、
很幸運這些年跟著教會去了六趟泰國短宣(短期宣教)。
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
不過每次我都想:我們做這些真的有意義嗎?存了幾萬塊飛到陌生國度,密集幾天生活在一起,分享信仰、唱詩歌、祝福禱告、擁抱、探訪村落、分送物資……都是好事,但CP值高嗎?會不會把這些錢捐到NGO更實在?我們走了以後他們怎麼辦?
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
短宣、服務隊都是短暫的,那為何而去?我們「去」不只為了體驗不一樣的生活,絕對不是沾醬油,而是學習把全人栽進去,並且為自己能有「長時間」的投入做準備。
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
我很喜歡一支奧加族的影片:有一群美國年輕人到食人族部落宣教被殺害,記者採訪他們的妻子時說:「他們會不會徒勞無功白白犧牲了性命?」,他們妻子回答:「我先生從小就是為這刻而準備的人,現在不過是成就他的夢想罷了。」
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
雖然目標跟宣較不太一樣,但讀《與其麻木前進不如勇敢迷失》在精神上也讓我有這種感覺。
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
「遠山呼喚」一個專注於長期教育的台灣團隊,創辦於2015年,當時尼泊爾發生規模7.8的大地震,創辦人林子鈞、蔡宛庭前往震央。地震後,當國際組織紛紛離開,當地卻出現了嚴重的輟學潮,於是他們決定留下來,陪孩童們找一條長遠的改變之路。
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
這些故事都不會只有站在榮耀石上的意氣風發,大多時候很辛苦,要面臨現實到不能再現實的挑戰。但如果這些故事一直以來感動了我們,那我們收集足夠改變的勇氣了嗎?
✑- - - - - -
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
有想法的人很多,但跨出一第一步的不多,跨出後堅持咬牙走下去的更少。每次看這些實夢者的書,都會問問自己:我可以再多一點嗎?那會是什麼?
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
遠山呼喚共同創辦人林子鈞說:「走出迷惘的路徑,不是原地思考的過程,而是起身實踐的歷程。」就因人生處處未知,我們才能發瘋似地,把青春賭給夢想。很寫實的一本書,如果你準備成長,相信它會再加你一份助力。
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
最後~~感謝悅知文化提供一本書抽獎!
❶追蹤樂筆
❷Tag一位你還在猶豫的朋友給他一些鼓勵
❸不強求但歡迎分享到限動
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
#手寫 #寫字 #樂筆合作 #悅知文化 #與其麻木前進不如勇敢迷失 #遠山呼喚 #尼泊爾 #信念 #改變 #handwrighting #labofsunlight #changmaker #callsoverridges #Nepal #faith
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
changmaker 在 Zcongklod Bangyikhan Facebook 的精選貼文
บันทึกวันที่ 1 LMI: Developing Green Entrepreneurs
1. โครงการนี้จัดโดย สำนักงานกิจการการศึกษาและวัฒนธรรม กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา เป็น International Visitor Leadership Program ที่ชวนตัวแทนจากเมียนมา ลาว และไทย รวม 5 คน เดินทางมาดูงานเรื่อง Green Entrepreneurs ในสหรัฐฯ ใช้เวลา 20 วัน ไป 5 เมือง เพื่อพบองค์กรต่างๆ ที่ทำงานด้านนี้ 40 กว่าองค์กร ทั้งองค์กรระหว่างประเทศ เช่น World Bank หน่วยงานราชการของสหรัฐ เช่น กระทรวงเกษตร องค์กรที่ทำงานด้านวิชาการ และผู้ประกอบการทั้งหลาย
2. วันนี้เป็นวันแรก เป็นเหมือนช่วงอบอุ่นร่างกาย โปรแกรมยังไม่โหดมาก สิ่งที่น่าสนใจก็คือ หลังจากกล่าวเปิดงานแล้ว มีการเชิญนักวิชาการรุ่นใหญ่มาบรรยายเรื่องประวัติศาสตร์เชิงการเมืองของสหรัฐตั้งแต่ยุคอาณานิคม ไล่มาจนถึงการประกาศเอกราช แล้วก็จบลงตรงเรื่องโครงการการปกครองแบบสหพันธรัฐ ซึ่งสนุกมาก เหมือนได้ทำความรู้จักสหรัฐแบบสั้นกระชับ เป็นช่วงที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาของการดูงานเท่าไหร่ แต่ใส่เข้ามาแล้วทำให้เรา 'รู้จัก' สหรัฐดีขึ้น อย่างที่ต้องบอกว่ามันคือ branded entertainment ก็ได้
3. มีการแจ้งว่า ตลอดทริปนี้หากจะนำรูปถ่ายหรือบทสัมภาษณ์แบบอ้างชื่อของคนที่เราคุยด้วยไปเผยแพร่ไม่ว่าจะช่องทางไหนๆ ก็ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าตัวก่อนเท่านั้น ขณะเดียวกัน พวกเราทุกคนก็ต้องเซ็นหนังสือยินยอม (ถ้ายินยอมจริงๆ) ว่าอนุญาตให้ผู้จัดงาน รวมถึงสื่อมวลชนที่นั่นเอารูปและบทสัมภาษณ์ไปใช้ได้
4. ความพิเศษอีกอย่างในวันนี้ระหว่างรอประชุมก็คือ การได้เดินดูอาคารเก่าอายุร้อยกว่าปีซึ่งเป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการ มีทั้งตึกที่ออกแบบสไตล์อังกฤษและฝรั่งเศส สิ่งที่พีคที่สุดก็คือ ชั้นสองของตึกแห่งหนึ่งมีสวนแบบสวนดาดฟ้าซึ่งใหญ่และสวยมาก ซึ่งสวนดาดฟ้าแห่งนี้มีมาเกือบร้อยปีแล้ว คนออกแบบช่างมีวิสัยทัศน์ก้าวไกลมาก
5. องค์กรแรกที่ไปเยี่ยมอย่างเป็นทางการก็คือ Ashoka (ซึ่งผมทำงานร่วมกับชาวอโชก้าไทยอยู่บ่อยๆ) ภารกิจของ Ashoka คือตามหาคนทำงานด้านสังคม ที่เป็นผู้สร้างการเปลี่ยนแปลง (Ashoka เป็นคนคิดคำว่า Social Entrepreneur และ Changmaker) เมื่อเจอคนที่ทุ่มเททำงานเพื่อสังคม แล้วงานของเขาก็แสดงให้เห็นถึงวิธีคิดในการแก้ปัญหาใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ อโชก้าจะเข้าไปให้การสนับสนุนด้วยการให้มอบเงินให้เป็นค่าใช้จ่ายที่ทำให้ดำรงชีพได้ จะได้ตั้งใจทุ่มเททำงานเต็มที่ อโชก้าดูแลคนทำงาน เพื่อให้คนทำงานดูแลโลกต่อ โดยจะมอบเงินให้ 3 ปี บุคคลเหล่านี้เรียกว่า Ashoka Fellow ตอนนี้มีทั้งหมด 3,500 คนใน 70 ประเทศ เป็นเครือข่ายของคนที่สร้างนวัตกรรมในการแก้ปัญหาสังคมที่น่าจะใหญ่ที่สุดในโลก
6. เจ้าของรางวัลโนเบลหลายคน เช่น มูฮัมหมัด ยูนูส เคยเป็น Ashoka Fellow มาตั้งแต่ 20 ปีก่อนจะได้รางวัล เช่นเดียวกับ จิมมี่ เวลส์ ผู้ก่อตั้ง Wikipedia พออโชก้ารู้ว่าเขาอยากทำวิกิพีเดียก็แต่งตั้งเป็น fellow แล้วมอบเงินให้ จะได้ตั้งใจทำวิกิพีเดียโดยไม่ต้องกังวลเรื่องรายได้ จนในที่สุดเขาก็ทำสำเร็จ
7. Ashoka ตั้งใจเลือก Fellow อย่างดี แล้วก็มอบเงินให้โดยไม่มีเงือนไข ซึ่งผลที่ได้ก็คือ Fellow 60% สร้างการเปลี่ยแปลงระดับนโยบายของประเทศได้ใน 3 ปี และ Fellow 90% ทำงานสำเร็จจนมีคนนำเอาไอเดียไปต่อยอด
8. แต่ Ashoka ก็เคยเลือกคนผิดบ้างเหมือนกัน แต่น้อยมาก ประเด็นหลักๆ ก็คือ บางคนผันตัวจากคนทำงานเพื่อสังคมไปเป็นนักการเมือง (ซึ่งไม่ผิด และบางคนก็สร้างการเปลี่ยนแปลงได้มากกว่าเดิม) เพื่อป้องกันไม่ให้ Fellow ต้องทะเลาะกันเมื่ออยู่กันคนละพรรคการเมือง ก็เลยมีกฎว่าใครไปเล่นการเมืองก็ต้องออกจากเน็ตเวิร์คไป
9. ได้ฟังตัวอย่างงานที่ Fellow หลายๆ คนทำแล้วชอบมาก เหมือนที่เคยฟังมาก่อนหน้านี้แล้วก็ได้พลังทุกครั้ง (Fellow ที่เด็กสุดอายุ 21 เอง) คนที่ทำอะไรดีๆ ด้วยความคิดคมๆ นี่ฟังกี่ทีก็มีพลัง
#IVLP - - > International Visitor Leadership Program
changmaker 在 青年社區參與行動2.0 Changemaker-109年行動團隊專刊 ... 的推薦與評價
青年社區參與行動2.0 Changemaker-109年行動團隊專刊問世疑~封面上的Changemaker是在做什麼❓ 田野調查?耆老訪談?還是,籌備藝術季❓ 讓我們用行動來尋找社區的需求❗ ... ... <看更多>