ความเสมอภาค เท่าเทียม ไม่มีจริงในที่ทำงาน! เมื่อสภาพแวดล้อมไม่เป็นมิตร ย่อมส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง โดยเฉพาะหากคุณเจอเพื่อนร่วมงานที่ชอบ “เหยียดอายุ” เลือกปฏิบัติกับคนโดยดูจากอายุเป็นหลัก และตัดสินไปแล้วว่า คนที่อายุน้อยกว่า ด้อยกว่า ประสบการณ์น้อยกว่า! ซึ่งแน่นอนว่าเราไม่สามารถหลีกเลี่ยงคนเหล่านี้ในที่ทำงานได้
.
ดังนั้น คุณต้องมีวิธีรับมือให้ดี เพื่อไม่ให้คำพูดหรือการถูกเลือกปฏิบัติมาบั่นทอนและเป็นอุปสรรคในการทำงาน วันนี้เราจึงนำเอา 5 วิธีที่จะช่วยคุณเอาชนะอคติของคนเหล่านั้น จากประสบการณ์ของคนที่เคยโดนแบบนี้แต่ผ่านมันมาได้แล้ว
.
1. ปล่อยวาง อย่าถือสา หรือให้ความสำคัญกับคำพูด การกระทำที่ไร้ประโยชน์
“คนพูดไม่จำ แต่คนฟังไม่ลืม” อย่างที่บอกว่าเราไม่สามารถเลี่ยงคนแบบนี้ได้ หากคุณต้องการเป็นคนที่แข็งแกร่งขึ้น ต้องรู้จักปล่อยวาง อย่าเอาความรู้สึกส่วนตัวไปผูกไว้กับการกระทำ คำพูดของคนอื่นที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็น อายุ เพศ หรือแม้แต่สีผิว อาจทำให้คุณรู้สึกโกรธ หดหู่ และรู้สึกแย่ ซึ่งอารมณ์ความรู้สึกเหล่านั้นมันไม่เอื้อต่อการทำงานที่ดีได้ ความมุ่งมั่น และดื้อรั้นต่างหากที่จะทำให้คุณสามารถผ่านสถานการณ์เหล่านั้นไปได้โดยไม่บาดเจ็บทั้งร่างกายและจิตใจ
.
2. แสดงให้เขาเห็นว่าคุณคือ “เล็กพริกขี้หนู”
อายุน้อยกว่า ไม่ได้แปลว่าคุณด้อยกว่า ไม่มีใครสามารถโต้แย้งได้ด้วยประสบการณ์และความสำเร็จ ถ้าคุณเจอคนที่คอยดูถูก และเลือกปฏิบัติไม่ว่าจะด้วยเรื่องอะไรก็ตาม คุณต้องแสดงให้เขาเห็นถึงความเก่งกาจของคุณว่ามันไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร เผลอๆ อาจทำได้ดีกว่าเขาด้วยซ้ำ ตัวอย่างเช่น Mark Zuckerberg เจ้าของ “Facebook” เขาคือหนึ่งในนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จตั้งแต่อายุยังน้อย แต่สิ่งที่ทำให้คนส่วนใหญ่ชื่นชมและยอมรับในตัวเขา ไม่ใช่อายุ แต่คือความสามารถของเขา ดังนั้น ไม่ว่าคุณจะทำงานอะไร หรือในภาคส่วนใด เมื่อมีโอกาสอย่าลืมอวดความสามารถของตัวเองให้โลกรับรู้
.
3. มองหาที่ปรึกษาที่ดี คนที่คอยอยู่เคียงข้าง สอนงาน สอนชีวิต และให้กำลังใจ
บางครั้งการก้าวข้ามบางสถานการณ์ด้วยตัวคนเดียวอาจหนักหนาเกินไปสำหรับคนบางคน การมีที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงดีๆ ที่มีประสบการณ์และแข็งแกร่งต่อโลกมากกว่าคุณ มาคอยแนะนำ ปลอมประโลมจิตใจ ที่สำคัญคือ “เชื่อในตัวคุณ” ว่าคุณไม่ได้เด็กเกินไปที่จะทำงานนี้ได้ จะยิ่งทำให้คุณมีความมั่นใจ ไม่หวั่นไหวกับคำพูดของคนอื่นเกี่ยวกับอายุของคุณ
.
4. แยกเรื่องงานกับเรื่องส่วนตัวให้ออก พร้อมพิจารณาก่อนว่าเขาทำเพื่อให้งานดีขึ้น หรือแค่ไม่ชอบเป็นการส่วนตัว
เพราะการเลือกปฏิบัติมักอยู่กับเราเพียงชั่วคราว ดังนั้นเพื่อไม่ให้มันมามีอิทธิพลกับคุณมากเกินไป ต้องรู้จักแยกเรื่องงานกับเรื่องส่วนตัวให้ออก อย่าให้อารมณ์โกรธ ไม่พอใจ มามีอิทธิพลจนส่งผลเสียต่องาน ที่สำคัญคุณต้องพิจารณาให้ดีก่อนว่าที่เขาทำแบบนั้นเกิดขึ้นจากการทำงานของคุณแล้วอยากให้งานดีขึ้น หรือเป็นเพราะเขาไม่ชอบคุณเป็นการส่วนตัว แต่ไม่ว่าจะเพราะอะไร สิ่งที่คุณควรทำคือ อย่าปะทะคารม หรือไปต่อว่าเขากลับนอกจากจะไม่มีอะไรดีขึ้น อาจยิ่งทำให้คนอื่นๆ ในที่ทำงานเข้าใจคุณผิดกว่าเดิมก็ได้
.
5. ทุ่มเทและพยายาม เพื่อลบคำสบประมาทที่ว่า "เด็กเกินไป"
ถ้าคุณคิดว่าคุณยังมีประสบการณ์ไม่มากพอ ก็เพียงแค่ทำให้เขาเห็นว่า คุณทุ่มเทและพยายามเพื่อให้เก่งขึ้น ดีขึ้นและเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่นี้มากแค่ไหน เพราะอายุไม่ได้เป็นเครื่องบ่งบอกความเก่ง หรือความสำเร็จของคนๆ หนึ่ง แต่ความทุ่มเท และพยายามให้มากพอต่างหากที่จะบอกได้ว่า คุณเหมาะสมกับงานนี้หรือไม่ ดังนั้น เมื่อมีใครสักคนพูดไม่ดี ปฏิบัติไม่ดีกับคุณ อย่าไปสนใจ แต่จงนำสิ่งเหล่านั้น มาเป็นแรงผลักดันในการลบคำสบประมาทเหล่านั้นให้ได้
.
อย่างไรก็ตาม การเลือกปฏิบัติ มีอคติกับคนที่อายุต่างกัน เปรียบเสมือนเป็น “มรดก” ที่ถูกตกทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาอย่างยาวนาน ทั้งคนแก่กว่ามีอคติกับคนเด็กกว่า รวมถึงคนเด็กกว่าเองบางครั้งก็มีอคติกับคนแก่กว่าด้วย เช่น คิดว่าเขาหัวโบราณ ล้าสมัย และไม่เก่งเท่าเด็กรุ่นใหม่ไฟแรง ไม่รู้ว่าใครเป็นผู้กำหนดให้เกิดเรื่องแบบนี้ขึ้นในสังคม แต่ที่แน่ๆ ไม่ว่าจะอายุเท่าไร เพศอะไร นับถือศาสนาอะไร รูปร่างลักษณะแบบไหน ทุกคนควรได้รับสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค เท่าเทียมกัน
.
โดยเฉพาะในที่ทำงาน การเลือกปฏิบัติไม่ควรเกิดขึ้นจนกลายเป็น “เรื่องธรรมดา” เมื่อต้องทำงานร่วมกัน ไม่ว่าจะรุ่นเดียวกัน เด็กกว่า แก่กว่า ควรมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ความเกรงใจ และเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แน่คุณอาจเจอเพื่อนซี้ต่างวัยในที่ทำงานที่เข้าขากันสุดๆ ก็ได้
.
ที่มา : https://www.entrepreneur.com/article/371010
.
#อายุน้อยร้อยล้านNEWS
#อายุน้อยร้อยล้าน #ryounoi100lan
#เลือกปฏิบัติ #เหยียดอายุ #Ageism #เพื่อนร่วมงาน #Business #entrepreneur
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
ageism 在 Christopher Doyle 杜可風 Facebook 的精選貼文
[出走地平線:年齡歧視]
Flattening the Curve: Ageism
很多時,我在片場是最年老的一個。
但在電影《從不一漾》中,柄本明(Akira Emoto)才是年紀最大,他比我還大三歲。
他在片中有一幕戲,要從水底拯救遇溺的年輕女演員。
我們在一個奧運會標準泳池內拍攝這場戲。時夕冬天,池水又沒有加熱,看上去像沒人在意這位演員的死活。
當然,現場有潛水員待命,也有救生圏備用。即使我三歲已懂游水,也不其然很緊張。
我完全感受到柄本明的焦慮,他的心情都寫在面上。
他要游到三米以下,在女孩身邊游一圏,再把她帶上水面。完成整個過程將會是創舉。
但柄本明是專業演員。我相信在他漫長的演藝生涯,面對無數挑戰,都會抱持相同的堅忍態度:他熟讀劇本,把自己融於故事當中,在答應參演角色的那一刻,便願意接受角色帶來的任何挑戰。
他躍進水裏,我們開機拍攝。他又再跳一次,在水底逗留更長的時間,我們不斷地捕捉這一幕。但我實在很擔心,不斷拍攝那麼多次,柄本明的體力能否真的支持得住。
慶幸六次左右,我們順利拍完這一幕。當柄本明離開泳池,他立時衝往浴室淋熱水。我大聲鼓掌,又向他大叫「ganbatte (加油)﹗」,此時我才發現,只有我在拍掌:全場都沒有人稱讚Akira的勇敢表現。想起來,我的反應實在太不像日本人。整支攝製隊已忙碌地設下一幕景。
演員之路,從來都是孤獨的道路。
Usually I am the oldest person on set.
In this film “They Say Nothing Stays The Same”, Akira Emoto is. He is three years older than me.
He has an extend underwater sequence where he saves the young leading actress from drowning.
We set up the scene in an Olympic swimming pool. It was winter and the pool wasn’t heated and it seemed no one had checked with the actor if he could actually survive or not.
Of course there were safety divers and life-rings and such. Even though I have been swimming since I was three, I was nervous.
I could totally feel his anxiety. You could read it on his face.
He had to go down three meters and swim around the girl and then bring her up to the surface. It was no mean feat.
But Akira-san is a professional. I am sure in his long career, he has faced similar challenges with the same stoic attitude: he had read the script and his was in the script, so by agreeing to the role, he had also agreed to meet this challenge.
He jumped. We shot. He jumped again. He stayed under longer this time. We were getting the scene. Though I was worried if we took too many takes he would be too exhausted to go on.
Luckily after six takes or so we were done. He got out of the water and rushed off to a hot bath. I clapped and shouted a “Ganbatte” but then I realized I was the only one clapping: no one else was celebrating Akira-san’s brave effort. Very un-Japanese, I thought. The crew were all too busy setting up the next scene.
An actor’s journey is such a lonely road.
攝於拍攝《從不一漾》(2018)
Photo was taken in shooting “They Say Nothing Stays The Same” (2018)
#柄本明 #從不一漾 #小田切讓
#AkiraEmoto #TheySayNothingStaysTheSame #JoeOdagiri
#ある船頭の話
ageism 在 Lillian Wong 黃浩琳 Facebook 的最佳貼文
這學期有一科都幾衝擊我
But in a good way,
因為其實一直都有有關既想法
上星期學左一個新字,「ableism」
一路聽,一路以為是一種philosophic thinking
但原來其實是一種歧視
Just like racism, sexism, ageism...
一種有關能力既歧視
很多不同感受
當中最令我腦筋打交的是,
當我認為有人有能力歧視時,
我是否在假設那人其實有能力去包容更多?
我是否其實也在能力歧視他?
就像很多事,其實沒有絕對簡潔的答案
又,其實我們都各自有自己的答案
很感慨,讀了幾十年書,卻沒有一科提及這些
(或者我訓左。。。講笑😂)
如果這課是我們小學、中學的必修科
我們的世界又會變得怎樣呢?
不過又其實,這科一直存在在我們日常中
It’s just a matter of matter if we get it or not
🙏🏼
ageism 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
ageism 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
ageism 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
ageism 在 年齡歧視- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
年齡歧視(英文:Ageism),指一種認為老年人是生理或社會方面的弱者,並因此而歧視老年人的觀點,源自持有人對老年人的刻板印象。年齡歧視可以是偶然的,也可以是系統 ... ... <看更多>
ageism 在 Ageism is a global challenge: UN - WHO | World Health ... 的相關結果
Ageism arises when age is used to categorize and divide people in ways that lead to harm, disadvantage, and injustice. It can take many forms ... ... <看更多>
ageism 在 ageism中文(繁體)翻譯:劍橋詞典 的相關結果
The gerontological study of ageism has by no means ignored evidence of discrimination against younger persons. 來自Cambridge English Corpus. It ... ... <看更多>