#魷魚遊戲 #完食短評 抄襲?神作?過譽?
~~Netflix 《魷魚遊戲》短評 ~~
a.k.a 評論集預告
▶「首先,如果你希望見到鬥智鬥力的通關快感,或者腦洞大開的戲戲設計:此劇並不算能夠滿足到你( 而宣傳未有控制好觀眾期望亦為可惜)。
但『魷魚遊戲』整季以來前半都有高水平表現:尤其是反襯現實社會殘酷的扣連、人性在危機下的陰暗與光明面、刺激度與殘酷度等等,雖然有一般韓劇節奏緩慢的問題,但基本都能捉緊觀眾情緒。
惟後半當秘密揭盅與最後對決的“魷魚遊戲”本身都頗讓人失望,看似未能傳達出自編自導的黃東赫(《溶爐》導演)背後想法,反落得俗套。
而如果將此劇分類為 大逃殺+遊戲(賭博)類, 由2000年版的大逃殺開始、 到飢餓遊戲、賭博默示錄、Liar Game 、 要聽神明的話、今際之國的闖關者等,在劇情上與“遊戲”上都找到相似的例子,但到底是”抄襲”或是”類同”則待觀眾自己判斷 。
總觀而言,在韓式的人性刻劃與故事上『 魷魚遊戲』 絕對值得您花八個小時去觀看與深思。」
⬛⚫▶下文劇透◀⚫⬛
⚫遊戲
『 魷魚遊戲』是傳統韓國兒童遊戲,遊戲本身是一種接近毫無限制地使用暴力的兒童遊戲, 在華文地區都找不到類似的例子 !(網上解說https://www.esquirehk.com/lifestyle/how-to-play-squid-game) 而在劇集之中除了開首與尾段的 解說外,都未有詳細解釋遊戲。
但其實 遊戲性質的無節制暴力、相對公平與及你死我活的戰鬥 正正是劇集背後的中心精神,劇集試圖以遊戲結連現實生活中(猶其是韓國本身)的殘酷現實環境,頭四個遊戲加午夜特別遊戲(一二三木頭人、碰糖、拔河、彈珠 加上 午夜大逃殺)與及讓玩家無條件放棄退出又禁不住誘惑回到遊戲等都完美地表達出導演黃東赫想表達的人性種種(由醫生帶出的作弊更是諷刺)。
可惜,玻璃橋與最終的『 魷魚遊戲』決戰
都使人失望,玻璃橋的純粹運氣與劇情功能性、魷魚遊戲的純粹武力與主角光環都可稱為失敗的選擇!
至於抄襲與否又或是能否青出於藍?!因為有太多例子可以比對就留待下周網台節目討論吧!
⬛下半部
除了玻璃橋與最終的『 魷魚遊戲』的失望安排,故事也未如理想,刑警線和VIPs線先不談其合理性,其本身與主線故事與中心思想都格格不入頗有畫蛇添足之感。而警察哥哥到底是剛失蹤還是失蹤已久都未有交待好(可能是我理解能力不足,還請大家指教)。
“老板”的秘密與主角最後的決定,前者帶出的漏洞尤其嚴重!
而主角最後的“決定”就流於理所當然,未有足夠畫面去交待心理轉變!這亦引伸出另一個坊間討論最多的地方(除抄襲 與 舔碰餅外😝):就是男主角的性格轉變,由早期懦弱廢柴到~英勇,如何由來?
如果加上一點腦補,可以理解為當 涉及生死或 身邊人的時候,他處事方法就會自然不同,由懦弱的個性到面對強權而不懼,當然,故事未有詳細交待,但觀乎對老人(聯想到的自己父親身份)對尚佑(同鄉之情而忍讓)對阿里與及姜曉的同情都可見一斑。
▶第二季?
在故事安排上,第二季的伏線明顯。但作為頗喜歡此劇的九叔到希望就此打住,或衍生劇補完刑警或其他地區的『魷魚遊戲』比較好吧...!
「liar game netflix」的推薦目錄:
liar game netflix 在 JUST ดู IT. Facebook 的最佳貼文
#รีบรีวิว Squid Game
บททดสอบประชาธิปไตยจอมปลอม
เกมเอาตัวรอดแสนเจ็บปวด
เกมนี้ เล่นแล้วรวยจนลืมตาย!
ขอต้อนรับสู่เกมสดใส ในวัยเด็กที่วันนี้มันจะมอบโอกาสครั้งสำคัญ พลิกชีวิตอาภัพ ให้รวย จนลืมตาย! Squid Game เกมลุ้นตาย ซีรีส์เอาตัวรอดจากเกาหลี พาไปลุ้นระทึกกับหนุ่มดวงซวย กีฮุน ที่ได้รับการเชื้อเชิญให้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในผู้เล่นเกมมรณะจากผู้เล่นทั้งหมด 456 คน เพื่อชิงเงินรางวัล 45,600,000,000 วอน!
ถึงจะเป็นแค่เกมเด็กเล่น ในวันวาน ที่ชนะจะรวยจนลืมตาย แต่ถ้าแพ้...ทุกอย่างจะสูญสิ้น!
นาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก Squid Game ซีรีส์เอาตัวรอดเรื่องใหม่จาก Netflix ที่เปลี่ยนภาพจำของการละเล่นในวันวานให้กลายเป็นเกมลุ้นระทึก บีบคั้นหัวใจ คละคลุ้งด้วยกลิ่นคาวเลือด แม้เนื้อหาโดยรวมจะไม่ต่างกับซีรีส์เอาตัวรอดเรื่องอื่น ๆ แต่ Squid Game ก็มีดราม่าที่หนักแน่นและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซ่อนอยู่พลิกโฉมความโหดเลือดสาดด้วยสีสันสดใส และเกมการแข่งขันที่หยิบเอาการละเล่นสมัยเด็ก ๆ ที่ไม่ซับซ้อนจนเกินไป ทำให้กติกาการเล่นเข้าใจได้ไม่ยาก
ในขณะเดียวกัน Squid Game ก็เหมือนภาพสะท้อนของการกุมอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ หยิบยื่น "ประชาธิปไตย" จอมปลอมให้กับผู้คน หลอกล่อด้วยการค่อย ๆ ปลูกฝังความคิด จนทำให้เกิดความแตกแยกระหว่างผู้เล่น
สังเกตได้จากเหตุการณ์ที่ผู้เข้าแข่งขันในรอบแรกเฉียดตายจากเกม a e i o u จนอยากจะถอนตัวจากเกมมรณะ ผู้คุมหยิบยื่นโอกาสที่จะหยุดเล่นให้กับผู้ร่วมเล่นเกมภายใต้เงื่อนไข "ยุติการเล่นหากผู้เข้าร่วมส่วนมากยินยอม" จนกลายมาเป็นการโหวต และอ้างว่า "ที่นี่ยึดหลักประชาธิปไตย"
โดยผู้ร่วมแข่งขันหารู้ไม่ว่า ปัญหาด้านการเงินที่พวกเขาประสบ เงินรางวัลที่ยั่วยวนใจ และปัญหาชีวิตที่เกินเยียวยา คือเงื่อนไขชั้นดีที่ผู้คุมเกมต่างรู้ว่า การแข่งขันครั้งนี้ จะไม่มีวันยุติ พวกเขาจะกระหายเงินตรา จนหวนสู่สังเวียนเกมลุ้นตายอีกครั้ง เพื่อแย่งชิงเงินรางวัลกว่า 45,600,000,000 วอน
ในขณะเดียวกันมันด้วยกฎเกณฑ์ที่ผู้คุมสร้างขึ้น มันก็ค่อย ๆ ปลูกฝังความคิดแบบผิด ๆ ลงไปในหัวของผู้เข้าแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นเงินรางวัลที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนคนตาย หรือการปล่อยให้ผู้เข้าแข่งขันผิดใจกันจนเกิดจลาจล จนทำให้ผู้เล่นเริ่มหันเหความสนใจจากการเอาชนะ ไปสู่การกำจัดผู้ร่วมแข่งขัน สร้างความฝันสวยหรูว่าเมื่อไหร่ที่เป็นผู้เหลือรอดจากการแข่งขันนี้ได้ จะได้ใช้เงินรางวัลอย่างสุขสบายอย่างที่ชีวิตนี้ไม่เคยมีโอกาส...แต่นั่นเป็นเพียงแค่ฝันล้มแล้ง ๆ ที่ยากจะเกิดขึ้นจริง เมื่อในบรรดา 456 คนที่เข้าแข่งขันจะมีเพียงแค่ 1 คนเท่านั้น ที่จะได้ครองเงินจำนวนมหาศาล
สิ่งที่ทำให้ Squid Game โดดเด่นจากซีรีส์เอาตัวรอดเรื่องอื่น ๆ คือดราม่าที่บีบคั้นหัวใจ เล่นกับความรู้สึกของคนดู ด้วยความสัมพันธ์และปมของผู้เล่นแต่ละคน รวมไปถึงพาไปเห็นเรื่องราวหลังจบการแข่งขัน ว่าท้ายที่สุด เกิดอะไรขึ้นบ้างกับผู้เหลือรอด
แต่น่าเสียดายที่เกมต่าง ๆ ไม่ต่างอะไรจาก Battle Royale ที่มีการคัดคนออกไปเรื่อย ๆ เพื่อให้เงินรางวัลเพิ่มขึ้นตามจำนวนผู้เล่นที่ตกรอบ ทำให้คาดเดาเนื้อเรื่องได้ไม่ยาก ในขณะที่ซีรีส์ในลักษณะเดียวกันอย่าง Alice in Borderland หรือ Liar Game มีปริศนาและกลไกที่จะทำให้ผู้เล่นทั้งหมดสามารถเอาชนะแต่ละเกมไปได้
ทำให้หลาย ๆ การแข่งขันของ Squid Game เน้นการเล่นเพื่อเอาชนะมากกว่าใช้ทักษะและคิดแผนต่าง ๆ เพื่อผ่านแต่ละการแข่งขัน
น่าเสียดายที่ท้ายที่สุดซีรีส์ก็เลือกที่จะหันไปสนใจพาร์ทดราม่าซะมากกว่าทำให้การแข่งขันรอบสุดท้ายที่ควรจะลุ้นระทึกและกระแทกอารมณ์คนดู จบลงอย่างรวดเร็ว และไม่สมศักดิ์ศรีกับการเป็นรอบสุดท้ายของการแข่งขัน
เส้นเรื่องของด้านตำรวจที่ออกตามหาพี่ชายที่หายตัวไป ก็ถูกความลุ้นระทึกของการแข่งขันในเส้นเรื่องหลักกลบซะมิดจนกลายเป็นปมที่ถูกใส่มาแบบขาด ๆ เกิน ๆ และแทบจะไม่มีผลอะไรกับเส้นเรื่องหลักแม้แต่น้อย
Squid Game แม้จะเป็นซีรีส์เอาตัวรอดที่โดดเด่นด้านดราม่า จนทำเอาคนดูหดหู่ไปตาม ๆ กัน และมู้ดโทนที่สดใสแหวกแนวแต่ในแง่เกมการแข่งขันและความลุ้นระทึกกลับทำออกมาได้ไม่ดีเท่าซีรีส์เอาตัวรอดเรื่องอื่น ๆ
Squid Game เกมลุ้นตาย
ดูได้แล้ววันนี้ ที่ #Netflix เท่านั้น พร้อม #พากย์ไทย
รู้ไว้ก่อนดู: https://youtu.be/7iTz34ECXoo
#จดอ #JUSTดูIT #SquidGame #NetflixTH