本集廣告與「 Lenovo 」合作播出
Lenovo 「 ThinkPad P15 第二代」上市啦!
它是一台創作者筆電 ✨
✓ 高效快速的多工處理能力,支援多款 NVIDIA®RTX™ 獨顯,包括高效 RTX A5000 連 16GB 內置 vRAM,幫助你快速存取圖像資料!
✓ 官網客製化方案,最高可搭載第 11 代 Intel®Core™ i9 或 Intel®Xeon®處理器(兩者均採用 vPro®技術),繁重工作瞬間變成「小菜一碟」 👌🏻
✓ 全套 ISV 認證,專業功能一次擁有!
👉🏻 現在到官網輸入志祺七七專屬優惠碼「 77P15G2 」,享獨家優惠價和額外 8% 折扣!
https://bit.ly/3iDw9gg
👉🏻 更多 P 系列
https://bit.ly/3ADOIaC
#ThinkPadP15第二代
#LenovoTW
本集節目內容由志祺七七頻道製作,不代表「 Lenovo 」立場。
--
你知道嗎?
人跟黑猩猩的DNA其實有 98% 都一樣喔!
而且人跟人之間,雖然長相差很多,
但是其實差異只有不到 1% 而已!
這些冷知識,到底是怎麼被發現的呢?
今天,我們就一起聊聊「人類基因組計畫」吧!
🎥 影片重點節錄 🎥
📍 1940 到 50 年代,科學家了解到原來 #DNA 就是生物體內的遺傳物質,而且是由 A、T、C、G 四種不同「 #核苷酸 」當作編碼,記載著整個生物體的設計藍圖,而 DNA 上面具有特定功能的區域,就被叫做「 #基因 」。
📍 後來,在生物科技持續的進步之下,在 60-80 年代,我們又陸續發現,原來細胞會根據這段基因的編碼,製造出各種功能的蛋白質,來維持細胞的生理機能。甚至還發現,原來有些癌症會發生,其實是因為你的基因密碼,天生就讓你比較有可能罹患癌症。
📍 不過,雖然概念上知道「基因」掌控著身體的運作,但我們卻不清楚整個運作的細節。例如癌症究竟會受到哪些基因的影響?而其他的慢性病,也跟基因有關嗎?
📍 科學家認為,如果我們可以了解人體所有基因,也就是整個「 #基因組 」的運作的話,那一定會對醫學健康有很大的貢獻。於是,在 1990 年,他們展開了這個計畫,想要嘗試解開人體的奧秘!
這項跟人體有關的計畫到底是在做什麼呢?中間峰迴路轉的過程,又發生什麼事呢?現在就趕快點開下方影片,讓我們一起來看看吧!
————————————————————————
✦ 如果你也覺得這些資訊 很 重 要!
✦ 用一秒鐘 #分享 這則貼文,讓更多人知道吧!
✦ 想加速觀賞影片嗎?請到 YouTube 觀看:
👉 https://youtu.be/Yph3dA4yJT8
————————————————————————
➜ 在 YouTube 上訂閱志祺七七頻道,
還可以加入會員贊助我們喔!
http://bit.ly/shasha77_member
➜ 如果不便加入會員,也可從這裡贊助我們:https://bit.ly/support-shasha77
(請記得在贊助頁面留下您的 email ,以便我們寄送發票。若遇到金流問題,麻煩請聯繫:service@simpleinfo.cc)
➜ 追蹤志七 の IG ,
看更多趣味新聞新知與志祺日常:
http://bit.ly/shasha77_instagram
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過21萬的網紅PanSci 泛科學,也在其Youtube影片中提到,#可能性調查署 D 槽不夠用?那就用 DNA 來裝資料吧! 如果要儲存現今地球上所有的資料,只需要總重一公斤的 DNA 就能辦到!而這一切,都要歸功於 #合成生物學 的技術。 到底要如何將資料轉變成 A、T、C、G?讓我們為你解開基因編寫的秘密。 #如果可以把資料通通存在細胞隨身碟 #...
「dna a t c g」的推薦目錄:
- 關於dna a t c g 在 Facebook 的精選貼文
- 關於dna a t c g 在 臨床筆記 Facebook 的最佳貼文
- 關於dna a t c g 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的精選貼文
- 關於dna a t c g 在 PanSci 泛科學 Youtube 的精選貼文
- 關於dna a t c g 在 Illy Ariffin Youtube 的最讚貼文
- 關於dna a t c g 在 映像授業 Try IT(トライイット) Youtube 的精選貼文
- 關於dna a t c g 在 所謂「基因定序」,是將DNA長鏈上所有ATCG的組成順序解構 ... 的評價
- 關於dna a t c g 在 Reading ATCG DNA sequences, and calculates the numbers ... 的評價
- 關於dna a t c g 在 Learn the Structures of DNA Bases (A,T,C,G) in Less Than 5 ... 的評價
dna a t c g 在 臨床筆記 Facebook 的最佳貼文
#teaching
生命之書(人類基因體,去氧核糖核酸 DNA)的內容
• 人類基因體草圖在 2000 年完成,它一共有 23 章(23 個染色體)。
• 每一章有 4 千 8 百萬到 2 億 5 千萬個字母(去氧核糖核酸:A, T, G, C),字母的中間沒有空格。
• 每一本書有 30 億個字母,其中只有 1.5% 會形成有意義的字(外顯子,20000 個基因或蛋白質),其他的 98.5% 是內含子。起初人們以為它們是「垃圾」,但是最近的 ENCODE 計畫卻發現這ㄧ些 DNA可能是有功能的(例如負責基因的調控)。
• 迄今我們仍未完全了解全部基因體的功能:知道莎士比亞作品中所有的英文字母與了解莎士比亞所有的作品是不同的。
• 大英百科全書有 28 億個字母、4千4 百萬個字,莎士比亞的作品只有 390 萬個字母、88 萬 4 千個字。
• 2 米長的 DNA 大部分都包裹在針尖大小(6 微米,10⁻⁶ m)的細胞核裏(少部分放在粒線體裡),與組蛋白緊密的纏繞形成核小體、染色質絲與染色體。人體有 30 兆(10¹²)個細胞,因此ㄧ個人所有細胞 DNA 的總長度有 6 x 10¹³ 米,足以從地球到太陽來回數百次(地球與太陽的距離是1.5 x 10¹¹ 米)。
• 作者是達爾文(其實是「演化」)。
• 所有的細胞裏面都有存放著這一本書(除了成熟的紅血球以外)。
這樣的一本書,陪伴著我們一生,雖然不懂,但是「讀你千遍也不厭倦」(蔡琴的歌「讀你」)。
dna a t c g 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的精選貼文
เราตรวจหาเชื้อโควิด-19 ได้อย่างไร?
“มึงว่ากูติดยังวะ?” น่าจะเป็นคำถามที่คนถามมากที่สุดกันในช่วงนี้ ซึ่งวิธีเดียวที่จะรู้ได้แน่ๆ ว่าติดหรือไม่ติด ก็คือการ “ไปตรวจ” ว่าแต่ว่าการตรวจนี่เขาทำกันอย่างไร? ทำไมมันถึงแพงและใช้เวลานาน? เราพอจะมีวิธีอื่นที่จะตรวจได้เร็วกว่านี้หรือไม่
*ทำไมตรวจหาไวรัสจึงไม่ได้ตรวจได้ง่ายๆ?*
ถ้าจะให้อธิบายง่ายๆ ไวรัสก็เป็นแค่สารพันธุกรรมที่ทำจาก RNA และหุ้มด้วยเปลือกนอกที่ทำจากโปรตีนและไขมัน ปัญหาที่ท้าทายอย่างหนึ่งของการตรวจหาเชื้อไวรัสก็คือ ไวรัสนั้นมีขนาดเล็กมากเกินกว่าที่จะส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาได้ และปัจจุบันนี้นั้นเราก็ยังไม่พบวิธีที่จะสามารถเพาะเชื้อไวรัสภายนอกร่างกายของมนุษย์ได้ เราจึงไม่สามารถตรวจไวรัสจากการเพาะเชื้อได้ นอกไปจากนี้ในช่วงแรกๆ ของการติดต่อนั้นจำนวนอนุภาคไวรัสอาจจะมีน้อยมากเสียจนไม่สามารถตรวจวัดได้ด้วยวิธีปรกติ
วิธีหนึ่งที่เราสามารถตรวจหาเชื้อไวรัสได้ ก็คือการตรวจหาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ผลิตออกมาเพื่อต่อสู้กับเชื้อไวรัส (วิธี IgG/IgM) ซึ่งวิธีนี้ค่อนข้างสะดวกและรวดเร็ว และเหมาะกับการช่วยสกรีนผู้ป่วยแต่เนิ่นๆ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวิธีนี้นั้นใช้ตรวจหาภูมิคุ้มกันที่สร้างขึ้นมา ในระยะแรกๆ ของการติดเชื้อร่างกายอาจจะยังไม่ได้สร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมา ผลที่เป็นลบโดยวิธีนี้จึงไม่สามารถยืนยันได้อย่างแน่นอนว่าไม่ได้มีเชื้อไวรัสอยู่ในร่างกาย และเป็นการตรวจว่า "เราเคยติดเชื้อโควิด-19 แล้วหรือยัง" เสียมากกว่า ซึ่งกว่าจะตรวจวิธีนี้พบก็อาจจะปาเข้าไปสองอาทิตย์[2][3] ซึ่งตอนนั้นก็เลยเวลาที่ควรจะต้องกักตัวไปแล้ว
ดังนั้นหากเราต้องการจะตรวจดูว่าเราติดเชื้อหรือยัง ตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อกักตัว วิธีเดียวที่จะทำได้ก็คือการตรวจหาลำดับของกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ที่เป็นสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 ที่ทำให้เกิดโรคโควิด-19
ความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เราเพิ่งจะรู้จักกับสารพันธุกรรมที่เรียกว่า DNA เมื่อไม่นานมานี้นี่เอง เราเพิ่งจะทราบว่า DNA มีโครงสร้างคล้ายบันไดเกลียวแค่เพียงประมาณ 50 ปีที่แล้ว และการใช้รหัสพันธุกรรมที่จำเพาะของ DNA ในการตรวจสอบทางนิติเวชก็เพิ่งจะเกิดขึ้นเมื่อปีค.ศ. 1986 นี่เอง แต่ด้วยความเข้าใจเรื่องชีวโมเลกุลที่เพิ่มมากขึ้นทำให้ทุกวันนี้เรามีเทคโนโลยีเพียงพอที่จะสามารถตรวจหารหัสพันธุกรรมของเชื้อไวรัสในผู้ป่วยแต่เนิ่นๆ ได้ในแบบที่เราไม่เคยทำได้มาก่อน
สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตนั้นถูกเขียนอยู่ในรูปของกรดนิวคลีอิก ซึ่งเปรียบได้กับตัวอักษรหนึ่งตัวในสมุดเล่มหนาๆ ที่เป็นรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดนั้นประกอบขึ้นจากตัวอักษรเพียงแค่สี่ตัว ได้แก่ C, G, A, T (หรือ U ในกรณีของ RNA) ซึ่งใน DNA นั้น เบสแต่ละตัวจะจับคู่กันกับคู่ของมัน โดย C จะคู่กับ G, A คู่กับ T เปรียบได้กับตัวต่อที่ลงล๊อคกันพอดี ใน DNA จึงประกอบขึ้นเป็นสายสองสายที่คู่กัน พันกันเป็นเกลียวคล้ายบันไดเวียน
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกใช้ “ตัวอักษร” และ “ภาษา” เดียวกันในการถอดรหัสสารพันธุกรรมไปเป็นโปรตีน สิ่งเดียวที่ทำให้เราแตกต่างจากไวรัสก็คือ “เนื้อหา” ซึ่งขึ้นอยู่กับ “ลำดับ” ของการเรียงตัวอักษรในพันธุกรรม แม้กระทั่งเซลล์ร่างกายของเราก็ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าสารพันธุกรรมเส้นใดเป็นของเรา และเส้นใดเป็นของไวรัส นี่คือเหตุผลว่าทำไมรหัสพันธุกรรมของไวรัสจึงสามารถใช้ทรัพยากรของเซลล์เราในการเพิ่มจำนวนได้ แต่ในขณะเดียวกันนั่นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถแยกได้ว่าสารพันธุกรรมใดมาจากร่างกายของเรา และสารพันธุกรรมใดมาจากเชื้อไวรัส แต่เนื่องจากรหัสพันธุกรรมที่ประกอบขึ้นเป็นมนุษย์อย่างเรานั้น แตกต่างจากรหัสที่ทำให้ไวรัสเป็นไวรัสที่ร้ายแรงและสร้างโรคติดต่อได้ หากเราสามารถหาวิธีที่จะ “อ่าน” และค้นหาลำดับการเรียงตัวของรหัสพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจงที่ไม่พบในสิ่งมีชีวิตอื่นใดอีกเลยนอกไปจากเชื้อที่ทำให้เกิดโรคโควิด-19 อยู่ภายในร่างกายของเรา เราก็จะยืนยันได้ว่าเรามีเชื้อไวรัสอยู่
แต่ปริมาณของสารพันธุกรรมที่เราเก็บได้จากผู้ป่วยนั้นมีเพียงน้อยนิด ในตัวอย่างหนึ่งเราอาจจะมีสารพันธุกรรมเพียงแค่ 100 เส้นต่อการเก็บตัวอย่างหนึ่งครั้ง ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อยและมีขนาดเล็กเกินกว่าจะสามารถสังเกตเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์ใดๆ ได้ และปัจจุบันเรายังไม่มีวิธีใดที่จะหยิบบันไดเกลียวขนาดเล็กนี้มาเปิดอ่านราวกับเป็นหน้าหนังสือได้โดยตรง
แต่เนื่องจากสารพันธุกรรมนั้นเป็นสิ่งที่สามารถจำลองและเพิ่มจำนวนตัวเองได้ตามธรรมชาติ เราจึงสามารถพึ่งคุณสมบัตินี้ในการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมของไวรัสให้มีมากพอที่เราจะสามารถตรวจสอบได้
*วิธีตรวจมาตรฐานแบบ RT-PCR*
วิธีมาตรฐานที่แม่นยำที่สุดที่ยอมรับกันทั่วโลกและถือเป็นมาตรฐาน (Gold Standard) ในปัจจุบันก็คือ วิธีการตรวจหารหัสพันธุกรรมของ SARS-CoV-2 ผ่านทางกระบวนการที่เรียกว่า RT-PCR (Real-Time PCR)
วิธีนี้เริ่มจากสกัดและถอดรหัส RNA ของไวรัสในตัวอย่างให้อยู่ในรูปของ DNA (เรียกว่าขั้นตอน Reverse Transcription) จากนั้นเราจึงใช้คุณสมบัติของ DNA ในการจำลองตัวเองในธรรมชาติ เพื่อเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมของไวรัสในหลอดทดลองให้มากพอที่จะสามารถตรวจวัดได้ ผ่านทางปฏิกิริยาการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมแบบลูกโซ่ที่เรียกว่า Polymerase Chain Reaction (PCR)
ในการจำลองสารพันธุกรรมนั้น ขั้นแรกเราจะต้องมีการคลายเกลียว DNA และแยกออกจากกันก่อน โดยในหลอดทดลองเราทำได้โดยการเพิ่มความร้อนไปที่ 95°C จากนั้นเมื่อคลายเกลียวออกจากกันแล้วเราจะลดอุณหภูมิลงมาที่ 58°C และสาย DNA สั้นๆ ตั้งต้นที่เรียกว่า primer จะจับเฉพาะกับ DNA ที่ตรงกับรหัสพันธุกรรมของไวรัส และกรดนิวคลีอิกในสารละลายจะค่อยๆ จับกับคู่ของตนบนสาย DNA ที่คลายเกลียวออกทีละคู่ จนสุดท้ายจาก DNA หนึ่งเกลียว เราจะได้ออกมาเป็นสองเกลียวที่มีรหัสพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ และหากเราทำซ้ำไปเรื่อยๆ สัก 45 ครั้ง เราก็จะสามารถเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมในตัวอย่างของเราขึ้นมาเป็น 2^45 หรือประมาณ 35 ล้านเท่า
ในระหว่างนี้ เราสามารถออกแบบโมเลกุลมาโมเลกุลหนึ่ง ที่มีรหัสส่วนหนึ่งของเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ไม่ได้ซ้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่นใด (สำหรับการตรวจหาโรคโควิด-19 เราใช้รหัส CAGGTGGAACCTCATCAGGAGATGC)[1] ติดกับโมเลกุล reporter ที่สามารถเรืองแสงได้เมื่อจับเข้ากับรหัสพันธุกรรมที่พอดีกันของไวรัส ซึ่งหากเครื่องมือ RT-PCR สามารถสังเกตเห็นแสงนี้ได้ ก็จะเท่ากับเป็นการยืนยันว่าในตัวอย่างนี้มีรหัสพันธุกรรมของไวรัสอยู่จริง โดยในวิธี Real-Time PCR นั้นการเพิ่มจำนวนจะทำไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีปริมาณสารพันธุกรรมของไวรัสมากพอที่สามารถตรวจพบได้ ซึ่งหากตัวอย่างนั้นมีอนุภาคไวรัสอยู่เยอะก็อาจจะพบหลังจาก cycle การเพิ่มจำนวนไปไม่มาก และใช้เวลาไม่นาน แต่หากตัวอย่างมีน้อยมากหรือไม่มี ก็จะต้องทำซ้ำไปถึง 40-50 cycle เพื่อให้แน่ใจว่าในตัวอย่างนั้นไม่มีสารพันธุกรรมของไวรัสจริงๆ
แม้ว่าวิธีการตรวจหารหัสสารพันธุกรรมในปัจจุบันจะได้รับการพัฒนาให้ถูกและเร็วกว่าเมื่อไม่ถึงสิบปีที่ผ่านมาเป็นอย่างมาก แต่ว่าวิธีดังกล่าวนั้นก็ยังมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง และใช้เวลาที่ค่อนข้างนานหลายชั่วโมง นอกไปจากนี้ยังต้องใช้เครื่องมือพิเศษที่ทั้งสามารถปรับ cycle อุณหภูมิที่พอเหมาะได้ และสามารถตรวจวัดแสงที่เรืองออกมาจากโมเลกุลของ reporter ที่ตรวจพบรหัสพันธุกรรมที่เรากำลังมองหา เนื่องจากเครื่องมือเหล่านี้นั้นมีจำกัด ขั้นตอนใหญ่ๆ ของการตรวจจึงเสียไปกับการส่งตัวอย่างที่เก็บได้ไปยังห้องทดลอง
จะเห็นได้ว่ากว่าจะได้คำตอบมาว่า “มึงว่ากูติดยังวะ” นั้นไม่ได้ง่ายๆ เลย และต้องผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนที่ทั้งยุ่งยากและเสียเวลาและทรัพยากรพอสมควร ซึ่งทั่วโลก แม้กระทั่งในไทยเอง ก็มีการศึกษาหาวิธีอื่นที่อาจจะลดขั้นตอนที่ยุ่งยากเหล่านี้ให้ถูก และเร็วกว่าได้อีก
*วิธีตรวจแบบใช้อุณหภูมิคงที่ loop-mediated isothermal amplification (LAMP)*
วิธีแรกที่เรียกสั้นๆ ว่า “LAMP” นั้น อาศัยการออกแบบชิ้นส่วนของ DNA ตั้งต้น ที่เราเรียกว่า primer ที่มีความสามารถในการเบียดแทนกัน และขดเป็นวงได้ คุณสมบัติพิเศษทั้งสองของ primer ที่ออกแบบนี้นั้น ทำให้เราสามารถทำการเพิ่มจำนวนของ DNA โดยที่ไม่ต้องผ่านขั้นตอนการคลายเกลียวออก ซึ่งนั่นหมายความว่าเราสามารถข้ามขั้นตอนการ cycle เปลี่ยนอุณหภูมิ และสามารถทำการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมทั้งหมดได้ที่อุณหภูมิคงที่เพียงอุณหภูมิเดียว (isotherm)
เนื่องจากด้วยวิธีนี้เราสามารถทำ PCR ได้ที่อุณหภูมิที่คงที่เพียงอุณหภูมิเดียว ทำให้เราสามารถใช้เครื่องมือที่มีต้นทุนที่ถูกกว่า และแพร่หลายกว่าในการทดสอบได้ โดยเราสามารถใช้เครื่องมือปรกติที่หลายๆ โรงพยาบาลทั่วประเทศมีอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องส่งตัวอย่างมาตรวจที่ห้องทดลองที่มีเครื่องมือเฉพาะ
และด้วยวิธี LAMP นี้ เราสามารถเติมสารลงไปที่จะเกิดการตกตะกอนและเกิดสีเมื่อมีรหัสพันธุกรรมตรงกับรหัสของเชื้อ SARS-CoV-2 ที่เรากำลังหา ซึ่งการเกิดตะกอนนี้สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า และสามารถกำจัดการใช้เครื่องมือเพื่อยืนยันการเปล่งแสงไปได้อีก
นอกไปจากนี้ การตัดขั้นตอนการเปลี่ยนอุณหภูมิยังทำให้ทั้งค่าใช้จ่ายและเวลาที่ใช้ในการตรวจลดลง ผลที่ได้ก็คือการตรวจที่ทั้งถูก และเร็วกว่าวิธี RT-PCR ปรกติ
ซึ่งสำหรับวิธีนี้นั้น ในประเทศไทยก็มีทีมนักวิจัยที่กำลังทำการศึกษาวิจัยวิธีนี้อยู่ โดยได้ทำการทดสอบวิธี LAMP กับกลุ่มตัวอย่างควบคู่ไปกับการตรวจเชื้อในโรงพยาบาลโดยวิธีมาตรฐานมาตลอด และปัจจุบันอยู่ระหว่างการทดสอบกับหน่วยงานกลางเพื่อรอการรับรองให้สามารถนำมาใช้จริงในวงกว้างเพื่อเสริมการทำงานของการทดสอบแบบ RT-PCR ซึ่งจะทำให้สามารถตรวจเชื้อได้กว้างขึ้น ด้วยเวลาที่สั้นลง และค่าใช้จ่ายที่ถูกลง
*วิธีตรวจโดยใช้เทคโนโลยี CRISPR-Cas13*
อีกวิธีหนึ่งที่กำลังมีการวิจัยอยู่ ก็คือวิธีการตรวจสอบผ่านทางโปรตีนที่เรียกว่า CRISPR-Cas13 โปรตีนกลุ่ม CRISPR (อ่านว่า คริส-เปอร์) นี้เป็นโปรตีนที่พบในแบคทีเรีย ในธรรมชาตินั้นแบคทีเรียใช้โปรตีนเหล่านี้เป็นกลไกในการการจดจำรหัสพันธุกรรมของไวรัส และสู้กับไวรัสในธรรมชาติ
ในโปรตีน CRISPR นั้น จะมีส่วนของ guide RNA ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ guide RNA นั้นจับคู่เข้ากับรหัสพันธุกรรมที่ตรงกับที่ระบุเอาไว้ใน guide RNA โปรตีน CRISPR ก็จะทำงาน และจะทำหน้าที่คล้ายๆ กับกรรไกรเริ่มตัดสาย RNA ของไวรัสทิ้งเสีย ซึ่งการที่ CRISPR สามารถเอาส่วนของ RNA ไวรัสใหม่มาเป็น guide RNA และสามารถทำลาย RNA ของไวรัสได้นั้น เป็นกลไกหลักๆ ที่ทำให้แบคทีเรียสามารถตอบสนองและต่อสู้กับไวรัสชนิดใหม่ๆ ที่พบได้ในธรรมชาติ
ปัจจุบันเรามีงานวิจัยที่พยายามใช้ประโยชน์จาก CRISPR เป็นจำนวนมาก โดยเราสามารถใช้ CRISPR ในการหารหัสพันธุกรรมที่ต้องการ ทำการตัดรหัสพันธุกรรมเหล่านั้นทิ้งเสีย และเราสามารถออกแบบให้มันทดแทนรหัสพันธุกรรมที่ตัดทิ้งไปด้วยรหัสพันธุกรรมใหม่ที่เราใส่เข้าไป เราจึงสามารถใช้ CRISPR ในการตัดต่อพันธุกรรมได้ไม่ต่างอะไรกับฟังก์ชั่น Find and Replace บนคอมพิวเตอร์ และวิธี CRISPR นี้ก็เป็นวิธีเดียวกับที่นักวิจัยจากจีนได้ทำการตัดต่อพันธุกรรมทารกคู่แฝดที่ตัดต่อพันธุกรรมคู่แรกของโลก เพื่อให้มียีนที่ทนทานต่อเชื้อ HIV
โปรตีน CRISPR-Cas13 นั้นเป็นโปรตีนตัวหนึ่งในกลุ่มของ CRISPR แต่มีความพิเศษกว่าตรงที่ เมื่อมันจับเข้ากับ guide RNA แล้วนั้น มันจะทำการตัด RNA ทุกอย่างรอบตัว ไม่ว่า RNA นั้นจะเกี่ยวข้องกับรหัสที่มันกำลังหาอยู่หรือไม่ก็ตาม ซึ่งถึงแม้ว่าความไม่จำเพาะเจาะจงของ CRISPR-Cas13 นั้นจะไม่มีประโยชน์ในการนำไปตัดต่อพันธุกรรม แต่เราพบว่าเราสามารถนำมันมาใช้ได้ในการตรวจหาโรค
เนื่องจาก CRISPR-Cas13 นั้นจะไม่ทำงานจนกว่ามันจะพบกับ RNA ที่เข้าคู่ได้กับ guide RNA มันจึงมีความเจาะจงเฉพาะกับรหัสพันธุกรรมของไวรัสที่เรากำลังหาเพียงเท่านั้น และเนื่องจากเมื่อมันถูก activate แล้วนั้นการตัดของมันสามารถตัดสาย RNA อื่นได้ด้วย เราจึงสามารถออกแบบโมเลกุล reporter ที่ถูกเชื่อมเอาไว้โดย RNA สายสั้นๆ
เมื่อใดก็ตามที่ตัวอย่างของเรามีรหัสพันธุกรรมที่เข้าคู่กันได้กับ guide RNA ที่เราใส่ลงไปใน CRISPR-Cas13 โมเลกุล reporter ที่ปลายทั้งสองของ RNA สายสั้นๆ จะถูกแยกออก ซึ่งเราสามารถออกแบบแถบกระดาษที่ทำให้ reporter เหล่านี้ไปติดที่คนละตำแหน่งได้ ขึ้นอยู่กับว่ามันถูก CRISPR-Cas13 ตัดหรือยัง ซึ่งทำให้เราสามารถออกแบบเครื่องมือตรวจที่สามารถทำได้โดยการหยดสารพันธุกรรมลงไปบนแถบกระดาษ และขึ้นขีดขึ้นมาคนละตำแหน่งขึ้นอยู่กับว่ามีพันธุกรรมของไวรัสอยู่ในตัวอย่างแล้วหรือยัง
ซึ่งวิธีนี้นั้น นอกจากจะถูกกว่า และรวดเร็วกว่าวิธี RT-PCR มาตรฐานแล้ว ยังได้เปรียบตรงที่การอ่านผลนั้นทำได้โดยง่ายโดยการอ่านแถบสีบนกระดาษ ไม่ต่างอะไรกับที่ตรวจครรภ์ธรรมดา
ปัจจุบันสำหรับประเทศไทย ทีมนักวิจัยจาก VISTEC กำลังทำการวิจัยเครื่องมือตรวจหาโรคโควิด-19 ด้วยวิธี CRISPR-Cas13 นี้ โดยได้ทำการทดสอบกับตัวอย่างเชื้อจากผู้ติดเชื้อจริงแล้ว และกำลังอยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่รอการรับรองก่อนสามารถนำไปใช้จริง
*หมายเหตุ* สำหรับโพสต์นี้เป็นโพสต์ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างผม ทีมนักวิจัยจาก VISTEC ที่กำลังทำเครื่องมือทดสอบโดย CRISPR-Cas13 และอีกทีมนักวิจัยที่กำลังพัฒนาเครื่องมือทดสอบแบบ LAMP โดยไม่แสวงหากำไรและไม่ประสงค์จะออกนาม และขอขอบคุณภาพวาด โดยคุณตุลย์ กับ คุณจินดา จาก www.picturestalk.net ที่อาสาจะวาดภาพให้โดยไม่แสวงหาค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6988269/
[2] https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.02.20030189v1?fbclid=IwAR2dckugSvn277FBWU_-RH8MvYvqOm0l9aji9qzx9FpxQMnd1mOIAG5hsmI
[3] https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.02.20030189v1?fbclid=IwAR2dckugSvn277FBWU_-RH8MvYvqOm0l9aji9qzx9FpxQMnd1mOIAG5hsmI
dna a t c g 在 PanSci 泛科學 Youtube 的精選貼文
#可能性調查署
D 槽不夠用?那就用 DNA 來裝資料吧!
如果要儲存現今地球上所有的資料,只需要總重一公斤的 DNA 就能辦到!而這一切,都要歸功於 #合成生物學 的技術。
到底要如何將資料轉變成 A、T、C、G?讓我們為你解開基因編寫的秘密。
#如果可以把資料通通存在細胞隨身碟
#要編寫八卦呢還是心事呢還是老闆的壞話呢
延伸閱讀:
電影片源哪裡找?科學家利用 CRISPR 把影像儲存在大腸桿菌的DNA!
https://pansci.asia/archives/flash/122981
合成生物學:基因「混搭」掀起的新革命! ──《人類大未來》
https://pansci.asia/archives/149977
細菌可以用人工鹼基合成蛋白質了!當合成生物學遇上中心法則
https://pansci.asia/archives/131057
#DNA #基因 #合成
dna a t c g 在 Illy Ariffin Youtube 的最讚貼文
I have no idea how many times I told and experience this! Let's put more thoughts into action ?♀ #bloomingwithilly
.
.
.
.
.
.
If you like to win a set of goodies, worth around rm1k (inclusive of rm600 complimentary body treatment + rm300 DNA profiling vouchers) + foamy n botanical face cleanser + 1 set of organic homegrown soaps + 4 full size make up products + organic face wipes, then go to my timeline n look for a 'botak pic' to join ?
.
.
.
.
.
.
Cant wait to share with you about Blooming 2.0 ?♀
.
.
.
Full version on yt, blogpost will be ready sooner than you think ?♀
.
.
.
.
.
.
?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀
Huge THANK YOU (in random order) :
.
.
.
@GuardianMalaysia
@upperhousebangsarkl
@lakmemalaysia
@treslala
@swisspersmalaysia
@thelaureatewellness .
?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀?♀
.
.
.
.
.
.
Music by KINGDM - Edge - https://thmatc.co/?l=EB099728
.
.
.
. #bloomingwithilly
.
.If you like us to review your esteemed organization, restaurant, food or even product, do email me at [email protected] and we could discuss further.
B L O G : www.illyariffin.com
I N S T A G R A M : http://instagram.com/illyariffin
T W I T T E R : https://twitter.com/illyariffin
F A C E B O O K : https://www.facebook.com/illy.ariffin
F A C E B O O K P A G E : https://www.facebook.com/illyariffinblog
♡ A B O U T U S ♡
You can call me illy. I am a mom, a wife who works full-time in e-com while trying her best to create as many beautiful memories in life. Nothing makes me happier than enjoying a good meal by the beach with my 2 daughters (Sofea & Zandria) and my husband, right after a spa session LOL
My husband (Johan) and I work very hard to fund our love of traveling and experiencing new taste at places we have never been to. We like to share our experience with like-minded people on the internet. Like you.
Our blog revolved around our life. Yes, I decided to call this blog ours, because my family is an important part of my blog.
You may bump into parenting topics, the beauty product that I tried, new recipe by my husband (he have a passion for food and car!) hotel we stayed at, kitchen appliances up to where we got our curtains hahaha…
Hope you enjoy some light reading and a sneak peek into our humble life.
For collaboration/review/invite : [email protected]
Follow my social media site below and do leave your footstep by commenting. I will be dropping by at your accounts too!
B L O G : www.illyariffin.com
I N S T A G R A M : http://instagram.com/illyariffin
T W I T T E R : https://twitter.com/illyariffin
F A C E B O O K : https://www.facebook.com/illyariffinblog
dna a t c g 在 映像授業 Try IT(トライイット) Youtube 的精選貼文
■■■■■■■■■■■■■■■
【Try IT 視聴者必見】
★参加者満足度98.6%!無料の「中学生・高校生対象オンラインセミナー」受付中!
「いま取り組むべき受験勉強法」や「効率的に点数を上げるテスト勉強の仕方」、「モチベーションの上げ方」まで、超・実践的な学習法をあなたに徹底解説します!
今月・来月のセミナー内容や日程は、トライさん公式LINEからご確認いただけます。
↓↓友だち登録はこちらから↓↓
https://liny.link/r/1655096723-1GOJPwzq?lp=gcZxVv
■■■■■■■■■■■■■■■
この映像授業では「【高校生物】 遺伝1 DNAの構造」が約12分で学べます。この授業のポイントは「AとTは2か所、GとCは3か所の水素結合によって相補的に結合して二重らせん構造を構成している」です。映像授業は、【スタート】⇒【今回のポイント】⇒【練習】⇒【まとめ】の順に見てください。
この授業以外でもわからない単元があれば、下記のURLをクリックしてください。
各単元の映像授業をまとまって視聴することができます。
■「高校生物」でわからないことがある人はこちら!
・高校生物 細胞の構造
https://goo.gl/koUyp8
・高校生物 細胞膜の働き
https://goo.gl/f6ycQN
・高校生物 タンパク質の合成と働き
https://goo.gl/Wm4auZ
・高校生物 光合成のしくみ
https://goo.gl/y0UQDQ
・高校生物 窒素同化と呼吸、発酵
https://goo.gl/XIVVo6
・高校生物 遺伝子発現調節
https://goo.gl/o1tEZe
・高校生物 バイオテクノロジー
https://goo.gl/PpXlIG
・高校生物 生殖
https://goo.gl/X9Se2j
・高校生物 個体群
https://goo.gl/wbs4Tf
・高校生物 生態
https://goo.gl/xC3RK3
・高校生物 進化
https://goo.gl/uDgJ8G
・高校生物 分類
https://goo.gl/LjXgki
dna a t c g 在 Learn the Structures of DNA Bases (A,T,C,G) in Less Than 5 ... 的推薦與評價
How to learn the structures of adenine, thymine, cytosine and guanine in a simple and quick way! ... <看更多>
dna a t c g 在 所謂「基因定序」,是將DNA長鏈上所有ATCG的組成順序解構 ... 的推薦與評價
所謂「基因定序」,是將DNA長鏈上所有ATCG的組成順序解構出來。人類所有的DNA共有30億個鹼基對,會轉譯表達蛋白質的區域大約只佔全基因體長度的1.5% ... ... <看更多>