*** จับตาจีนในอัฟกานิสถาน ***
การล่มสลายของรัฐบาลอัฟกันที่โปรตะวันตก ณ กรุงคาบูลเมื่อกลางเดือน ส.ค. ที่ผ่านมา ถือเป็นโอกาสงามของจีนที่จะแผ่อิทธิพลไปในเอเชียกลาง แต่ขณะเดียวกันก็เสี่ยงต่อความไม่มั่นคง โดยเฉพาะในภูมิภาคซินเจียงและภัยคุกคามการก่อการร้ายแก่อัฟกานิสถานและปากีสถาน
อย่างไรก็ตาม การขึ้นสู่อำนาจของตาลีบันจะเป็นโอกาสทางเศรษฐกิจของจีน โดยเฉพาะการพัฒนาการขุดเจาะทรัพยากรแร่ธาตุในอัฟกานิสถาน ก่อนหน้านี้กลุ่มบริษัทเหมืองแร่ของจีนประมูลได้สัมปทานมูลค่า 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในแหล่งทองแดงใหญ่อันดับต้นๆ ของโลกที่เมสไอนัก (Mes Aynek)
จีนสัญญาจะสร้างโรงไฟฟ้า, ทางรถไฟและโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ทว่ายังเริ่มต้นไม่ได้ทันทีเพราะการสู้รบระหว่างรัฐบาลอัฟกันกับตาลีบัน ทั้งนี้จีนยังหมายตาแหล่งธาตุหายาก (rare earth) มูลค่า 1-2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐอีกด้วย ซึ่งนับเป็นวัตถุดิบยุทธศาสตร์ในสงครามชิงเจ้าเทคโนโลยีในอนาคต
อีกด้านหนึ่งจีนมีแผนเชื่อมโยงอัฟกานิสถานกับเส้นทางสายไหมใหม่ที่พัฒนาเส้นทางการค้าทางบกไปยังทิศตะวันตก ...แม้ปัจจุบันอัฟกานิสถานยังอยู่ไกลจากคำว่าพร้อม
นักวิเคราะห์มองว่าการแผ่อิทธิพลนี้จีนอาจเป็นเหมือนกับโซมาเลีย ซึ่งจีนเข้าไปลงทุนในพื้นที่ที่ยังมีความไม่สงบด้วยคติ “ความเสี่ยงสูง ผลตอบแทนสูง” จนปัจจุบันถือได้ว่าโซมาเลียเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสายไหมใหม่ทางทะเลในทวีปแอฟริกาไปเรียบร้อยแล้ว
ความสำเร็จของจีนจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่ออัฟกานิสถานมีความมั่นคงเสียก่อน นอกจากนี้จีนยังต้องคำนึงถึงภัยจากการก่อการร้ายที่อาจลุกลามเข้าสู่ปากีสถานและเอเชียกลางซึ่งเป็นพื้นที่ที่จีนเข้าไปลงทุนจำนวนมาก โดยเฉพาะในแถบระเบียงเศรษฐกิจจีน-ปากีสถานซึ่งก่อนหน้านี้ลงทุนไปแล้วมูลค่า 63,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ก่อนหน้านี้ นายหวังอี้ รมว. ต่างประเทศจีน ได้ต้อนรับนายอับดุล กานี บาราดาร์ ผู้นำการเมืองของตาลีบัน และได้แจ้งข้อเรียกร้องของจีนให้รักษาเสถียรภาพและยุติภัยคุกคามการก่อการร้าย โดยหวังว่าตาลีบันจะใช้ “นโยบายอิสลามสายกลาง” ด้านตาลีบันเองก็ตอบรับจีนด้วยความกระตือรือร้น
จีนไม่มีเจตนาที่จะส่งทหารเข้าไปในอัฟกานิสถาน อย่างไรก็ตามจีนก็ยังไม่เชื่อใจมากนักคำสัญญาของตาลีบันที่ว่าจะไม่ร่วมมือกับกลุ่มก่อการร้าย และยังมีการระวังสถานการณ์ในซินเจียงอยู่
แม้ว่าสื่อจีนจะรีบหยิบประเด็นที่สหรัฐถอนทหารออกไปอย่างทุลักทุเลมาตีข่าวความพ่ายแพ้ของสหรัฐ แต่ตัวจีนเองก็ไม่แน่ใจว่าจะคุมอัฟกานิสถานอยู่หรือไม่ สังเกตจากการที่นายหวังอี้ได้หารือกับนายแอนโทนี บลิงเคน รมว. ต่างประเทศสหรัฐ ว่าจีนเต็มใจร่วมมือกับสหรัฐในประเด็นอัฟกานิสถานต่อไป
อย่างไรก็ตาม นายหวังอี้เตือนว่า หากสหรัฐต้องการร่วมมือกับจีนจะต้อง “ไม่เหนี่ยวรั้งและสร้างความเสียหายต่อสิทธิและผลประโยชน์โดยชอบธรรมของจีน”
::: อ้างอิง :::
- apnews (ดอต) com/article/joe-biden-business-china-afghanistan-2079e85db59e3242ce6e869fe0a9d4e3
- scmp (ดอต) com/week-asia/opinion/article/3145651/understand-chinas-plans-afghanistan-take-look-somalia
- thediplomat (ดอต) com/2021/08/chinas-political-calculations-and-potential-options-in-afghanistan/
- timesofindia (ดอต) indiatimes (ดอต) com/world/south-asia/china-positioning-itself-as-international-partner-to-taliban-in-temptation-of-rare-earth-materials-in-afghanistan-nato-commander/articleshow/85535924.cms
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過19萬的網紅3Q陳柏惟,也在其Youtube影片中提到,台灣在外交處境上,是否會因為中國加大對香港的管制力道而受到影響 香港問題,在過去這段時間受到很高的關注。「港版國安法」若通過,香港的國際地位將會受到影響,在香港政治環境變動的情況下,各國提供的優待也可能取消。美國國務卿蓬佩奧(MikePompeo)曾暗示將取消香港的特殊經貿待遇,也就是香港將失去獨...
「thediplomat」的推薦目錄:
- 關於thediplomat 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 的最讚貼文
- 關於thediplomat 在 施志昌 Facebook 的最佳貼文
- 關於thediplomat 在 自由時報 Facebook 的精選貼文
- 關於thediplomat 在 3Q陳柏惟 Youtube 的精選貼文
- 關於thediplomat 在 The Diplomat - YouTube 的評價
- 關於thediplomat 在 The Diplomat Magazine - Home | Facebook 的評價
thediplomat 在 施志昌 Facebook 的最佳貼文
【2021年八月第一週 國內外大事報你知】
【一週大事關注焦點:美國務卿訪問印度會晤達賴喇嘛代表/台美日國會議員論壇對中國威脅表達擔憂/美通過國務院撥款法禁台灣納入中國地圖/台灣駐港辦事處最後官員返台/『The Diplomat』雜誌報導台灣再次擊退新冠肺炎】
國外:
#美國務卿訪問印度會晤達賴喇嘛代表
美國國務卿布林肯28日訪問印度,強化兩國安全夥伴關係,並在新德里會晤西藏達賴喇嘛代表。
#台美日國會議員論壇對中國威脅表達擔憂
首屆「台美日國會議員戰略論壇」29日視訊舉行,前日本首相安倍晉三致詞時表達對中國軍力擴張的憂慮,呼籲台灣跟美國應加入太平洋夥伴全面進展協議。
國內:
#美通過國務院撥款法禁台灣納入中國地圖
美國聯邦眾議院今天通過國務院撥款法案,納入提出的修正案,禁止美國行政部門製作、採購或展示台灣納入中國版圖的地圖。
#台灣駐港辦事處最後官員返台
台灣駐港人員因拒簽「一中承諾書」,未獲得香港政府續簽工作簽證,30日最後一名官員返台,台灣駐港辦事處事務將由香港僱員接手運作。
#TheDiplomat雜誌報導台灣再次擊退新冠肺炎
『The Diplomat』雜誌分析台灣如何在兩個月內,將每日百例的確診數降至平均少於20例。主要歸功於民眾配合戴口罩、勤洗手以及政府加強隔離、疫調,加上外國回贈疫苗,台灣已有28%民眾接種第一劑疫苗。全球公衛專家都應研究作為民主國家的台灣如何在未減損公民自由的情況下,成功抗疫。
-
美國務卿此行目的主要是尋求抗中合作,即使印度總理壓迫少數族群的人權問題,美國國務卿也輕描淡寫略過。去年中印關係交惡,美印關係升溫,視印度為圍堵中國的一環,同時尋求印度支持,穩定阿富汗局勢。
首次台日美國會議員戰略論壇,開啟新三方對話,台美日私下對話搬到檯面上來討論,在戰略上與美日印澳洲的四方安全對話同等重要,維繫印太地區的和平與穩定。未來台灣應持續強化台美日三方聯繫關係,積極尋求全方位合作。
美國議員表示台灣從來不是中國一部分,這是眾所皆知的事,礙於一中原則,台灣時常被納入中國版圖。美國務院通過撥款法案,行政作業上禁止出現台灣納入中國版圖的地圖,雖然美國依然遵循一中政策,但仍舊以國內法的方式保障台灣。
台灣與香港民間關係良好,但在官方檯面上,因不願簽署一中承諾書,台港之間官方管道斷絕,影響香港在兩岸商業和金融交流的角色,甚至香港企業是否是純香港企業?港資是否等於中資,在台灣法律定義上恐怕要重新評估。
台灣27日降至二級,除了雙北外全台迎來餐飲內用,不少夜市及風景區陸續開張,以兩個月的時間控制住疫情,歸功於民眾自律以及政府加強措施,還有守在第一線的醫護人員。台灣證明防疫上的成績,慷慨捐助口罩、物資,願意分享專業知識,也是向世界證明,台灣要加入WHA甚至WHO都有足夠專業資格的。
#AugustW1 #Eventsoftheweeks
thediplomat 在 自由時報 Facebook 的精選貼文
這個齁,這個外交家一定是綠營側翼!
#柯文哲 #TheDiplomat #台北市 #防疫
thediplomat 在 3Q陳柏惟 Youtube 的精選貼文
台灣在外交處境上,是否會因為中國加大對香港的管制力道而受到影響
香港問題,在過去這段時間受到很高的關注。「港版國安法」若通過,香港的國際地位將會受到影響,在香港政治環境變動的情況下,各國提供的優待也可能取消。美國國務卿蓬佩奧(MikePompeo)曾暗示將取消香港的特殊經貿待遇,也就是香港將失去獨立關稅區,這會使得香港匯率、股市受到嚴重衝擊。外國資金、人才也可能逃離香港,使香港金融信用度降低,間接影響到中國經濟,因為人⺠幣境外交易需經由香港,一旦失去香港資金窗口,中國金融將受打擊。
更重要的是,台灣和香港之間的關係也會因「港版國安法」產生改變。蔡總統已經提到「港澳關係條例」可能會停止適用,若香港適用到兩岸關係條例,到時港人居留、旅行管制、港資入台等都可能受到影響。
美中持續磨擦,中國是否透過侵奪台灣邦交國的行動作為回應
很顯然地,中國對香港的大動作,牽涉的不只是香港跟中國的關係,香港跟美國、香港跟台灣、香港跟世界的關係都會發生變化,包含香港的金融地位都會改變。接下來台灣在外交處境上,極有可能會因為中國加大對香港的管制力道而受到影響,台灣與香港的關係也需重新調整,我們必須盡早思考因應之道。
此外,中國面對疫情與國際壓力,內外交迫的狀況下,收縮對香港的箝制,只是第一步。中國長期以來慣常使用將內部壓力轉化為外部挑釁,「內壓外轉」的手段。包含最近不斷針對疫情、520總統就職與近期台美的軍事合作關係發表各種強硬言論,什麼以疫謀獨、干涉中國內政等等,很明顯想跟全世界表達中國森氣氣的態度。雖然多半是老調重彈,但其中有件事情需要特別注意,就是中國官媒、鷹派的「環球時報」透過社論嗆聲說台灣未來會「邦交國歸零」,表現出想挖台灣牆腳的意向。特別是教廷、海地,近期不論國際媒體或互動,都有一些令人擔憂的跡象,例如教廷有170年歷史的耶穌會刊物「公教文明」推出「簡體中文版」;或日前(5/11)美國期刊《外交家》(TheDiplomat)刊出美國阿克倫大學(University of Akron)歷史系講師Jared Ward的文章,特別點名海地可能轉向中國,而海地近期也向中國購買大量醫療防疫物資,而非向身為邦交國的我們採購。這些友邦的狀況,希望外交部都能更緊密的掌控與因應。
台灣傲人的資源
武漢肺炎疫情下,台灣的防疫經驗與防疫物資都獲得很好的國際口碑,口罩外交也是我們目前拓展國際外交關係的最佳武器之一。
日前台灣支援教廷的第二波防疫物資,包括20萬片醫療口罩、2組國產熱像體溫篩檢儀,已於4月30日抵達教廷,也同意教廷運用第二波援贈20萬片口罩中的10萬片,轉送至非洲對抗武漢肺炎疫情,雖然目前因疫情因素,運輸仍有一些障礙,但透過這樣的模式,將台灣的防疫物資轉送給有需要、但我們沒有邦交的國家,應有機會藉此拓展友好關係,也是未來可以研擬的方向。
這場防疫、外交的戰役,不只政府,民間各界也都付出非常多努力。今天上午,我與團隊和全美台灣同鄉會、AIT美國在台協會,一起舉辦了一場捐贈醫療物資的記者會。全美台灣同鄉會特別熱心發起募款捐贈醫療物資活動,希望能幫助這次武漢疫情重災區美國,共同度過疫情難關。我也協助牽線及號召響應,並在今天由美國在台協會代表,收下台灣製造、品質優良的1000件防護衣和1000件隔離衣,這也是一個Taiwan can help的優秀案例展現,更讓國際社會再次感受到台灣人的溫暖,與民主台灣的價值。
接下來如何利用口罩外交,開展台灣國際空間,我們大家一起努力。
#3Q陳柏惟 #中二立委 #台灣基進
===============================
◆ 訂閱3Q的Youtube → https://www.youtube.com/c/3QChen
◆ 追蹤3Q的FB → https://www.facebook.com/3Q.PehUi/
◆ 追蹤3Q的IG → wondachen
◆ 追蹤3Q的噗浪 → wondachen
◆ 追蹤3Q的推特 → https://twitter.com/wondafrog
===============================
◆ 台灣基進官網 → https://statebuilding.tw/
◆ 訂閱台灣基進官方Youtube → https://pros.is/L8GNN
◆ 追蹤台灣基進官方臉書 → https://www.facebook.com/Statebuilding.tw/
◆ 捐款支持台灣基進 → https://statebuilding.tw/#support
thediplomat 在 The Diplomat Magazine - Home | Facebook 的推薦與評價
Pakistan's own economic crisis has sparked worried comparisons to the disaster unfolding in nearby Sri Lanka. THEDIPLOMAT.COM. Is Pakistan the Next Sri Lanka? ... <看更多>
thediplomat 在 The Diplomat - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>