最重要的事。
人不是機器,不要期待拔插頭立刻斷電入眠。
失眠是「果」不是「因」,要把重點在原因。
你不是「睡不著」,你只是「還沒睡著」
反其道而行,躺在床上強迫自己不要睡。
睡眠生理學
皮質醇&褪黑激素
生理時鐘(circadian rhythm)
藍光作用在眼部的「視黑素」會減少褪黑激素分泌,睡前要避免藍光
睡眠恆定(sleep homeostasis)
腺苷(adenosine)是細胞使用能量後代謝的產物。細胞使用的能量是ATP,被過用的ATP會變成能量較低的ADP,然後是能量更低的AMP,最後變成能量最低的腺苷(adenosine)。
腦中的腺苷增加到一定的程度,與神經元上的受體結合,讓神經元的活動減緩,使大腦進入睡眠狀態,這時候,代謝減慢,腺苷也隨之逐漸減少,之後神經元再慢慢活躍起來,人也就醒了過來。
咖啡因的化學結構與腺苷(adenosine)非常接近,而且能穿越腦血障壁。我們在攝取咖啡因飲料之後,咖啡因會進入大腦,與神經元上的腺苷受體(adenosine receptor)結合,不過咖啡因並不是活化受體,而是腺苷的拮抗劑,能夠抵消腺苷的功能。
「無夢深睡」
腦波的故事
REM NREM 30+90
大腦排毒發生在
「膠淋巴系統」(glymphatic system
大腦每天都會清除約七公克的有毒蛋白質並以新生成的蛋白質取代。這個廢物處理過程每月大約更新210公克的蛋白質,而每年更新的蛋白質超過1400公克,也就是一顆大腦的重量。
神經元間隙會在睡眠時變大,使膠淋巴液容易穿過腦組織。
睡前吃什麼?
1.入眠草藥 纈草 洋甘菊 貓薄荷 西番蓮
2.B6、鎂
3.神經遞質: 褪黑激素 gaba 5htp
不要喝酒
睡前做什麼消除壓力焦慮?
1.LOVE
2.伸展
3.營養補充
4.冥想
5.減少藍光
6.Earthing
7.精油按摩
皮質醇在下午五點到最高峰
睡前不要做激烈運動
推薦睡前運動
楊定一:結構調整
https://youtu.be/luroygkH0kw
楊定一:螺旋拉伸
https://youtu.be/0O1oN7mEVbA
8分鐘睡前瑜伽 flow With Katie
https://youtu.be/RPLm5Bi4B_E
西藏六式 Yen's yoga
https://youtu.be/hqr4yKPvozc
平甩功
https://youtu.be/wHxpfCSI8dc
睡前冥想輔助
楊定一:7分鐘呼吸瑜伽「數息」: 讓腦袋休眠的呼吸練習
https://youtu.be/XJ5GHNA7-6Y
楊定一靜坐導引
https://youtu.be/KlNd1lWGlZo
楊定一睡眠講座
https://www.youtube.com/playlist?list=PLVH-R_8Anjbr_ZmFAzdWTNbW5M33-QCwW
蔣勳念誦金剛經 ( 日本永觀堂鐘聲 )
https://youtu.be/74b_zOR4mGA
白噪音
https://youtu.be/nMfPqeZjc2c
真正的噪音:好倫直播全集(部份鎖會員
https://www.youtube.com/playlist?list=PLvxY-zcdlHNmVN6prjyjUHGc3D2kqFIBD
網路來源:
粒粒皆辛苦:粒線體的生理功能
https://scitechvista.nat.gov.tw/c/sWdH.htm
膠淋巴系統
https://sa.ylib.com/MagArticle.aspx?Unit=featurearticles&id=2958
睡眠恆定
https://www.thenewslens.com/article/76200
接地氣紀錄片
https://youtu.be/cRW0XO2xWn4
防彈接地
https://blog.daveasprey.com/does-grounding-work/
Iherb 禮券碼: ASZ7196
https://tw.iherb.com/c/Sleep-Formulas
nrem sleep 在 Stages of Sleep: REM and Non-REM Sleep Cycles - WebMD 的相關結果
REM stands for rapid eye movement. During REM sleep, your eyes move around rapidly in a range of directions, but don't send any visual ... ... <看更多>
nrem sleep 在 Stages of Sleep | Michigan Medicine 的相關結果
Non-REM (NREM) sleep · Stage N1 occurs right after you fall asleep and is very short (usually less than 10 minutes). It involves light sleep from which you can ... ... <看更多>
nrem sleep 在 Sleep Basics: REM & NREM, Sleep Stages, Good Sleep ... 的相關結果
Non-REM sleep happens first and includes three stages. The last two stage of non-REM sleep is when you sleep deeply. It's hard to wake up from ... ... <看更多>