#โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย
ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่านได้หมด ซวยกันพอดี
:
วิธีเก็บ password ที่ปลอดภัย
จะนำมาผ่าน Hash function เสียก่อน เช่น
hash("1234") ได้คำตอบออกมาเป็น
a591a6d40bf420404a011733cfb7b190d62c65bf0bcda32b57b277d9
:
หน้าที่ hash function จะแปลงพาสเวิร์ด "1234"
เป็นข้อความลับอะไรซักอย่างที่อ่านไม่ออก
ทั้งนี้ขนาดข้อความที่ได้จาก hash function จะคงที่ (fixed size)
:
สำหรับค่าที่ได้จาก Hash function มีหลายชื่อให้เรียกขาน เช่น
hash values, hash codes, digests
แต่ผมจะเรียกสั้นๆ ว่า "ค่า hash" แล้วกัน
:
ส่วนฟังก์ชั่นที่ใช้เป็น Hash function ในโลกนี้มีหลายตัว เช่น
MD5, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL เป็นต้น
:
+++++
👉 ตัดกลับมาตอนนี้เราเก็บ password ในฐานข้อมูลเป็นค่า hash แล้วเวลายูสเซอร์ล็อกอินกรอก user name ป้อน password เข้ามาในระบบ
.
ก็จะมีสเตปการตรวจสอบ password ประมาณเนี่ย
.
1) ระบบจะเอา password มาเข้า hash funcion ได้เป็นค่า hash
2) เอาค่า hash ในข้อ 1 ไปเทียบดูในฐานข้อมูล (ของยูสเซอร์นั้น)
3) ถ้าค่าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ได้ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
:
👉 เหตุผลที่ hash function มัน ok เพราะอาศัยคุณสมบัติดังนี้
1) hash function มันทำงานทางเดียว (one-way)
หมายถึงเราไม่สามารถนำค่า hash มาย้อนหาข้อความต้นฉบับได้เลย
.
ในกรณีนี้ต่อให้ hacker เห็นค่า hash เขาจะไม่สามารถถอดกลับ
มาเป็น "1234" ได้เลย
.
ด้วยเหตุนี้ค่า hash บางทีเขาจึงเรียกว่า "message digest" หมายถึง "ข้อความที่ย่อยสลาย" ...จนไม่รู้ต้นฉบับหน้าตาเป็นแบบไหนแล้ว
:
2) ถ้าข้อความต้นฉบับหน้าตาเดียวกันเป๊ะทุกกะเบียดนิ้ว
เวลาผ่าน hash function จะได้ค่า hash เหมือนเดิม
พอเปลี่ยนข้อความต้นฉบับนิดหนึ่ง
แม่เจ้า ....ค่า hash เปลี่ยนไปราวฟ้ากับเหว ต่างกันมาก
.
จึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะเก็บ password ต่างกัน
แล้วได้ค่า hash เดียวกัน ...เป็นไปไม่ด้ายยยย
(ไม่มีการชนกันหรือ crash)
:
+++++
👉 เพราะข้อดีของ hash function ที่ยกมา
เวลาเก็บ password ลงฐานข้อมูล จึงควรเปลี่ยนไปใช้ค่า hash แทน
.
รับรองได้ว่าต่อให้ hacker เจาะระบบเข้ามาได้ (กรณีเลวร้ายสุดๆ แหละ)
...แล้วอ่าน password ที่ถูกเข้ารหัส ก็จะอ่านไม่รู้เรื่อง
...ต่อให้พยายามถอดกลับมาเป็นข้อความต้นฉบับ ก็ทำไม่ได้นะจ๊ะ
:
ฟังเหมือนปลอดภัยนะ ถ้าเก็บรักษา password ด้วยวิธี hash function แต่ทว่า hacker ก็ยังสามารถใช้วิธีเดาสุ่มหา password ได้อยู่ดี ...ไม่ยากด้วย ขอบอกเลย
:
👉 ยกตัวอย่างง่ายๆ วิธี hack พาสเวิร์ดเบสิกสุดๆ
- ให้คิดว่าตอนนี้ hacker เจาะระบบเข้าไปอ่าน password ในฐานข้อมูลได้แล้ว
- จากนั้น hacker จะมองหาค่า hash (ของ password) ในฐานข้อมูลที่ซ้ำๆ กันอยู่
- นั่นหมายถึงเจอยูสเซอร์ใช้ password ซ้ำกัน จึงเจอค่า hash ซ้ำกันนั่นเอง
- แล้วการที่ยูสเซอร์ใช้ซ้ำ แสดงว่ามันเป็น password ง่ายนะซิ เช่น
123456, 1111, Baseball, Qwerty, password
.
ดังนั้น hacker ก็แค่ค้นหาในตาราง
ตารางที่ว่าจะเก็บ password พร้อมค่า hash
(เก็บพวก password ที่คนใช้กันเยอะ)
ซึ่ง hacker ก็จะค้นหาหาในตารางดังกล่าว
แบบไล่สุ่มไปเรื่อยๆ เดี่ยวก็เจอไม่ยาก
:
++++
👉 ก็เพราะเหตุนี้จึงต้องหาวิธีแก้ทาง hacker
ให้เดาสุ่มหา password มันทวีความยุ่งยากไปอีก
(จุดประสงค์ป้องเทคนิคพวกเดาสุ่ม เช่น
dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables,
Reverse Lookup Tables, Rainbow Tables)
:
👉 สำหรับวิธีการป้องกัน ก็จะทำประมาณเนี่ย
ก่อนที่จะเก็บ password ลงฐานข้อมูล ระบบจะต้องทำเยี่ยงนี้
1) จะนำ password มากบวกกับค่า salt
2) จากนั้นนำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash function
แล้วเก็บค่า hash ที่ได้ลงฐานข้อมูล
.
ขออธิบายข้อ 2 เพิ่มเติม
จากเดิมเราเรียกใช้ hash function เช่น
hash("1234")
แต่เราจะเปลี่ยนมาเรียก
hash("1234" + "QxLUF1bgIAdeQX")
hash("1234" + "bv5PehSMfV11Cd")
hash("1234" + "YYLmfY6IehjZMQ")
.
ซึ่ง "QxLUF1bgIAdeQX", "bv5PehSMfV11Cd", "YYLmfY6IehjZMQ" ที่ยกตัวอย่าง
มันก็คือค่า "salt" (ที่แปลว่า "เกลือ")
เป็นค่า radom ที่แจกให้แต่ละยูสเซอร์ ไม่ซ้ำกันเลย
เราจะนำมาบวกกับ password ก่อนเข้า hash function
:
เวลาเก็บ password ในฐานข้อมูล
แต่ละยูสเซอร์จะต้องเก็บทั้งค่า hash กับ salt เอาไว้
.
👉 พอเวลายูสเซอร์ล็อกอินใส่ user name / password
1) ระบบก็เอา password มาบวกกับ salt
(แต่ละยูสเซอร์เก็บค่า salt คนละค่า)
2) นำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash funcion
3) นำค่าที่ได้จากข้อ 2 ไปเปรียบเทียบกับ ค่า hash ในฐานข้อมูล
4) ถ้าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
..
แต่มีข้อแม้ hash function ที่ควรใช้ได้แก่
Argon2, bcrypt, scrypt ($2y$, $5$, $6$), หรือ PBKDF2
มันถึงจะปลอดภัย ทำให้การเดาสุ่มหา password ทำได้ยากขึ้น
.
ส่วนพวก hash function ที่ทำงานได้รวดเร็ว เช่น
MD5, SHA1, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL, SHA3, etc.
เนี่ยห้ามใช้นะครับ
หรืออย่าง crypt (เวอร์ชั่น $1$, $2$, $2x$, $3$) ก็ไม่ห้ามใช้นะครับ
:
+++++
👉 ในแง่การเขียนโปรแกรม
เข้าใจว่าแต่ละภาษาโปรแกรมมิ่ง หรือพวกเฟรมเวิร์ค
เขาคงเตรียมไลบรารี่ หรือเครื่องมือ
เอาไว้ให้ใช้ hash function รวมกับค่า salt อยู่แล้ว
เราสามารถเปิดคู่มือ แล้วทำตามได้เลยครับ
:
++++
👉 ย้ำที่อธิบายทั้งหมดนี้
เป็นการป้องกันการเจาะระบบฝั่งแอพ หรือระบบเท่านั้น
hacker ยังสามารถเดาสุ่มป้อน password
ได้โดยตรงที่หน้าแอพ หรือฝั่งล็อกอินหน้าโปรแกรมได้เลย (Brute Force Attacks)
.
ทางที่ดีระบบต้องเช็กว่าถ้ายูสเซอร์กรอก password ผิดติดต่อกันกี่ครั้ง?
ถึงจะระงับการใช้ user name นี้ชั่วคราว หรือจะแบน IP ที่ล็อกอินเข้ามาไปเลยก็ยังได้
.
ยิ่งถ้าเป็นการล็อกอินผ่านเว็บไซต์
ก็ควรให้เว็บเราใช้โปรโตคอล https ขืนไปใช้ http ธรรมดา
โอกาสเจอ hacker ดักจับ user name/ passwod กลางทางมีสูงมาก
.
เว้นแต่เราจะใช้เทคนิค Digest Access Authentication เข้าช่วย
ทำให้การส่ง user name/password ผ่าน http ธรรมดาได้อย่างปลอดภัย (แต่โค้ดดิ่งก็จะยุ่งยากตาม)
:
+++
😁 สรุป
1) เก็บพาสเวิร์ดตรงๆ โดยไม่เข้ารหัส -> hacker ชอบนักแล
2) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values -> hacker อ่านไม่ออกก็จริง แต่ไม่ยากที่จะเดา password
3) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values + salt vaues
-> hacker อ่านไม่ออก ต่อให้ไปเดาสุ่ม ก็จะทำได้ยากขึ้น
จุดประสงค์ข้อ 3 นี้เพื่อป้องกันด้วยเทคนิค ..... dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables, Reverse Lookup Tables, Rainbow Table
.
สุดท้ายขอจบเรื่อง hash funcion กับ password
ให้รอดพ้นจาก hacker ไว้เพียงเท่านั้น
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านนะครับ
.
++++++
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
อ้างอิง
https://crackstation.net/hashing-security.htm
https://en.wikipedia.org/wiki/Hash_function
「password hashing」的推薦目錄:
- 關於password hashing 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文
- 關於password hashing 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
- 關於password hashing 在 Eric Fan 范健文 Facebook 的最佳解答
- 關於password hashing 在 How to hash a password - Stack Overflow 的評價
- 關於password hashing 在 RustCrypto/password-hashes - GitHub 的評價
- 關於password hashing 在 Why is client-side hashing of a password so uncommon? 的評價
password hashing 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
#โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย
ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่านได้หมด ซวยกันพอดี
:
วิธีเก็บ password ที่ปลอดภัย
จะนำมาผ่าน Hash function เสียก่อน เช่น
hash("1234") ได้คำตอบออกมาเป็น
a591a6d40bf420404a011733cfb7b190d62c65bf0bcda32b57b277d9
:
หน้าที่ hash function จะแปลงพาสเวิร์ด "1234"
เป็นข้อความลับอะไรซักอย่างที่อ่านไม่ออก
ทั้งนี้ขนาดข้อความที่ได้จาก hash function จะคงที่ (fixed size)
:
สำหรับค่าที่ได้จาก Hash function มีหลายชื่อให้เรียกขาน เช่น
hash values, hash codes, digests
แต่ผมจะเรียกสั้นๆ ว่า "ค่า hash" แล้วกัน
:
ส่วนฟังก์ชั่นที่ใช้เป็น Hash function ในโลกนี้มีหลายตัว เช่น
MD5, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL เป็นต้น
:
+++++
👉 ตัดกลับมาตอนนี้เราเก็บ password ในฐานข้อมูลเป็นค่า hash แล้วเวลายูสเซอร์ล็อกอินกรอก user name ป้อน password เข้ามาในระบบ
.
ก็จะมีสเตปการตรวจสอบ password ประมาณเนี่ย
.
1) ระบบจะเอา password มาเข้า hash funcion ได้เป็นค่า hash
2) เอาค่า hash ในข้อ 1 ไปเทียบดูในฐานข้อมูล (ของยูสเซอร์นั้น)
3) ถ้าค่าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ได้ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
:
👉 เหตุผลที่ hash function มัน ok เพราะอาศัยคุณสมบัติดังนี้
1) hash function มันทำงานทางเดียว (one-way)
หมายถึงเราไม่สามารถนำค่า hash มาย้อนหาข้อความต้นฉบับได้เลย
.
ในกรณีนี้ต่อให้ hacker เห็นค่า hash เขาจะไม่สามารถถอดกลับ
มาเป็น "1234" ได้เลย
.
ด้วยเหตุนี้ค่า hash บางทีเขาจึงเรียกว่า "message digest" หมายถึง "ข้อความที่ย่อยสลาย" ...จนไม่รู้ต้นฉบับหน้าตาเป็นแบบไหนแล้ว
:
2) ถ้าข้อความต้นฉบับหน้าตาเดียวกันเป๊ะทุกกะเบียดนิ้ว
เวลาผ่าน hash function จะได้ค่า hash เหมือนเดิม
พอเปลี่ยนข้อความต้นฉบับนิดหนึ่ง
แม่เจ้า ....ค่า hash เปลี่ยนไปราวฟ้ากับเหว ต่างกันมาก
.
จึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะเก็บ password ต่างกัน
แล้วได้ค่า hash เดียวกัน ...เป็นไปไม่ด้ายยยย
(ไม่มีการชนกันหรือ crash)
:
+++++
👉 เพราะข้อดีของ hash function ที่ยกมา
เวลาเก็บ password ลงฐานข้อมูล จึงควรเปลี่ยนไปใช้ค่า hash แทน
.
รับรองได้ว่าต่อให้ hacker เจาะระบบเข้ามาได้ (กรณีเลวร้ายสุดๆ แหละ)
...แล้วอ่าน password ที่ถูกเข้ารหัส ก็จะอ่านไม่รู้เรื่อง
...ต่อให้พยายามถอดกลับมาเป็นข้อความต้นฉบับ ก็ทำไม่ได้นะจ๊ะ
:
ฟังเหมือนปลอดภัยนะ ถ้าเก็บรักษา password ด้วยวิธี hash function แต่ทว่า hacker ก็ยังสามารถใช้วิธีเดาสุ่มหา password ได้อยู่ดี ...ไม่ยากด้วย ขอบอกเลย
:
👉 ยกตัวอย่างง่ายๆ วิธี hack พาสเวิร์ดเบสิกสุดๆ
- ให้คิดว่าตอนนี้ hacker เจาะระบบเข้าไปอ่าน password ในฐานข้อมูลได้แล้ว
- จากนั้น hacker จะมองหาค่า hash (ของ password) ในฐานข้อมูลที่ซ้ำๆ กันอยู่
- นั่นหมายถึงเจอยูสเซอร์ใช้ password ซ้ำกัน จึงเจอค่า hash ซ้ำกันนั่นเอง
- แล้วการที่ยูสเซอร์ใช้ซ้ำ แสดงว่ามันเป็น password ง่ายนะซิ เช่น
123456, 1111, Baseball, Qwerty, password
.
ดังนั้น hacker ก็แค่ค้นหาในตาราง
ตารางที่ว่าจะเก็บ password พร้อมค่า hash
(เก็บพวก password ที่คนใช้กันเยอะ)
ซึ่ง hacker ก็จะค้นหาหาในตารางดังกล่าว
แบบไล่สุ่มไปเรื่อยๆ เดี่ยวก็เจอไม่ยาก
:
++++
👉 ก็เพราะเหตุนี้จึงต้องหาวิธีแก้ทาง hacker
ให้เดาสุ่มหา password มันทวีความยุ่งยากไปอีก
(จุดประสงค์ป้องเทคนิคพวกเดาสุ่ม เช่น
dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables,
Reverse Lookup Tables, Rainbow Tables)
:
👉 สำหรับวิธีการป้องกัน ก็จะทำประมาณเนี่ย
ก่อนที่จะเก็บ password ลงฐานข้อมูล ระบบจะต้องทำเยี่ยงนี้
1) จะนำ password มากบวกกับค่า salt
2) จากนั้นนำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash function
แล้วเก็บค่า hash ที่ได้ลงฐานข้อมูล
.
ขออธิบายข้อ 2 เพิ่มเติม
จากเดิมเราเรียกใช้ hash function เช่น
hash("1234")
แต่เราจะเปลี่ยนมาเรียก
hash("1234" + "QxLUF1bgIAdeQX")
hash("1234" + "bv5PehSMfV11Cd")
hash("1234" + "YYLmfY6IehjZMQ")
.
ซึ่ง "QxLUF1bgIAdeQX", "bv5PehSMfV11Cd", "YYLmfY6IehjZMQ" ที่ยกตัวอย่าง
มันก็คือค่า "salt" (ที่แปลว่า "เกลือ")
เป็นค่า radom ที่แจกให้แต่ละยูสเซอร์ ไม่ซ้ำกันเลย
เราจะนำมาบวกกับ password ก่อนเข้า hash function
:
เวลาเก็บ password ในฐานข้อมูล
แต่ละยูสเซอร์จะต้องเก็บทั้งค่า hash กับ salt เอาไว้
.
👉 พอเวลายูสเซอร์ล็อกอินใส่ user name / password
1) ระบบก็เอา password มาบวกกับ salt
(แต่ละยูสเซอร์เก็บค่า salt คนละค่า)
2) นำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash funcion
3) นำค่าที่ได้จากข้อ 2 ไปเปรียบเทียบกับ ค่า hash ในฐานข้อมูล
4) ถ้าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
..
แต่มีข้อแม้ hash function ที่ควรใช้ได้แก่
Argon2, bcrypt, scrypt ($2y$, $5$, $6$), หรือ PBKDF2
มันถึงจะปลอดภัย ทำให้การเดาสุ่มหา password ทำได้ยากขึ้น
.
ส่วนพวก hash function ที่ทำงานได้รวดเร็ว เช่น
MD5, SHA1, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL, SHA3, etc.
เนี่ยห้ามใช้นะครับ
หรืออย่าง crypt (เวอร์ชั่น $1$, $2$, $2x$, $3$) ก็ไม่ห้ามใช้นะครับ
:
+++++
👉 ในแง่การเขียนโปรแกรม
เข้าใจว่าแต่ละภาษาโปรแกรมมิ่ง หรือพวกเฟรมเวิร์ค
เขาคงเตรียมไลบรารี่ หรือเครื่องมือ
เอาไว้ให้ใช้ hash function รวมกับค่า salt อยู่แล้ว
เราสามารถเปิดคู่มือ แล้วทำตามได้เลยครับ
:
++++
👉 ย้ำที่อธิบายทั้งหมดนี้
เป็นการป้องกันการเจาะระบบฝั่งแอพ หรือระบบเท่านั้น
hacker ยังสามารถเดาสุ่มป้อน password
ได้โดยตรงที่หน้าแอพ หรือฝั่งล็อกอินหน้าโปรแกรมได้เลย (Brute Force Attacks)
.
ทางที่ดีระบบต้องเช็กว่าถ้ายูสเซอร์กรอก password ผิดติดต่อกันกี่ครั้ง?
ถึงจะระงับการใช้ user name นี้ชั่วคราว หรือจะแบน IP ที่ล็อกอินเข้ามาไปเลยก็ยังได้
.
ยิ่งถ้าเป็นการล็อกอินผ่านเว็บไซต์
ก็ควรให้เว็บเราใช้โปรโตคอล https ขืนไปใช้ http ธรรมดา
โอกาสเจอ hacker ดักจับ user name/ passwod กลางทางมีสูงมาก
.
เว้นแต่เราจะใช้เทคนิค Digest Access Authentication เข้าช่วย
ทำให้การส่ง user name/password ผ่าน http ธรรมดาได้อย่างปลอดภัย (แต่โค้ดดิ่งก็จะยุ่งยากตาม)
:
+++
😁 สรุป
1) เก็บพาสเวิร์ดตรงๆ โดยไม่เข้ารหัส -> hacker ชอบนักแล
2) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values -> hacker อ่านไม่ออกก็จริง แต่ไม่ยากที่จะเดา password
3) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values + salt vaues
-> hacker อ่านไม่ออก ต่อให้ไปเดาสุ่ม ก็จะทำได้ยากขึ้น
จุดประสงค์ข้อ 3 นี้เพื่อป้องกันด้วยเทคนิค ..... dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables, Reverse Lookup Tables, Rainbow Table
.
สุดท้ายขอจบเรื่อง hash funcion กับ password
ให้รอดพ้นจาก hacker ไว้เพียงเท่านั้น
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านนะครับ
.
++++++
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
อ้างอิง
https://crackstation.net/hashing-security.htm
https://en.wikipedia.org/wiki/Hash_function
password hashing 在 Eric Fan 范健文 Facebook 的最佳解答
IMPORTANT WARNING: If you are thinking of writing your own password hashing code, please don't!. It's too easy to screw up. No, that cryptography course you took in university doesn't make you exempt from this warning. This applies to everyone: DO NOT WRITE YOUR OWN CRYPTO! The problem of storing passwords has already been solved. Use either use either phpass, the PHP, C#, Java, and Ruby implementations in defuse/password-hashing, or libsodium.
password hashing 在 RustCrypto/password-hashes - GitHub 的推薦與評價
Password hashing functions / KDFs. Contribute to RustCrypto/password-hashes development by creating an account on GitHub. ... <看更多>
password hashing 在 Why is client-side hashing of a password so uncommon? 的推薦與評價
Inventor of JavaScript password hashing here. Way back in 1998 I was building a Wiki, the first web site I'd built with a login system. ... <看更多>
password hashing 在 How to hash a password - Stack Overflow 的推薦與評價
... <看更多>
相關內容