🌻
美國聯準會(Fed)在美東時間22日下午2時(台灣23日凌晨2時)宣布利率維持在趨近零的水準,但暗示升息可能會比預期來得快一些,同時也大幅下修今年的經濟展望。
https://udn.com/news/story/6811/5764746
🌻Adobe(ADBE)電話會議內容讀後感
ADBE前兩天發表財報了.
這次ADBE在財報後下跌, 主要是兩個原因(如下). 不過個人覺得是瑕不掩瑜:
1. 因為之前已經漲了不少(投資人期望太高)
2. 因為Digital Marketing這部分的業務受到季節性的影響, 所以表現不是很突出(沒有比預期高出很多)
a. net new Digital Media ARR (3% beat vs guide, vs 15% beat in 2Q21 vs 35% beat in 3Q20).
b. 有分析師在問(“Maybe just -- can we double-click on the seasonality commentary in the quarter? Because if we look at the beat versus guidance on net new digital media ARR, it looks, at the same time you had the weakest beat, but then the strongest guide in the last three years, which kind of speaks to and confirm some of those seasonality comments that you made.)
i. 高層對此的回答是, 主要是疫情後, 加上正值夏季, 大家的日子回復到正常&放假外出, 所以這部分的業務有受到影響(I think going into the quarter, we had expected that the consumer with a little bit more return to normalcy as what's happening in the environment.)
ii. 高層又說了一些話, 不過重點就是他不認為這是甚麼大事”So, net-net, I would say that the growth prospects for that particular business and the growth drivers remain intact. But again, very much in line. And this is what we feel good about the insights that we're getting on the business.”
iii. 也提到, Q4通常會是digital marketing業務的旺季(表現會不俗的意思)
另外, 覺得這次令我印象深刻的是, 當高層與分析師提到這些事情:
• 常在一些公司的電話會議中提到omnichannel這個字(疫情後, 更明顯了). 這次高層也有提到. ADBE可說是omnichannel概念股:
o “I mean, a big part of that is more and more companies are thirdly doing the multi-channel omnichannel, whatever they want to call it. And I think that's only going to continue to be a driver of our Digital Experience Solutions. Because today that stable stakes and so we just look at it and say whether you're shopping in-store over they are shopping online. You need a solution that treats you like a customer that we know of.”
• 網路上影片(video)的興起, 以及串流影音, 有提高了Adobe的營收天花板(用句分析師的術語, 就是TAM (total addressable market) expansion.
• 當使用者製作了越來越多的內容, 內容管理(content management)的能力就越顯重要, 內容上的流程管理(workflow)也越顯重要. Adobe的產品能夠幫內容製作者解決這樣的問題.
• 而Adobe各產品間的相容性, 標準化, 整合能力, 是它的競爭優勢之一:
o And one of the things we did really well is what we called our named user deployment and how, you know, when we have these enterprise licensing agreements, we offer enterprises the ability to download and distribute within the companies. And the more we do training and evangelism of the products, that leads to adoption. So, I would say there's an element of standardization, there's an element of more content.
而最近ADBE有個新聞, 引起了我的注意, 就是它即將在自己的平台上, 提供付款服務(payment service). 根據之前研究SHOP的經驗, 這有可能會對股價造成一定的漲幅:
On Sept. 15, Adobe announced that it will add payment services to its e-commerce platform this year to help merchants accept credit cards and other ways of paying. The move will deepen Adobe's rivalry with e-commerce firm Shopify (SHOP).
For the service, Adobe has partnered with PayPal (PYPL), which will process a variety of payment types, including credit and debit cards as well as PayPal's own payment and buy-now-pay-later offerings.
https://www.investors.com/news/technology/adbe-stock-adobe-beats-fiscal-q3-targets/
接下來該怎麼辦? 對於基本面良好的公司如ADBE, 我能說的就是buy the dip(逢低買進)了. 供參.
🌻The Facebook Files
一個星期前, WSJ上面有個關於FB的大篇幅調查報導. 有興趣的可以看看.
The Facebook Files
https://www.wsj.com/articles/the-facebook-files-11631713039
這篇文章挺長, 也沒有看到華爾街中文版本的完整翻譯, 不過可以看看這篇:
https://on.wsj.com/2ZmFimp
"《華爾街日報》的相關調查顯示,這家社交媒體巨頭心知肚明,其平台會傷害用戶,而且是以該公司常常完全了解的方式造成傷害。目前,全球近半數人口都是Facebook旗下平台的用戶。其中一些證據尤其令人不安:據《華爾街日報》報導,Facebook的內部研究顯示,在報告稱有過自殺念頭的青少年中當中,有13%的英國用戶和6%的美國用戶把這種念頭歸結於Instagram。"
另一篇相關新聞:
https://www.thenewslens.com/article/156683
"《華爾街日報》於13日揭露Facebook的XCheck系統,也就是內部系統中的VIP名單,數百萬名人、政治人物與記者等知名公眾人物都在特別的一份「白名單」之內。"
"這些「貴賓」在社群上發布的內容可以躲過一般的審查系統,即使發布明顯的不當內容,也不會立即被刪除。《衛報》報導,Facebook的獨立監督委員會表示,在閱讀該篇報導後,決定要審查XCheck系統,並要求Facebook對其進行報告與解釋。"
🌻我喜歡的Apple TV影集, "Ted Lasso", 是這次艾美獎的大贏家, 很多主要演員都得獎了.
很高興這兩年, 因為有這部戲的陪伴, 讓我撐過了疫情, 家人離世, 以及一些烏煙瘴氣的事情.
前幾天看演員的得獎影片, 一位娛樂記者問得獎的男配角(也是編劇之一)說, 你覺得這部片的核心思想是甚麼. 他說, be curious, not judgemental.
就像得獎的女演員在劇中一開始是很鴨霸很壞心的球隊主人, 但這樣做是因為被前夫傷透了心, 所以想要弄垮離婚後分到的財產(也是前夫的最愛--球隊); 外表看起來永遠陽光燦爛做啦啦隊的男主角, 在青少年時父親自殺, 造成了他心裡永遠的痛&障礙(讓他在球賽時, 會有突發恐懼症).
我們每個人其實都有很多面, 很多個故事. 尤其在社群, 大家都是萍水相逢, 對彼此的了解都是非常片面的; 而有時候在社群裡, 看到有人會因為只看到一個面向, 就去下斷語. 這其實是人之常情很難避免, 所以我們需要常用第二層思考去提醒自己. 社群裡需要更多的同理心.
“Be curious, not judgmental” – Walt Whitman(惠特曼)(美國詩人)
Picture來源:
https://www.apple.com/newsroom/2021/09/apples-global-hit-comedy-series-ted-lasso-sweeps-the-2021-primetime-emmy-awards-scoring-history-making-win-for-outstanding-comedy-series/
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅Samoot Sketch สมุดสเก็ตช์ ll ติวสถาปัตย์ ร้อยเอ็ด,也在其Youtube影片中提到,ช่องทางในการบริจาค 1. บัญชีรับบริจาค : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขารัชโยธิน ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในพระราชูปถัมภ์ฯ (โครงการก้า...
「net line pay」的推薦目錄:
- 關於net line pay 在 貓的成長美股異想世界 Facebook 的精選貼文
- 關於net line pay 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於net line pay 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於net line pay 在 Samoot Sketch สมุดสเก็ตช์ ll ติวสถาปัตย์ ร้อยเอ็ด Youtube 的最讚貼文
- 關於net line pay 在 Epic Time Youtube 的最佳貼文
- 關於net line pay 在 Papapha Youtube 的精選貼文
- 關於net line pay 在 服飾店哪些可以使用line pay money? - 閒聊板 - Dcard 的評價
- 關於net line pay 在 net可以用line pay嗎的蘋果、安卓和微軟相關APP,DCARD 的評價
- 關於net line pay 在 【街口支付x NET】 過年新衣買了沒? 即日起到 ... - Facebook 的評價
- 關於net line pay 在 LINE Pay dotnet core C# SDK - GitHub 的評價
- 關於net line pay 在 LINE Pay是什麼? 電獺少女示範怎麼使用全新支付方式 - YouTube 的評價
net line pay 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
Nick Molnar มหาเศรษฐี อายุน้อยสุด ในออสเตรเลีย /โดย ลงทุนแมน
“ผมไม่รู้ว่าทำไมคุณถึงยังทำงานอยู่ที่นี่ คุณควรออกไปทำธุรกิจของตัวเองเต็มเวลาได้แล้ว”
ประโยคดังกล่าวถูกพูดโดยคุณ Mark Carnegie ผู้เป็นหัวหน้างานของหนุ่มชาวออสเตรเลีย
ชื่อว่าคุณ Nick Molnar ในปี 2012 หรือราว 9 ปีก่อน
ไม่น่าเชื่อว่าประโยคนี้เอง จะทำให้ในเวลาต่อมา คุณ Molnar ได้ตัดสินใจลาออก
จากงานประจำเพื่อนำเวลาทั้งหมดไปทุ่มเทให้กับธุรกิจของตัวเอง
จนปัจจุบัน เขาได้กลายเป็นเจ้าของบริษัท ที่มีมูลค่าระดับ 9.4 แสนล้านบาท
และกลายมาเป็นมหาเศรษฐีที่อายุน้อยที่สุดในประเทศออสเตรเลีย
Nick Molnar คือใคร
แล้วเขาก่อตั้งธุรกิจอะไรขึ้นมา ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Nick Molnar เป็นชาวออสเตรเลีย ปัจจุบันมีอายุ 31 ปี
เขาถูกยกให้เป็น “Youngest Self-made Billionaire” หรือเศรษฐีที่มีทรัพย์สินเกินกว่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 3.3 หมื่นล้านบาท ที่มีอายุน้อยที่สุดในประเทศและสร้างธุรกิจขึ้นด้วยตัวเอง
Molnar เริ่มเส้นทางการเป็นนักธุรกิจตั้งแต่สมัยยังเป็นนักศึกษา
ในสมัยที่เขาศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาพาณิชยศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยซิดนีย์
ระหว่างเรียน เขาก็ได้เริ่มทำงานเพื่อหารายได้เสริมไปด้วย
โดยรายได้เสริมที่ว่านั้น เขาได้ไอเดียมาจากธุรกิจร้านขายอัญมณีและเครื่องประดับของครอบครัว ที่เปิดขายอยู่ที่สถานีรถไฟวินยาร์ด เมืองซิดนีย์
Molnar ได้มองว่าธุรกิจครอบครัวมีเพียงหน้าร้านเท่านั้น โดยเขาสามารถนำสินค้าเหล่านี้
ไปขายบนโลกออนไลน์ได้ อย่างน้อยก็ถือเป็นการสร้างรายได้จากช่องทางใหม่เพิ่มเติม
สำหรับช่องทางการขายออนไลน์ที่ว่านั้น ก็คือ “eBay”
ผ่านไปเพียงไม่นาน ก็ไม่น่าเชื่อว่าสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับของเขาได้กระแสตอบรับดีและขายดีเกินคาดในระดับที่มีออร์เดอร์เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าพันชิ้นต่อวัน
ถึงขนาดที่ว่าคุณ Molnar ได้กลายเป็นพ่อค้าขายอัญมณี
ที่ขายดีที่สุดบน eBay ประเทศออสเตรเลียในขณะนั้น
ซึ่งจุดนี้เองก็ได้ทำให้เขาเริ่มคิดต่อว่าจะขยายกิจการ
และไม่ต้องการพึ่งพาตัวกลางในการขายอย่าง eBay อีกต่อไป
เขาเลยได้ตัดสินใจก่อตั้งเว็บไซต์เป็นของตัวเอง ซึ่งแบ่งออกเป็น
- Iceonline.com.au เว็บไซต์ขายเครื่องประดับและนาฬิกาในประเทศออสเตรเลีย
- Ice.com เว็บไซต์ขายอัญมณีและเครื่องประดับในประเทศสหรัฐอเมริกา
ซึ่งธุรกิจที่กล่าวขึ้นมาทั้งหมดเกิดขึ้น คาบเกี่ยวกับช่วงที่เขาจบปริญญาตรีและกำลังเริ่มงานเป็นนักวิเคราะห์อยู่ที่ M.H. Carnegie & Co. ซึ่งเป็นบริษัทที่จะคอยวิเคราะห์ธุรกิจและนำเงินไปลงทุนเพื่อสร้างผลตอบแทน
ที่นั่น Molnar ได้พบเข้ากับ Mark Carnegie หัวหน้าของเขา ซึ่งพอ Carnegie ได้รับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับการหารายได้เสริมหลังเวลาเลิกงานของนักศึกษาจบใหม่คนนี้ที่กำลังเป็นรูปเป็นร่าง
Carnegie จึงได้ให้คำแนะนำให้เขาออกไปทำธุรกิจส่วนตัวให้เต็มที่
รวมทั้งยังได้ยื่นข้อเสนอพ่วงไปด้วยว่าผมให้เวลาคุณ 12 เดือน
หากคุณล้มเหลว คุณสามารถกลับมาทำงานกับผมได้ทุกเมื่อ
หลังจากนั้น Molnar จึงได้ทำตามคำแนะนำและตัดสินใจลาออก
เพื่อหันมาโฟกัสกับธุรกิจส่วนตัวตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
2 ปีต่อมา หลังจากที่เว็บไซต์ขายเครื่องประดับของเขาอยู่ตัวและคงที่แล้ว
เขาก็ได้ไอเดียธุรกิจอีกครั้ง จากการสังเกตเห็นพฤติกรรมการซื้อของออนไลน์ของลูกค้า
โดยเฉพาะกลุ่มนักช็อปเจเนอเรชันมิลเลนเนียล ซึ่งก็ได้นำไปสู่การก่อตั้งบริษัทที่ชื่อว่า “Afterpay” ในปี 2014
สำหรับธุรกิจนี้ คุณ Molnar มีผู้ร่วมก่อตั้งต่างวัย คือคุณ Anthony Eisen ปัจจุบันมีอายุ 50 ปี
โดยคุณ Eisen เป็นทั้งเพื่อนบ้านที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน รวมถึงยังเป็นผู้มากประสบการณ์ในสายอาชีพการเงิน
แล้ว Afterpay ทำธุรกิจอะไร ?
Afterpay เรียกได้ว่าเป็นสตาร์ตอัปฟินเทคผู้บุกเบิกโมเดลธุรกิจ “BNPL”
ย่อมาจาก Buy Now, Pay Later หรือซื้อตอนนี้จ่ายทีหลัง
อธิบายง่าย ๆ ก็คือเป็นบริการทางการเงินที่จะเข้ามาทำให้ผู้ซื้อได้รับสินค้าทันทีวันนี้
โดยที่ผู้ซื้อสามารถแบ่งจ่ายเป็นงวดทีหลัง แถมไม่มีค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมหากจ่ายตรงเวลา
จุดนี้เอง ที่ได้เข้าไปตอบโจทย์พฤติกรรมของผู้ที่ยังไม่มีบัตรเครดิตและคนรุ่นใหม่
ให้สามารถช็อปปิงออนไลน์ได้ง่าย สะดวกรวดเร็ว แถมยังไม่ต้องจ่ายเต็มจำนวน
ซึ่งหลายคนก็อาจจะสงสัยว่าไม่มีค่าธรรมเนียมผู้ซื้อแล้ว
รายได้ของ Afterpay จะมาจากใคร ?
คำตอบก็คือ รายได้ของ Afterpay จะมาจากร้านค้าเป็นหลัก
ตัวอย่างร้านค้าที่เป็นพาร์ตเนอร์กับบริษัท ก็เช่น Gap, JD Sports, Pandora, Ray-Ban, Levi’s และอีกหลายแบรนด์
ซึ่งหลายคนก็น่าจะถามต่อว่า
แล้วทำไมร้านค้าต้องยอมออกค่าใช้จ่ายส่วนนี้ ?
ด้วยโมเดลของ BNPL เป็นเหมือนการกระตุ้นยอดขายไปในตัว เพราะทำให้ผู้ซื้อสามารถได้รับสินค้าทันทีในระดับที่ว่าเสื้อผ้าราคาหลักร้อย เรายังสามารถแบ่งจ่ายได้ 4 งวด นั่นจึงทำให้ร้านค้าขายของง่ายขึ้น
ซึ่งก็เป็นอีกครั้งที่ไอเดียของ Molnar สำเร็จอย่างรวดเร็ว เพราะเขาสามารถนำบริษัท
จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ได้ในปี 2016 หรือเพียง 2 ปีหลังจากการก่อตั้ง
ทีนี้เรามาดูกันว่า Afterpay เติบโตมากขนาดไหน ?
หากเรามาดูผลประกอบการปี 2021 โดยรอบบัญชีของบริษัท
เริ่มต้นวันที่ 1 กรกฎาคม 2020 ถึง 30 มิถุนายน 2021
บริษัท Afterpay
ปี 2018 รายได้ 4,642 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 8,612 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 16,922 ล้านบาท
ปี 2021 รายได้ 30,127 ล้านบาท
คิดเป็นการเติบโตเฉลี่ยมากถึง 87% ต่อปี
โดยรายได้ทั้งหมดของบริษัทจะมาจากค่าธรรมเนียมจากร้านค้า 89%
ที่เหลือก็จะเป็นรายได้ เช่น ค่าปรับที่ลูกค้าจ่ายไม่ตรงงวด
หรือเรียกว่า Late Fee รวมกับรายได้อื่น ๆ อีก รวมกันเป็น 11%
Afterpay ได้รายงานอีกว่าในปีที่ผ่านมา
ร้านค้าที่ลูกค้าใช้บริการชำระเงินผ่านระบบของ Afterpay มีมูลค่าอยู่ที่ 730,000 ล้านบาท
โดยยอดดังกล่าว ได้สร้างรายได้ให้กับบริษัทราว 26,800 ล้านบาท
หมายความว่า Afterpay เก็บค่าธรรมเนียมต่อร้านค้าเฉลี่ยแล้วราว 3.7%
ปัจจุบัน Afterpay มี Active Customers หรือผู้ใช้งานที่ซื้อสินค้า
ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาราว 16.2 ล้านบัญชี มีร้านค้าบนระบบกว่า 98,200 ร้านค้า
ก็เรียกได้ว่านับเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดดและเรื่องราวที่เล่ามานั้น ก็ได้เกิดขึ้นในระยะเวลาเพียง 7 ปีเท่านั้น
ซึ่งล่าสุด Afterpay ก็เพิ่งได้รับข้อเสนอการเข้าซื้อกิจการจากบริษัท Square ธุรกิจฟินเทค ที่มีเจ้าของคนเดียวกันกับ Twitter หรือก็คือ Jack Dorsey เป็นเงินมูลค่ามากถึง 9.4 แสนล้านบาท
จึงทำให้เจ้าของอย่าง Nick Molnar ที่ปัจจุบันมีอายุเพียง 31 ปี จะมีทรัพย์สินมูลค่า
ราว 65,000 ล้านบาท และได้กลายมาเป็นเศรษฐี ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศออสเตรเลีย..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.businessinsider.com.au/afterpay-nick-molnar-anthony-eisen-net-worth-net-worth-2020-7
-https://tedxsydney.com/contributor/nick-molnar/
-https://www.cnbc.com/2020/12/11/the-advice-that-helped-nick-molnar-launch-multibillion-dollar-afterpay.html
-https://www.forbes.com/profile/nick-molnar/?sh=66d3a75913f6
-https://finance.yahoo.com/quote/AFTPF/financials?p=AFTPF
-https://afterpay-corporate.yourcreative.com.au/wp-content/uploads/2021/08/Afterpay-FY21-Results-Presentation.pdf
-https://www.bbc.com/news/business-58051815
-https://www.smh.com.au/business/banking-and-finance/genuine-gold-medal-contender-afterpay-gets-39b-endorsement-from-us-giant-square-20210802-p58f7q.html
-https://www.abc.net.au/news/2021-08-04/afterpay-square-millennials-lobbyists-covid-pandemic-shares-grow/100347562
net line pay 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
Mark Cuban จากเด็กขายถุงขยะ สู่ มหาเศรษฐีแสนล้าน /โดย ลงทุนแมน
เมื่อพูดถึงวงการอาหาร หลายคนคงจะนึกถึง Gordon Ramsay
ชายที่เต็มไปด้วยความเกรี้ยวกราด แต่ฝีไม้ลายมือและความอัจฉริยะด้านอาหาร
ก็เปี่ยมไปด้วยคุณภาพจนเถียงไม่ออก
สำหรับวงการธุรกิจเอง ก็มีคนหนึ่งที่มีบุคลิกคล้าย Ramsay ไม่มีผิด
เขาคนนั้นก็คือ Mark Cuban มหาเศรษฐีวัย 63 ปี ผู้ที่เด็ดขาดกับเรื่องธุรกิจ
และเป็นหนึ่งในนักลงทุนที่สร้างผลตอบแทนได้อย่างมหาศาล
เขาคนนี้มีจุดเริ่มต้นเป็นเพียงเด็กธรรมดาคนหนึ่ง
แต่ปัจจุบัน เขาได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาเศรษฐีแสนล้าน
แล้วเรื่องราวของ Cuban น่าสนใจอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Mark Cuban เกิดในเมืองพิตต์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 1958
โดยพ่อของเขาประกอบอาชีพเป็นช่างทำเบาะรถยนต์และแม่ของเขาทำงานรับจ้างทั่วไป
จุดเริ่มต้นของเส้นทางการเป็นผู้ประกอบการของ Cuban เกิดขึ้นเมื่อเขามีอายุเพียง 12 ปี
ในขณะนั้น เขาได้ขอเงินจากพ่อเพื่อซื้อรองเท้าคู่ใหม่ แต่แทนที่จะได้รองเท้า
เขากลับได้คำตอบที่จำได้ไม่เคยลืมว่า รองเท้าที่เขามีนั้นดีอยู่แล้ว ไม่เห็นจำเป็นที่จะต้องซื้อใหม่เลย แต่ถ้าอยากได้รองเท้าคู่ใหม่ ก็ต้องทำงานเก็บเงินเอง จะได้มีเงินซื้อ
คำพูดของพ่อเขาทำให้ Cuban เกิดแรงบันดาลใจในการหาเงินด้วยตัวเอง
จึงนำไปสู่ธุรกิจแรกในชีวิตคือ “การขายถุงขยะ”
ไอเดียของเขาในตอนนั้นก็คือ ซื้อสินค้าราคาส่งมาขายในราคาปลีก
โดย Cuban เริ่มจากไปซื้อถุงขยะชุดใหญ่ในราคา 100 บาท แล้วนำมาแบ่งขายต่อราคา 200 บาท
สำหรับวิธีการขาย ก็คือเดินเคาะขายตามบ้านเรือนรอบข้างและจี้จุด Pain Point เพื่อกระตุ้นให้ผู้คนอยากซื้อ เช่น การอธิบายข้อเสียของการไม่มีถุงขยะและบอกข้อดีคือไม่ต้องเหนื่อยเดินทางออกไปซื้อเอง
จากธุรกิจนี้เอง ก็ได้ทำให้เขาตกหลุมรักการทำธุรกิจอย่างมาก เพราะเขารู้สึกว่านอกจากมันจะสร้างเงินได้แล้ว เขายังสนุกไปกับมันอีกด้วย
นั่นจึงทำให้ Cuban ในวัยเด็กรู้จักการหาเงินด้วยตัวเองอยู่เสมอ
ซึ่งนอกจากขายถุงขยะ เขายังขายของสะสม เช่น แสตมป์ หรือเหรียญต่าง ๆ ด้วย
ในเวลาต่อมา บริษัทสำนักพิมพ์ท้องถิ่นของเมืองที่ Cuban อาศัยอยู่
โดนพนักงานประท้วงหยุดงานจนต้องหยุดส่งหนังสือพิมพ์
Cuban ก็ได้ใช้เหตุการณ์นี้เป็นโอกาสเพราะเขามองว่านิสัยของคนมักชอบเสพและติดตามเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลก
ดังนั้นเขาจึงตัดสินใจออกเดินทางไปเมืองอื่นเพื่อซื้อหนังสือพิมพ์ แล้วนำกลับมาวางขาย
และนั่นก็ทำให้เขาสามารถสร้างเงินก้อนใหญ่ให้กับตัวเองอีกครั้ง
แม้กระทั่งช่วงที่ศึกษาที่มหาวิทยาลัย
Cuban ก็ยังคงอยู่บนเส้นทางผู้ประกอบการเสมอ
เขาและเพื่อน ๆ เช่าบาร์ใกล้มหาวิทยาลัยเพื่อทำธุรกิจจัดงานปาร์ตี
ซึ่งได้ผลตอบรับที่ดี จนทำให้ในที่สุดเขาสามารถซื้อบาร์เป็นของตัวเองได้
เมื่อเรียนจบ Cuban เลือกกลับมาบ้านเกิดอีกครั้ง และทำงานที่ธนาคารแห่งหนึ่ง
แต่ในเวลาต่อมา เขาตระหนักได้ว่า เมืองนี้เล็กเกินกว่าที่จะได้เรียนรู้สิ่งใหม่
เขาจึงตัดสินใจลาออกและย้ายชีวิตไปอยู่เมืองดัลลัส รัฐเท็กซัส แทน
ก็ต้องบอกว่าช่วงแรกของเขาไม่ได้โรยไปด้วยกลีบกุหลาบอย่างที่คาดหวังไว้
เพราะ Cuban ต้องทำงานเป็นบาร์เทนเดอร์ ประทังชีวิตในแต่ละวัน และอาศัยอยู่ในอะพาร์ตเมนต์กับเพื่อนอีก 5 คน เพื่อประหยัดอดออม
แต่แล้วในที่สุดเขาก็ได้รับโอกาส เมื่อ “Your Business Software”
บริษัทซอฟต์แวร์รับเขาเข้าทำงาน ในตำแหน่งพนักงานขาย
ซึ่ง Cuban บอกว่าตอนแรกเขาไม่รู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เลย
แต่เขาก็ได้ใช้ความพยายามในการเรียนรู้ หากไม่รู้ในสิ่งไหนก็ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
Cuban ยังได้บอกอีกว่าแม้จะกลับมาที่พักดึกแค่ไหน เขาต้องอ่านหนังสืออยู่เสมอ และแม้กระทั่งที่ทำงาน ก็จะใช้เวลาในการเรียนรู้คอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่
จากความพยายามครั้งนี้ จึงทำให้ตัวเขาเองมีความรู้ความเชี่ยวชาญมากขึ้น
ลูกค้าหลายรายจึงเชื่อใจในตัวเขา จนเขาสามารถสร้างยอดขายได้มหาศาล
เมื่อทุกอย่างกำลังไปได้ดี บริษัทที่เขาทำงานอยู่กลับไล่ Cuban ออก
เนื่องจากมองว่าเขากำลังสะสมลูกค้าเป็นของตัวเองมากเกินไป
ซึ่ง Cuban ก็ได้ยืนยันว่าเขาเพียงช่วยเพิ่มยอดขายให้กับบริษัทเท่านั้น
หลังจากถูกไล่ออก Cuban จึงตัดสินใจเอาคืน Your Business Software
ด้วยการเปิดบริษัทของตัวเองที่ชื่อว่า “MicroSolutions”
บริษัทที่จัดจำหน่ายซอฟต์แวร์และบริการให้คำปรึกษาด้านคอมพิวเตอร์
โดยในเวลานั้นเขาสามารถสร้างรายได้ต่อปีสูงที่สุดถึง 980 ล้านบาท
ซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่ก็คือ ลูกค้าเก่าจากบริษัทที่ไล่เขาออกมา
ต่อมาเขาตัดสินใจขายธุรกิจจัดจำหน่ายซอฟต์แวร์ในปี 1990 ด้วยมูลค่าราว 200 ล้านบาท
เพื่อที่จะได้เกษียณการทำงานและกลับไปใช้ชีวิตของตนอย่างปกติ
แต่เมื่อเกษียณไปได้ไม่นาน Cuban กลับรู้สึกเบื่อและโหยหาการทำงานอีกครั้ง
เขาจึงเริ่มมองหาโอกาสการทำธุรกิจใหม่และก็ได้พบเข้ากับ AudioNet
บริการสตรีมการแข่งขันกีฬา ที่มีผู้ก่อตั้งคือ Christopher Jaeb
Cuban มองว่าบริการลักษณะนี้เป็นสิ่งที่ใคร ๆ ก็ต้องการ แม้กระทั่งตัวเขาเอง
เขาจึงให้เงินสนับสนุนไป และเมื่อ AudioNet เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ
บริษัทแห่งนี้ก็ได้ผลตอบรับที่ดีอย่างที่คาดการณ์ไว้
ทำให้เวลาต่อมา Cuban ตัดสินใจซื้อหุ้นจาก Jaeb จนกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
และได้เปลี่ยนชื่อบริษัทจาก AudioNet เป็น “Broadcast.com”
หลังจากนั้นไม่นาน บริษัทได้เสนอขายหุ้นแก่ประชาชนทั่วไป หรือ IPO
ซึ่งก็ถือว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก เพราะราคาหุ้นของ Broadcast.com
พุ่งขึ้นในวันแรกเกือบ 300% จึงทำให้ผู้ถือหุ้นรายใหญ่อย่าง Cuban ร่ำรวยอย่างก้าวกระโดด
และสิ่งที่ทำให้ Cuban รวยเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลอีก คือการเข้ามาซื้อกิจการของ Yahoo
โดยเป็นการเข้าซื้อด้วยวิธีแลกหุ้นกัน ซึ่ง Cuban ก็ได้กลายเป็นผู้ถือหุ้นใน Yahoo
แต่หลังจากที่ Cuban ได้รับหุ้นมาแล้ว เขาก็ได้มองว่าอุตสาหกรรมเทคโนโลยีกำลังจะเกิดฟองสบู่แต่การแลกหุ้นกับ Yahoo ยังติดเงื่อนไขห้ามขายหุ้นอยู่ เขาจึงทำการประกันความเสี่ยงโดยใช้อนุพันธ์โดยร่วมมือกับ Goldman Sachs
และก็เป็นอย่างที่รู้กันดีว่าฟองสบู่ดอตคอมก็ได้เกิดขึ้นจริง
และ Cuban ก็สามารถรอดจากวิกฤติครั้งนั้นมาได้
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา Cuban ได้นำเงินไปลงทุนในเหล่าธุรกิจอยู่เรื่อยมา
และเขาได้เข้าซื้อทีมบาสเกตบอลในดวงใจอย่าง Dallas Mavericks
ด้วยมูลค่าถึง 9,000 ล้านบาท
ช่วงที่ Cuban เข้าซื้อ Dallas Mavericks เป็นช่วงที่ Performance ของทีมตกอย่างมาก
อัตราการชนะของทีมอยู่ที่เพียง 40% เท่านั้น
แต่หลังจากการเข้ามาบริหารของ Cuban ทีม Dallas Mavericks ก็มีผลงานที่ดีขึ้นและอัตราการชนะของทีมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 69%
สิ่งที่ Cuban ใช้สำหรับบริหารทีม คือ การใช้ความเป็นแฟนคลับผสมกับความสามารถด้านธุรกิจ
เช่น สำหรับแฟนคลับ เขาเองก็เป็นแฟนบาสเกตบอลเช่นกัน จึงทำให้รู้ว่าคนต้องการอะไร
เขาลงทุนในสิ่งต่าง ๆ ที่ช่วยให้แฟนคลับได้รับประสบการณ์ที่ดี อย่างช่องทางการสื่อสารกับผู้เล่น
นอกจากนั้น ก็ยังมีเรื่องของการดูแลและสนับสนุนผู้เล่นในทีม
Cuban สนับสนุนและดูแลสมาชิกของทีมในหลาย ๆ เรื่องอย่างที่พักและการเดินทาง
ซึ่งแตกต่างจากเจ้าของทีมคนเก่า ที่ดูจะไม่ค่อยให้การสนับสนุน
และนั่นก็เปรียบเหมือนว่า Cuban ให้ใจกับพวกเขา จึงทำให้ผู้เล่นในทีมมีความสุขและมีความเชื่อมั่น ทั้งหมดนี้จึงส่งผลให้การซ้อมและการแข่งขันเป็นไปอย่างเต็มที่
เขาเป็นคนที่คอยช่วยสร้าง Culture ใหม่ในทีมร่วมกับโค้ช Don Nelson ด้วย
เพื่อให้สมาชิกในทีมคลิกกันและให้ความสำคัญกับผลงานมากกว่าความอาวุโส
อีกส่วนสำคัญคือ การใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์
โดย Cuban จ้าง Roland Beech นักคณิตศาสตร์สถิติ เพื่อเก็บข้อมูลตัวเลขต่าง ๆ ของผู้เล่น
แล้วนำมาวิเคราะห์ ในการวางแผนกลยุทธ์สำหรับการแข่งขัน และนั่นก็ส่งผลให้ทีมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
จากการเข้ามาบริหารของ Cuban ส่งผลให้ Dallas Mavericks กลับมามีชื่อเสียงอีกครั้ง
และมีการประเมินว่า มูลค่าทีมปัจจุบันสูงถึง 80,000 ล้านบาท
โดยสิ่งที่ทำให้เขามีชื่อเสียงโด่งดังไม่ใช่เพียงแค่ Broadcast.com กับ Dallas Mavericks เท่านั้น
แต่การมาเป็นนักลงทุนในรายการ Shark Tank ก็ทำให้ชื่อเสียงของเขาพุ่งทะยานอีก เช่นกัน
Shark Tank คือรายการสุดฮิตของสหรัฐอเมริกาที่เหล่าผู้ประกอบการจะต้องพรีเซนต์ให้นักลงทุนฟัง
เพื่อโน้มน้าวนักลงทุนให้มาลงทุนในธุรกิจของตน
ด้วยสไตล์การวิพากษ์วิจารณ์ธุรกิจของเขาที่ให้แก่ผู้ประกอบการอย่างดุดันและตรงไปตรงมา
ซึ่งอาจจะฟังแล้วเจ็บแสบ แต่ล้วนเป็นความรู้และข้อคิดที่ดี
จึงทำให้มีแฟนคลับมากมาย ทั้งนักธุรกิจ นักลงทุน รวมถึงผู้รับชมทั่วไป
ตั้งแต่ Cuban เข้าร่วมรายการ Shark Tank
เขาลงทุนไปแล้วรวมธุรกิจมากกว่า 80 แห่ง
คิดเป็นมูลค่ารวมกว่า 650 ล้านบาท
นอกจากนี้ เขายังได้ลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวกับกลุ่ม Blockchain และ Cryptoasset อีกด้วย
เช่น OpenSea และ SuperRare แพลตฟอร์มซื้อขาย NFT ขนาดใหญ่
Polygon Blockchain ที่ได้รับความนิยมในช่วงที่ผ่านมา
ซึ่งนั่นแสดงให้เห็นว่า แม้เขาจะอายุ 60 กว่าปีแล้ว แต่ก็ไม่หยุดที่จะเรียนรู้และเปิดรับสิ่งใหม่
ปัจจุบัน Cuban ยังคงเป็นทั้งผู้ประกอบการและนักลงทุนไปพร้อม ๆ กัน
จึงทำให้เขามีมูลค่าทรัพย์สินรวมที่ 140,000 ล้านบาท
ปิดท้ายด้วยคำกล่าวของ Mark Cuban
ที่ได้พูดถึงเคล็ดลับความสำเร็จของเขาว่า
“สิ่งที่ทำให้เขาประสบความสำเร็จนั้น
เกิดขึ้นจากความพยายามค้นหาและศึกษาหาความรู้อยู่ตลอดเวลา
สิ่งเหล่านี้เอง ที่คนส่วนใหญ่ไม่มี จึงทำให้เขาได้เปรียบในการแข่งขันอยู่เสมอ”
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.cnbc.com/2020/10/05/mark-cuban-this-is-the-best-investment-i-ever-made.html
-https://en.wikipedia.org/wiki/Mark_Cuban
-https://www.capitalism.com/mark-cuban-net-worth/
-https://markcubancompanies.com/marks-bio/
-https://www.sportscasting.com/how-much-did-mark-cuban-pay-for-the-dallas-mavericks/
-https://www.businessinsider.com/how-mark-cuban-turned-around-dallas-mavericks-2015-4
net line pay 在 Samoot Sketch สมุดสเก็ตช์ ll ติวสถาปัตย์ ร้อยเอ็ด Youtube 的最讚貼文
ช่องทางในการบริจาค
1. บัญชีรับบริจาค : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
สาขารัชโยธิน ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในพระราชูปถัมภ์ฯ (โครงการก้าวคนละก้าว)
เลขที่บัญชี 111-393- 5263 ประเภทบัญชีกระแสรายวัน
2. SMS : บริจาคครั้งละ 10 บาท* โดยพิมพ์ T แล้วกดส่งมาที่ 4545099(ทุกเครือข่าย )
หมายเหตุ : ทุกยอดเงินบริจาคไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงิน
3. พร้อมเพย์ : โอนเงินผ่านพร้อมเพย์ ไปที่เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของมูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 0994000005261
4. SCB EASY APP: สามารถบริจาคผ่านเมนู “บริจาค” ใน SCB EASY APP
และเลือก โครงการวิ่งการกุศล “ก้าวคนละก้าว” เพื่อ 11โรงพยาบาลทั่วประเทศ
5. SCB EASY NET: ผู้ที่สมัครใช้บริการ SCB EASY NET สามารถบริจาคด้วยการโอนเงินผ่านเว็บไซต์ www.scbeasy.com
6. SCB ATM : บริจาคผ่านเครื่อง ATM ของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
เลือกรายการ แล้วกด ถอนจากบัตร UP2ME / บริจาค แล้วกดบริจาคโครงการวิ่งการกุศล “ก้าวคนละก้าว”
7. เคาเตอร์เซอร์วิสของ 7-11 ทุกสาขา
8. www.ruckdee.com :
สำหรับการบริจาคผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิต
หมายเหตุ – สามารถบริจาคได้จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561
9. ห้างบิ๊กซีทุกสาขา
10. บริจาคผ่านช่องทางแอป ทรูมันนี่ วอลเล็ท (ทรูมันนี่ ร่วม บริจาคเพิ่มอีก 10 บาท ต่อการบริจาคของท่าน) คลิก http://d.truemoney.com/kao1g
11. Rabbit LINE Pay https://lin.ee/bFAYJuW
----------------------------------------
เพจ ก้าว : https://web.facebook.com/kaokonlakao/?hc_ref=ARSAOHh2JgXIyTT_0Ee5lmymNKArbl0aQWow_8F1HcKFMYpf28fkpwUBGS_zYwzevhQ
--------------------------------
วาดรูป ในรูปแบบเส้นสถาปัตยกรรม
สเก็ตช์ๆ ไปกับ samoot sketch
--------------
ติดตามผลงานอื่นๆได้ที่แฟนเพจ
https://www.facebook.com/SamootSketch/?ref=aymt_homepage_panel
net line pay 在 Epic Time Youtube 的最佳貼文
ช่องทางในการบริจาคโครงการ
ก้าวคนละก้าว
1. บัญชีรับบริจาค : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
สาขารัชโยธิน ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในพระราชูปถัมภ์ฯ (โครงการก้าวคนละก้าว)
เลขที่บัญชี 111-393- 5263 ประเภทบัญชีกระแสรายวัน
2. SMS : บริจาคครั้งละ 10 บาท* โดยพิมพ์ T แล้วกดส่งมาที่ 4545099(ทุกเครือข่าย )
หมายเหตุ : ทุกยอดเงินบริจาคไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงิน
3. พร้อมเพย์ : โอนเงินผ่านพร้อมเพย์ ไปที่เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของมูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 0994000005261
4. SCB EASY APP: สามารถบริจาคผ่านเมนู “บริจาค” ใน SCB EASY APP
และเลือก โครงการวิ่งการกุศล “ก้าวคนละก้าว” เพื่อ 11โรงพยาบาลทั่วประเทศ
5. SCB EASY NET: ผู้ที่สมัครใช้บริการ SCB EASY NET สามารถบริจาคด้วยการโอนเงินผ่านเว็บไซต์ www.scbeasy.com
6. SCB ATM : บริจาคผ่านเครื่อง ATM ของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
เลือกรายการ แล้วกด ถอนจากบัตร UP2ME / บริจาค แล้วกดบริจาคโครงการวิ่งการกุศล “ก้าวคนละก้าว”
7. เคาเตอร์เซอร์วิสของ 7-11 ทุกสาขา
8. www.ruckdee.com :
สำหรับการบริจาคผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิต
หมายเหตุ – สามารถบริจาคได้จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561
9. ห้างบิ๊กซีทุกสาขา
10. บริจาคผ่านช่องทางแอป ทรูมันนี่ วอลเล็ท (ทรูมันนี่ ร่วม บริจาคเพิ่มอีก 10 บาท ต่อการบริจาคของท่าน) คลิก http://d.truemoney.com/kao1g
11. Rabbit LINE Pay https://lin.ee/bFAYJuW
Instagram เอก https://www.instagram.com/aek_phanuu/
Instagram วา http://instagram.com/Wasabi_neverdie
instagram ทับทิม http://instagram.com/tubtimaekky
สั่งซื้อของเล่นได้ที่นี่เลยจ้า
https://www.facebook.com/epictoysshop/?fref=ts
ติดตามความเคลื่อนไหวของพวกเราได้ที่ : https://www.facebook.com/epictoyss/
ติดต่องานได้ที่
E-mail : Theskafilm@gmail.com
net line pay 在 Papapha Youtube 的精選貼文
LIVE โครงการก้าวคนละก้าว เพื่อ 11 โรงพยาบาลทั่วประเทศ
เบตง - แม่สาย วันที่ 1 พย - 25 ธค 2560 ระยะทาง ระยะทาง 2,191 กม.
ช่องทางในการบริจาค
1. บัญชีรับบริจาค : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
สาขารัชโยธิน ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในพระราชูปถัมภ์ฯ (โครงการก้าวคนละก้าว)
เลขที่บัญชี 111-393- 5263 ประเภทบัญชีกระแสรายวัน
2. SMS : บริจาคครั้งละ 10 บาท* โดยพิมพ์ T แล้วกดส่งมาที่ 4545099(ทุกเครือข่าย )
หมายเหตุ : ทุกยอดเงินบริจาคไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงิน
3. พร้อมเพย์ : โอนเงินผ่านพร้อมเพย์ ไปที่เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของมูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 0994000005261
4. SCB EASY APP: สามารถบริจาคผ่านเมนู “บริจาค” ใน SCB EASY APP
และเลือก โครงการวิ่งการกุศล “ก้าวคนละก้าว” เพื่อ 11โรงพยาบาลทั่วประเทศ
5. SCB EASY NET: ผู้ที่สมัครใช้บริการ SCB EASY NET สามารถบริจาคด้วยการโอนเงินผ่านเว็บไซต์ www.scbeasy.com
6. SCB ATM : บริจาคผ่านเครื่อง ATM ของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
เลือกรายการ แล้วกด ถอนจากบัตร UP2ME / บริจาค แล้วกดบริจาคโครงการวิ่งการกุศล “ก้าวคนละก้าว”
7. เคาเตอร์เซอร์วิสของ 7-11 ทุกสาขา
8. www.ruckdee.com :
สำหรับการบริจาคผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิต
หมายเหตุ – สามารถบริจาคได้จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561
9. ห้างบิ๊กซีทุกสาขา
10. บริจาคผ่านช่องทางแอป ทรูมันนี่ วอลเล็ท (ทรูมันนี่ ร่วม บริจาคเพิ่มอีก 10 บาท ต่อการบริจาคของท่าน) คลิก http://d.truemoney.com/kao1g
11. Rabbit LINE Pay https://lin.ee/bFAYJuW
ขอขอบคุณคนไทยใจดีทุกคนที่เห็นด้วยและมาช่วยกัน "ก้าว" ครั้งนี้ ติดรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Facebook "ก้าว"
ก้าวคนละก้าว
ก้าวคนละก้าวเพื่อ11โรงพยาบาล
ก้าวนี้เพื่อหมอพยาบาลและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลทุกคน
net line pay 在 【街口支付x NET】 過年新衣買了沒? 即日起到 ... - Facebook 的推薦與評價
即日起到「NET」逛街也可以使用「街口支付」囉! ... 用街口支付結帳最快速 還可輕鬆賺回饋 *適用分店依街口支付APP資料與NET官方規定為 ... 讚啦打爆line pay吧. ... <看更多>
net line pay 在 LINE Pay dotnet core C# SDK - GitHub 的推薦與評價
LINE Pay SDK for .NET Core C#. Contribute to kenakamu/line-pay-csharp development by creating an account on GitHub. ... <看更多>
net line pay 在 服飾店哪些可以使用line pay money? - 閒聊板 - Dcard 的推薦與評價
小弟我5倍券是綁line pay money,後來查了一下合作通路連鎖服飾能使用的大概只有net 50%而已,想請問有沒有古著或者工裝風格的店可以使用, ... ... <看更多>