#2021Diary
•
Hi guys! Check out this first-of-a kind local podcast thriller by ZAG Media! Keep calm and listen on:)
•
Spotify: https://bit.ly/MU-SPOT
Youtube: https://bit.ly/MU-YTB
•
Wrote and directed by Thiyagu Govindan
•
You should listen to this podcast because :-
1. It's relevant with our situation now, living thru lockdown for 1.5 years now and trying not to lose our minds.
2. This podcast have been done entirely remotely, where most of us have not even met face to face!
3. It's an engaging local series - its well made + acted AND not too long each episode is only 15 mins.
4. You can listen on-the-go- whilst you are working out, cooking etc etc
5. Or you have screen fatigue because staring at your laptop screen too long or watching too much netflix? No problem, listen to this podcast.
•
OK. Just listen now... haha...
#MalpraktisUniversiti #ZAGMedia #AudioDrama
同時也有57部Youtube影片,追蹤數超過24萬的網紅啟點文化,也在其Youtube影片中提到,喝紅酒的人身體好,所以跟著喝,就會長壽? 會游泳的人身材好,所以跟著游,就會健美? 當你「以為」自己找到答案, 你就錯過了精彩解方! 【線上課程】《過好人生學》~讓你建立迎向未來的思維與能力! 課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk03 第一講免費試聽:ht...
「spotify problem」的推薦目錄:
- 關於spotify problem 在 Facebook 的最佳貼文
- 關於spotify problem 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於spotify problem 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於spotify problem 在 啟點文化 Youtube 的精選貼文
- 關於spotify problem 在 The Thirsty Sisters Youtube 的最讚貼文
- 關於spotify problem 在 Hapa 英会話 Youtube 的最佳貼文
- 關於spotify problem 在 Facebook and Spotify down: Thousands of users kicked out of ... 的評價
- 關於spotify problem 在 Is Spotify down? How to check if the app is offline - The Sun 的評價
- 關於spotify problem 在 Spotify Hopes To Solve Its Joe Rogan Problem By Acting Like ... 的評價
- 關於spotify problem 在 Internet outages: Spotify, Discord and more are finally back up 的評價
spotify problem 在 Facebook 的最讚貼文
#葉郎每日讀報 #娛樂要聞揀三條
1.復健進度:Jason Statham新片奪冠
2.CDN快取可能拖累Netflix下載速度
3.如何在非洲打敗Spotify?辦音樂大賽
____________________________________
▼ 1.With Jason Statham’s ‘Wrath of Man’ at #1, It’s Another Testosterone Weekend at the Box Office(https://flip.it/Za023g)
│
觀察2021年每個週末的電影票房排行榜就好像追蹤一個剛剛重傷的病人的復健進度。在疫情讓全球電影業歸零之後,過去四個多月的經驗我們首先確知了觀眾願意為闔家觀賞的親子片回到電影院,接下來《Mortal Kombat 真人快打》和《Godzilla vs Kong 哥吉拉大戰金剛》則驗證了硬派動作大片活下來了。上個週末 Jason Statham 的新片《Wrath of Man 玩命鈔劫》以 R 級的分級登上北美票房排行榜的第一名,再度驗證硬派動作大片的實力,也為今年暑假檔揭開一個還不錯的序幕。然而值得注意的是雖然市場正在緩慢地復甦,但最近先後登上票房冠軍的《真人快打》和《鬼滅之刃》兩部電影的票房在高點之後就下滑得非常快。考量上映的新片數量不多的狀況,這種下滑速度仍是市場健康的一個警訊。下一部暑假檔大片將是5月28日的《A Quiet Place Part II 噤界2》。
│
│
▼2. The Netflix Speed Problem You Don’t Even Know You Have(https://flip.it/t0T..R)
│
伺服器研究測試機構 SamKnows 發表最新報告指出許多 Netflix 和 ISP 用來改善節目傳輸的快取做法其實正在拖累用戶觀看節目的速度。一般來說 HD 畫質的 Netflix 節目大概需要 5Mbits/sec 的傳輸速度,而 Ultra HD/4K 則需要 16Mbits/sec。SamKnows 去年檢測的資料發現部分用戶家裡的網路速度即使高達 70Mbits/sec,在尖峰時間觀看 Netflix 節目時的下載速度會跌到 10Mbits/sec 以下。造成這個問題的主因是 各家 ISP 和 Netflix 為了減少傳輸距離、讓用戶就近下載熱門內容而設置的 CDN 快取服務。尖峰時間這些快取服務反而因為過度壅塞而拖累用戶觀看影片的速度。然而當用戶使用測速軟體來測試家裡的網路外連速度時會顯示一切正常,因為壅塞的不是外連到外部伺服器的線路,而是發生在ISP內部,測速軟體的測量方式反應不出來這種內部的壅塞。
│
│
▼ 3. How Spotify’s Competition in Africa Won the Hearts of Listeners(https://flip.it/bg1CWz)
│
一家在全球其他市場能見度都很低的音樂串流服務 Audiomack 去年開始在非洲市場超越 Spotify 的市佔率,成為非洲第一大串流。該服務和免費版 Spotify 一樣是仰賴廣告收入來支付版權費,最大差別則是 Audiomack 考量非洲的網路基礎服務因素而提供用戶下載歌曲的服務,讓用戶減少大量網路傳輸費用。然而他們真正得以籠絡非洲創作者和用戶的心的秘密武器是:音樂大賽。他們為了幫助用戶挖掘新的非洲音樂,每年四次以比賽的方式挑選各種類型音樂的新歌曲,而且這些新歌即便沒有唱片公司合約也可以上傳平台,並獲得平台方主動提供的各種行銷資源來推廣給用戶。
spotify problem 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
เลิกใช้หลอดพลาสติก ช่วยโลกได้มากแค่ไหน ? /โดย ลงทุนแมน
ช่วงไม่กี่ปีมานี้ คนทั่วโลกต่างกระตือรือร้น ที่จะช่วยกันลดการใช้พลาสติก
โดยเฉพาะประเภทที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง อย่างเช่นหลอดพลาสติก
เพื่อลดปริมาณขยะที่ถูกทิ้งลงทะเล เพราะนอกจากพลาสติกเหล่านี้จะทำลายสิ่งแวดล้อมแล้ว
มันยังทำร้ายสัตว์ทะเลอีกด้วย
แล้วเราเคยสงสัยไหมว่า หลอดพลาสติกที่เราช่วยกันใช้ให้น้อยลงนี้
จะส่งผลกระทบมากน้อยแค่ไหน เมื่อเทียบกับปริมาณขยะพลาสติกทั้งหมดบนโลก ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปในปี 2015 หรือ 6 ปีก่อน มีคลิปวิดีโอหนึ่งที่ถูกแชร์และพูดถึงกันไปทั่วโลก
เป็นคลิปวิดีโอที่นักชีววิทยาทางทะเล ได้ช่วยเหลือเต่าที่หายใจติดขัด
เพราะมีหลอดพลาสติกเข้าไปติดในจมูก
ซึ่งนี่ก็ไม่ใช่ครั้งแรก ที่ขยะจากฝีมือมนุษย์ได้ไปทำร้ายสัตว์ทะเล
เพราะจริง ๆ แล้ว ยังมีกรณีร้ายแรงถึงขั้นทำให้สัตว์เสียชีวิต
อย่างเช่น เต่าทะเลที่เห็นถุงพลาสติกลอยน้ำอยู่
จึงเข้าใจว่าเป็นแมงกะพรุน เลยกินเข้าไป
จนถุงพลาสติกไปอุดหลอดลมจนเสียชีวิต
จากคลิปวิดีโอนั้นเอง ก็ได้เป็นเหมือนแรงกระเพื่อมทางสังคม
ที่กลายมาเป็นต้นกำเนิดของการร่วมกันรณรงค์ให้เลิกใช้หลอดพลาสติกทั่วโลก
เพื่อช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเล
โดยนำเสนอให้เราหันมาใช้หลอดที่สามารถล้างและใช้ซ้ำได้ หรือหากเป็นหลอดใช้แล้วทิ้ง
ก็เลือกใช้หลอดที่ทำจากวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายกว่า
เช่น หลอดกระดาษ ที่ใช้เวลาย่อยสลาย 2 ถึง 6 สัปดาห์
ในขณะที่หลอดพลาสติกใช้เวลาย่อยสลายถึง 200 ปี หรือนานกว่าหลอดกระดาษ 1,740 เท่า
โดยแรงกระเพื่อมในครั้งนี้ ยังสั่นสะเทือนไปถึงผู้ประกอบการรวมถึงภาครัฐ
ที่ต่างก็ร่วมกันออกนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดปริมาณการใช้พลาสติกลง
เช่นในประเทศสหรัฐอเมริกาที่เริ่มแบนการใช้หลอดพลาสติกในปี 2018 อย่างเป็นทางการในหลายรัฐ
หรืออย่าง Starbucks และ McDonald’s ก็ประกาศว่าจะทยอยเลิกใช้หลอดพลาสติกไปจนครบทุกสาขา
ซึ่งข้อมูลจากการประเมินโดยนักวิทยาศาสตร์ทางทะเล
ระบุว่าหลอดพลาสติกที่กลายเป็นขยะลงสู่ทะเลต่อปี มีจำนวน 8,300 ล้านชิ้น
หรือคิดเป็นน้ำหนักที่รวมกันกว่า 2,000 ตัน
แล้วปริมาณที่ว่านี้ ถือว่าเยอะขนาดไหน ?
เราลองมาดูข้อมูลเหล่านี้ ที่ถูกประมาณการไว้ เป็นจำนวนตันต่อปี
หลอดพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเล 2,000 ตัน
พลาสติกทั้งหมดที่ถูกทิ้งลงทะเล 8,000,000 ตัน
ในขณะที่ขยะพลาสติกทั้งหมดมี 275,000,000 ตัน
จะเห็นได้ว่า ขยะจากหลอดพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเลนั้น คิดเป็น 0.025% ของขยะพลาสติกทั้งหมด
ที่ถูกทิ้งลงทะเล และเป็น 0.0007% ของขยะพลาสติกทั้งหมด
ตัวเลขเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าหลอดพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเล
แท้จริงแล้วคิดเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเลทั้งหมด
โดยข้อมูลระบุว่า กว่า 46% ของขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงทะเลทั้งหมดนั้น
ส่วนใหญ่ก็คือแหตกปลา และที่เหลือ ส่วนใหญ่ก็มาจากอุปกรณ์ประมง
ที่ทำจากพลาสติก สอดคล้องกับข้อมูลที่ว่าในการจับปลาทูนาน้ำหนัก 1 หน่วย
จะมีอุปกรณ์ประมงที่กลายเป็นขยะพลาสติกในทะเลถึง 2 หน่วย
ซึ่งแหและอุปกรณ์ประมงเหล่านี้ ก็ส่งผลร้ายไม่ต่างจากขยะพลาสติกชนิดอื่น ๆ
เพราะมีหลายกรณีเช่นกัน ที่สัตว์ทะเลเข้าไปติดอยู่กับแหที่จมอยู่
แล้วได้รับบาดเจ็บ หรือหนีไปไหนไม่ได้ จนกระทั่งเสียชีวิต
หากเป็นแบบนี้แล้ว วิธีการแก้ปัญหาขยะพลาสติกในมหาสมุทร
ที่สามารถส่งผลอย่างมีนัยสำคัญได้ ควรเป็นอย่างไร ?
ในประเด็นของการปล่อยอุปกรณ์ประมงลงทะเล หลายฝ่ายต่างเสนอให้ออกบทลงโทษที่ชัดเจน และให้ทุกฝ่ายปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
แต่ที่สำคัญไม่แพ้กัน คือขั้นตอนในการป้องกัน “ไม่ให้ขยะจากฝั่งลงสู่ทะเล” ซึ่งข้อเสนอต่างก็เป็นไปในทางเดียวกัน ก็คือเรื่องของ “กระบวนการจัดการและกำจัดขยะ”
ประเทศที่ทำให้เกิดขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุดในโลก หรือกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณทั้งหมด
ก็คือประเทศจีน รองลงมาคืออินโดนีเซีย ตามมาด้วยฟิลิปปินส์ เวียดนาม และศรีลังกา
โดย 19 อันดับแรกของประเทศที่ปล่อยขยะพลาสติกลงสู่ทะเลมากที่สุด เป็นประเทศกำลังพัฒนา ที่โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบจัดการและกำจัดขยะยังคงขาดประสิทธิภาพและไม่เพียงพอ
หากประเทศเหล่านี้ หันมาให้ความสำคัญในการพัฒนาระบบจัดการและกำจัดขยะ
ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้ 50% จะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติก
ที่ถูกทิ้งลงทะเลทั่วโลกได้ถึง 1 ใน 4 เลยทีเดียว
ในด้านของประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่
แม้ประเทศเหล่านี้จะมีระบบจัดการขยะที่ลงสู่ทะเลมีประสิทธิภาพเพียงพอ
แต่ปริมาณขยะพลาสติกต่อคน ยังถือว่าสูงมาก มากกว่าประเทศกำลังพัฒนา
ที่ปล่อยขยะลงสู่ทะเลในปริมาณมากเหล่านั้นเสียอีก
สำหรับการแก้ปัญหานี้ นอกจากการลดการใช้พลาสติกแล้ว ยังรวมไปถึงกระบวนการแยกขยะ และการนำกลับมาใช้ใหม่ ทั้งการรียูสและรีไซเคิล เพราะทุกวันนี้ ขยะพลาสติกที่ถูกนำไปรีไซเคิลมีเพียงแค่ 9% เท่านั้น
นั่นหมายความว่า นอกจากเราจะช่วยกันลดปริมาณขยะพลาสติกจากการใช้งานแล้ว
สิ่งที่สำคัญไม่แพ้กันก็คือ กระบวนการแยกขยะ และกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่
พร้อมทั้งการวางรากฐานและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบจัดการขยะไม่ให้ลงสู่ทะเล
แต่ทั้งหมดนี้ก็เป็นมุมมองจากด้านมลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากพลาสติกเท่านั้น
เพราะหากพิจารณาถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในด้านอื่น ๆ
จะพบว่าในกระบวนการผลิตพลาสติก
ถุงกระดาษจะใช้ทรัพยากรและปล่อยมลพิษมากกว่าถุงพลาสติก 43 เท่า
และถ้าเราพูดถึงกระบวนการผลิตถุงผ้านั้น
ถุงผ้าก็จะใช้ทรัพยากรและปล่อยมลพิษมากกว่าถุงพลาสติก 20,000 เท่า
หรือก็คือ เมื่อไม่ใช้ถุงพลาสติก 1 ถุง แล้วใช้ถุงกระดาษแทน
ถุงกระดาษนั้นต้องถูกนำมาใช้ซ้ำ 43 ครั้ง หรือถ้าเป็นถุงผ้า ต้องถูกนำมาใช้ซ้ำราว 55 ปี
ถึงจะเท่าเทียมกัน ในมุมของมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิต
นอกจากนี้ การผลิตพลาสติกยังก่อมลพิษทางอากาศ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้อยกว่ากระบวนการผลิตกระดาษและผ้าคอตตอนอีกด้วย
สุดท้ายแล้ว นี่ก็คงเป็นเหมือนกับหลาย ๆ สิ่ง
ที่เรายังไม่สามารถตัดสินแบบชี้ชัดได้ว่าอะไรดีกว่ากัน
เพราะทุกอย่างต่างก็มีทั้งปัจจัยที่ดีและไม่ดีปะปนกันไป
และมุมมองเหล่านั้น ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา
ย้อนกลับไปในปี 1888 หรือเมื่อ 133 ปีก่อน
มนุษย์มีหลอดใช้ครั้งแรก ซึ่งเป็นหลอดทำจากกระดาษ
จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มนุษย์ได้รู้จักพลาสติกเป็นครั้งแรก
จึงทำให้ในปี 1969 ต่างก็หันมาผลิตหลอดจากพลาสติกแทน
เพราะดีกว่าหลอดกระดาษในด้านความคงทน ความสะดวกในการใช้งาน และมีราคาถูกกว่า
แต่ 50 ปีหลังจากนั้น หรือในวันนี้ คุณสมบัติของความคงทนที่ทุกคนชื่นชอบ
ก็ได้กลายมาเป็นประเด็นต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทั้งจากการย่อยสลายยากและได้กลายเป็นขยะลอยอยู่ในทะเล
จนเราต้องหวนกลับไปใช้หลอดกระดาษ
ที่แม้จะด้อยกว่าในเรื่องการใช้งาน แต่ก็ดีต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า
ท้ายที่สุดแล้ว แม้ว่าปริมาณหลอดพลาสติกที่เราช่วยกันลด
อาจไม่ได้คิดเป็นสัดส่วนที่มากเท่าไร เมื่อเทียบกับขยะพลาสติกบนโลก
แต่อย่างน้อย มันก็เป็นเรื่องใกล้ตัวที่สุด
ที่เราสามารถช่วยให้โลกของเราดีขึ้นได้บ้าง แม้มันจะเป็นส่วนเล็ก ๆ ก็ตาม..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bloomberg.com/opinion/articles/2018-06-07/plastic-straws-aren-t-the-problem
-https://www.nationalgeographic.com/environment/article/news-plastic-drinking-straw-history-ban
-https://www.wri.org/blog/2018/08/banning-straws-and-bags-wont-solve-our-plastic-problem
-https://earth.stanford.edu/news/do-plastic-straws-really-make-difference#gs.ytna1y
-https://theconversation.com/eight-million-tonnes-of-plastic-are-going-into-the-ocean-each-year-37521
-https://www.nbcnews.com/news/us-news/banning-plastic-straws-will-not-be-enough-fight-clean-oceans-n951141
-https://www.rubicon.com/blog/paper-straws-better-environment/
-https://science.sciencemag.org/content/347/6223/768
spotify problem 在 啟點文化 Youtube 的精選貼文
喝紅酒的人身體好,所以跟著喝,就會長壽?
會游泳的人身材好,所以跟著游,就會健美?
當你「以為」自己找到答案,
你就錯過了精彩解方!
【線上課程】《過好人生學》~讓你建立迎向未來的思維與能力!
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk03
第一講免費試聽:https://youtu.be/-EHOn0UxMys
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pros.is/KQZZH
【線上課程】《專業有價》~幫你兌現個人價值,讓客戶自動上門
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk08
第一講免費試聽:https://youtu.be/gzZ4gloxB9M
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pros.is/3ch4rm
【線上課程】《成為你想要的改變》搞定拖延與分心,找回掌控感
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk09
第一講免費試聽:https://youtu.be/09k1c-8GUgs
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pros.is/3g4mjq
【11/1開課】《CIA通達力》初階班~全方位溝通表達訓練(第36期)
讓原本的你成為自己的力量與資源,帶你前往想去的地方。
課程資訊:https://www.koob.com.tw/topic/13
更多學員心得分享:http://pse.ee/5TB7F
【10/16開課!】《關係探索工作坊》用隱喻鬆動卡住的關係,讓愛流動~
課程資訊:https://www.koob.com.tw/topic/18
[ 12/5 開課!]【寫作小學堂】寫出專屬風格,找回文字悸動~第10期
打造一盞自己的聚光燈,建立起專屬於你的品牌印象
課程資訊:https://www.koob.com.tw/topic/9
更多學員心得分享:https://pse.is/NE3QN
【線上課程】《提升你的心理免疫力》~駕馭壓力的五大策略
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk07
第一講免費試聽:https://youtu.be/_YT1fDZYmTc
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pse.is/wugyq
【線上課程】《自信表達力》~讓你不再害怕開口
從「敢表達、說清楚」到讓人「聽得進、會去做」的完整學習
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk05
第一講免費試聽:https://youtu.be/fAjySLoa2f8
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pse.is/NUJK9
【線上課程】《理財心裡學》~擺脫家庭影響,從心培養富體質
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk04
第一講免費試聽:https://youtu.be/HgrDK7pqR-0
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pse.is/NJ5VE
【線上課程】《人際斷捨離》~
讓你留下怦然心動的關係,活出輕盈自在的人生!
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk02
第一講免費試聽:https://youtu.be/YyLvd1cNcDw
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pse.is/LVRLY
【線上課程】《與人連結的三個秘密》
啟動接觸、開啟話題,你需要有一顆願意欣賞的心
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk06
第一講免費試聽:https://youtu.be/e3hUVtIhDZE
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pros.is/QWLR2
【線上課程】《時間駕訓班》~
學會提升效率,擺脫瞎忙人生,做自己時間的主人
課程連結:https://www.koob.com.tw/online/tk01
第一講免費試聽:https://youtu.be/flfm52T6lE8
不定期推出補充教材,讓學習無限延伸:https://pse.is/GXZWM
【新平台露出】受夠YouTube廣告?!
這裡讓你專心學習:https://odysee.com/@%E5%95%9F%E9%BB%9E%E6%96%87%E5%8C%96:c
【我們有Podcast囉~】歡迎到Podcast應用裡搜尋「啟點文化一天聽一點」訂閱我們!
Apple Podcast~https://pse.is/N2WCZ
Google Podcast~https://pse.is/PEN2Z
在Spotify收聽~https://pse.is/PQT76
在Himalaya收聽~https://www.himalaya.com/ekoob
在MyMusic收聽:https://reurl.cc/Grb5XZ
在SoundCloud收聽~https://soundcloud.com/ekoob
桌遊【人際維基】~一玩就懂得別人的在乎:https://goo.gl/Ej4hjQ
到蝦皮購買【人際維基】:https://goo.gl/ASruqR
=========================
spotify problem 在 The Thirsty Sisters Youtube 的最讚貼文
This week, The Thirsty Sisters are back with their thoughts on the recent Population Census 2020 survey, where it was reported for women to be more educated than their male counterparts! Why are people on Facebook angry about this increase? Are women really smarter than men? ? We got Sylvia and Nina to react to all these—tune in to hear all about it!
Link to The Straits Times article: https://str.sg/34Sk
Link to the Facebook post: https://www.facebook.com/129011692114/posts/10157967528802115/?d=n
00:00 Intro
01:39 Topic of the day
03:18 Key statistics from the article
04:23 'Its a women problem'
06:27 Why we are having less children
11:00 How women balance work and family
13:30 Coping with your own and your child's issues
15:19 Are we ready to have children?
18:32 The new vs old mindset on single parenthood
21:34 Supporting women regardless of their decisions
22:50 Women are getting harder to get along with?!
26:42 Men have to pay on dates?
29:58 Not taking these comments at face value
32:46 Conclusion
Sylvia and Nina are not your typical influencers; they give it to you raw and real! Join them as they quench their never-ending thirst for wisdom, trends, success and men.
They explore hot and pressing issues you never thought you needed to know in this extremely in-depth podcast. Sisters, brothers and everyone in between or beyond; jump in and be thirsty!
*Disclaimers*
The legal age for sex in Singapore is 18. While being comfortable with your bodies is a must, please protect yourselves by using protection ?
https://singaporelegaladvice.com/law-articles/legal-age-for-sex-in-singapore/
Our views in this podcast include only our own experiences as heterosexual women in Singapore, we respect everyone’s views regardless of genders, gender identities and sexual orientations.
Follow The Thirsty Sisters on Apple Podcasts, Spotify and Instagram!
https://podcasts.apple.com/sg/podcast/the-thirsty-sisters/id1509379792
https://www.instagram.com/thethirstysisterstts
https://open.spotify.com/show/5yx8txjfb7dMkosumEv6lQ?si=5Ew1dv6wRlCayZ0TQfo-Ug
Featuring:
Sylvia - https://www.instagram.com/sylsylnoc
Nina - https://www.instagram.com/ninatsf
Brand collaborations/features:
sales@noc.com.sg
The Thirsty Sisters TEAM
Co-Founders: Sylvia Chan | Nina Tan
Executive Producer: Sylvia Chan
Crew/Editors: Jade Liew | Winston Tay
Motion Graphics Designers: Bryan Seah | Kher Chyn
Sound Engineers: Nah Yu En | Mabel Leong
Digital Strategist: Winston Tay
spotify problem 在 Hapa 英会話 Youtube 的最佳貼文
ネイティブの日常会話の中でよく使われる表現の一つであるfigure outは、日本語では「理解する」や「分かる」、「解決する」など様々な訳し方があるため、どう使うのが正しいのか分かりにくい少し厄介な表現です。今回は、そんなfigure outが持つ根本的な意味と使い方をご紹介しますので、これを覚えておけばバッチリ使いこなせるようになるでしょう。
📝今日のレッスンのまとめ📝
===================================
1. Figure out - 〜を考え出す 0:42
・I have to figure out a solution.(解決策を考えださないといけない)
・Let's figure out the answer.(答えを考え出しましょう)
・I'm trying to figure out what happened.(何が起こったのかを考えています)
2. Figured out - 〜が分かった 1:34
・I figured out the problem.(問題の原因が分かりました)
・I figured out the answer.(答えが分かりました)
・Did you figure out what happened?(何が起こったか分かりましたか?)
3. Figure out - 計算する 2:05
・Let's figure out out monthly budget.(月々の予算を計算しよう)
・We need to figure out how much it’s going cost.(いくらかかるか計算しないと)
4. Figure someone out - 人の考え方や態度、意図などを理解しようとする 2:25
・I can’t figure out men/women.(男性/女性は理解できない)
<例文> 2:56
・I have to figure out a way to practice speaking English.(英語を話す練習方法を考えないといけません)
・We have to figure out a plan before we get started.(始める前に計画を立てないといけません)
・I figured out why the computer wasn’t working. It was unplugged.(コンピューターがなぜ機能してなかったか分かりました。コンセントが抜けていたからです)
・Let’s figure out how much it’ll cost to take a trip to Hawaii.(ハワイ旅行がいくらかかるか計算しよう)
・My mom’s birthday is coming up and I’m trying to figure out what to get for her.(私の母の誕生日がもうすぐなので、何を買ってあげようか考えています)
・No one can figure her out.(誰も彼女のことを理解することができません)
⭐️「分かる」を表す自然な英語⭐️
会話の最中、相手の発言に対し「わかる~」と相槌を打つことはよくありますが、皆さん気づけば「I know」ばかり使ってませんか?もちろん、それでもいいのですが、英語には共感や同意を意味する相槌表現がたくさんあるので、よりネイティブのような会話に近づけるためにも「わかる~」のバリエーションを増やしませんか? ↓の動画に「I know」以外にネイティブが使う自然なフレーズをたくさん紹介しています.。https://youtu.be/sOeZmM_JTTs
===================================
☆インスタやツイッターでも日常会話で使える実践的なフレーズを毎日投稿しています!
・インスタ: https://www.instagram.com/hapaeikaiwa
・ツイッター:https://twitter.com/hapaeikaiwa
☆ Spotifyオリジナル番組「English Mindset」
英語力ゼロで海外に飛び出したアスリートやクリエーター、留学経験なしの経営者などをゲストに迎え、インタビューを通して英語習得のカギとなった彼らの思考ロジックに迫る番組。 http://spoti.fi/HapaENGLISHMINDSET
☆【Hapa Buddies】Hapa英会話オンラインコミュニティ
英語が好きな仲間と一緒に楽しく英語を学びませんか?
https://hapaeikaiwa.com/buddies/
☆【Hapa英会話Podcast】生の英語を楽しく学べる
毎週金曜日、台本を一切使わないアメリカ人のリアルな日常英会話を配信。
http://hapaeikaiwa.com/podcast/
☆【Hapa英会話メルマガ】1日1フレーズ!生英語
通勤中ちょとした合間を利用して無理なく英語が学べるメルマガ『1日1フレーズ!生英語』平日の毎朝6時に配信。http://hapaeikaiwa.com/mailmagazine/
#Hapa英会話
#日常英会話
#ロサンゼルス
spotify problem 在 Is Spotify down? How to check if the app is offline - The Sun 的推薦與評價
SPOTIFY users were experiencing issues with the streaming service's website and app on Wednesday, March 9, 2022.DownDetector is known as an online out. ... <看更多>
spotify problem 在 Spotify Hopes To Solve Its Joe Rogan Problem By Acting Like ... 的推薦與評價
Facebook has insisted that it won't police content on its site, and Spotify hopes to do the same. That strategy hasn't been competely ... ... <看更多>
spotify problem 在 Facebook and Spotify down: Thousands of users kicked out of ... 的推薦與評價
Spotify and Facebook users are reporting issues with the streaming service and app. Thousands of people have reported problems with the ... ... <看更多>