รายงานข่าวฉบับนี้ค่อนข้างดีนะ ที่สรุปความรู้เกี่ยวกับเรื่อง "อันตรายจากสารเคมี" ที่เกิดขึ้นจากกรณีไฟไหม้ที่โรงงานสารเคมี ที่กิ่งแก้ว จ. สมุทรปราการ ลองศึกษากันดูนะครับ
------
(รายงานข่าว) ไฟไหม้ ‘โรงงานกิ่งแก้ว’ 'สารเคมี' ตัวไหน น่ากลัวกว่าที่เห็น
ช่วงเวลาตี 3.10 นาที ขณะที่ทุกคนกำลังหลับไหล พลันก็มีแสงสว่างวาบแล้วตามมาด้วยเสียงระเบิดดังสนั่นหวั่นไหว กระจกหน้าต่างแตกกระจาย จากเหตุระเบิดและไฟไหม้ที่โรงงานผลิตเม็ดโฟมพลาสติก บริษัท หมิงตี้ เคมีคอล จำกัด ซอยกิ่งแก้ว 21 ม.15 ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ กลุ่มควันสีดำพวยพุ่งม้วนตัวขึ้นสูงสู่ท้องฟ้า เจ้าหน้าที่ดับเพลิงได้เข้าควบคุมในพื้นที่เวลา 06.00 น.ต่อมาเวลา 09.00 น. สถานการณ์ก็รุนแรงขึ้น เกิดระเบิดขึ้นอีกหลายครั้งจากสารเคมีในโรงงานที่เกิดเหตุ
#สารพัดสารพิษจากโรงงาน
หมิงตี้ เคมีคอล เป็นโรงงานผลิตโฟมและเม็ดพลาสติก รศ. ดร.กิติกร จามรดุสิต รองอธิการบดีฝ่ายสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวในงานเสวนา ‘ถอดบทเรียน ไฟไหม้โรงงานกิ่งแก้ว’ ที่ Mahidol Science Café จัดขึ้นเพื่อเป็นบทเรียนว่า เหตุการณ์ไฟไหม้ที่เกิดขึ้น สร้างผลกระทบต่อสุขภาพผู้คนอย่างไร
"โพลีสไตรีน (Polystyrene,PS) คือ พลาสติก ที่ผลิตขึ้นมาจาก สไตรินโมโนเมอร์ (Styrene, Monomer) สารอินทรีย์ไวไฟและมี เบนซีน (C6H6) ไฮโดรคาร์บอนที่อยู่ในรูปวงแหวนหกเหลี่ยม เป็นคาร์ซิโนเจน สารก่อมะเร็งในระยะยาว แล้วใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา คือ เปอร์ออกไซด์ อัดแก๊สให้โฟมมันพองขึ้นคงสภาพไว้
สิ่งที่เห็นคือ วัตถุไวไฟ เพนเทน 60-70 ตัน สไตรีนโมโนเมอร์ กว่า 1.6 พันตัน ตั้งแต่ตีสามจนถึงช่วงเย็นก็ยังดับไม่ได้ เพราะมีเชื้อไฟและออกซิเจน ที่หนักสุดคือ VOCs สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Organic Compounds) ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์มากกว่า CO (คาร์บอนมอนอกไซด์) เยอะมาก
โรงงานที่ผลิตพวกนี้ควรต้องมีระบบการจัดการที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้ระเหยออกมา เพราะมันส่งผลกระทบต่อโรงงานและชุมชนรอบข้าง หน้ากากที่ใช้ก็ต้องเป็นหน้ากากป้องกัน VOCs สารอินทรีย์ระเหยได้เท่านั้น"
ในเหตุการณ์ไฟไหม้ครั้งนี้ เรามองเห็นควันไฟสีดำและสีเทา รศ. นพ.สัมมน โฉมฉาย ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม ศูนย์พิษวิทยาศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล บอกว่า การเผาไหม้มีทั้งสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
"ในควันไฟจะมีคาร์บอนมอนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์ ในอาคารสมัยใหม่บางมีวัสดุที่มีไนโตรเจนเป็นสารประกอบ เมื่อไฟไหม้ก็จะเกิดไซยาไนด์ขึ้นมา แต่โรงงานนี้มี สไตรีน (Styrene) มี PAHs โพลีไซคลิกอะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons) เกิดขึ้น
สไตริน ทำให้เกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจและผิวหนัง ดวงตา คอ จมูก ปอด แล้วแต่ความเข้มข้น สถานที่ระยะใกล้ 5-7 กิโลเมตร คนในชุมชนจะรู้สึกระคายเคืองทางเดินหายใจ แสบตา ตาแดง แสบจมูก ไอ เจ็บคอ เสียงแหบ คนที่โดนเยอะๆ อาจหมดสติได้ มีพิษต่อระบบประสาท
ส่วน PAHs ทำให้ระคายเคืองทางเดินหายใจ แสบ ไอ จาม อุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ถ้าเป็นมากๆ ทำให้ปอดอักเสบรุนแรง การหายใจล้มเหลว ส่วน VOCs มีฤทธิ์คล้ายๆ กัน ระคายเคือง มีพิษต่อไตและตับ
ที่สำคัญคือ คนที่จะเข้าไปในที่เกิดเหตุ ต้องรู้ว่าจะเจอกับสารอะไร ต้องใช้เครื่องมือชนิดไหน ถ้าสารมีพิษสูง แล้วสถานที่นั้นมีออกซิเจนต่ำ ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันตัวเองคือ PPE ที่มีถังออกซิเจนเข้าไปด้วย แต่ถ้าเป็นสารระเหย ก็ต้องใช้หน้ากากที่ป้องกันสารระเหยได้"
เมื่อควันไฟที่ไหม้พัดสารเคมีขึ้นบนท้องฟ้า ลมที่มีอยู่ในอากาศ ก็พัดพากระจายออกไปทุกทิศทุกทาง รศ. ดร.สราวุธ เทพานนท์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สังเกตทิศทางลมแล้วเห็นว่า อันตรายไม่ได้มีเพียงคนในชุมชนเท่านั้น ยังมีผลกระทบในวงกว้าง
"เท่าที่สังเกตการเคลื่อนตัวของมวลอากาศ ระยะแรกเคลื่อนจากทิศตะวันตกไปตะวันออก ระยะต่อมามีลมจากทางใต้พัดไปทางเหนือ ทิศที่น่าห่วงคือทิศตะวันออกและทิศเหนือ
ส่วนอันตรายที่เกิดขึ้นนั้นได้แก่ 1)ความเป็นพิษของสารเคมี 2)อันตรายจากความร้อน และระเบิด สารพิษไม่ได้แพร่กระจายเป็นวงกลม แต่มันกระจายไปตามทิศทางลม ถ้าระดับความเข้มข้นของสไตรินอยู่ที่ 100 ppm จะอันตรายมาก มีพิษเฉียบพลัน แต่ถ้าอยู่ในระดับ 0.06 ppm ต่อเนื่อง 1-2 วันก็อันตราย WHO องค์การอนามัยโลกบอกว่าสไตรินในอากาศ ควรมีระดับต่ำกว่าที่ได้กลิ่นคือ 0.016 ppm ซึ่งตอนนี้เกินมาตรฐาน"
#การป้องกันระยะยาว
ดร.กิติกร เสนอว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรต้องร่วมมือพูดคุยกันอย่างจริงจังให้มากขึ้น
"ประเด็นแรก เรื่องนี้เกิดขึ้นนอกเขตนิคมอุตสาหกรรม แม้จะบอกว่าโรงงานอยู่มาก่อนชุมชน แต่มาตรฐานการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม การตรวจตราโรงงาน หรือแผนที่มีอยู่เพียงพอหรือไม่ ไม่ใช่แค่อพยพหนีไฟ เหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อชุมชนมีรัศมีกว้างไกลมาก ต้องมีแผนเกี่ยวข้องกับชุมชน ชุมชนต้องเข้ามามีส่วนร่วม และมีความรู้เพิ่มเติม ต้องรู้จักสไตริน และรู้ว่าเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นจะทำยังไง
ประเด็นที่สอง เรื่องสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็น VOCs ที่กระจายไป ถ้าเจอความชื้นหรือฝน มันจะตกลงมาหมดเลย มีผลต่อการเกษตร พืชผล ถ้าลงพื้นดินซึมสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ จะกู้สถานการณ์หรือจัดการยังไง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเยียวยาหรือแก้ไขปัญหาให้ชาวบ้านเมื่อกลับไปอยู่ในชุมชนแล้วมีความมั่นใจได้ว่า สิ่งเหล่านี้จะไม่หลงเหลืออยู่ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมหรือไม่"
ส่วน ดร.สราวุฒิ มองว่า เราต้องมองกว้างกว่านั้น ไม่ใช่มองอะไรมิติเดียว
"ตอนนี้เรามองแค่การหายใจ ทั้งที่ความจริงแล้ว มันตกลงมาในน้ำในดิน ภาครัฐ ควรมีการจัดการไม่ใช่เพียงแค่ระดับอากาศ อย่าง เชอโนบิล มองแต่อากาศ แต่จริงๆ แล้วมันลงไปอยู่ในดิน, ในน้ำ, ในนมวัว ในส่วนของกฎหมายโรงงานก็ต้องมีการคาดการณ์เหตุการณ์เลวร้ายขั้นสุดที่อาจเกิดขึ้นได้ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีการจัดการหรือป้องกันยังไง ยิ่งเป็นโรงงานเคมี ยิ่งต้องให้ความสำคัญเพิ่มขึ้น
ถึงเวลาที่ควรจะให้ความสำคัญ ให้ความรู้ การจัดการกับโรงงานและสถานการณ์แบบนี้ให้มากขึ้น หรือถ้ามีเหตุการณ์ลักษณะนี้เกิดขึ้นก็ควรมีการเซ็ทเป็นวอร์รูม (War Room) เป็นจุดสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้องบอกความเสี่ยงให้ทุกคนได้รับรู้อย่างชัดเจน เพราะว่าทุกภาคส่วนต้องการทราบข้อมูล อย่างเหตุการณ์ที่มาบตาพุด BST ก็ไม่มีวอร์รูม ไม่มี Press Release ออกมา กว่าจะมีข่าวมันเตลิดไปอีกแบบหนึ่งแล้ว เราควรมีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการต่อไป"
ทางด้าน นพ.สัมมน มองว่า ชุมชนควรมีส่วนร่วมกับโรงงาน มีผู้นำชุมชนเป็นคนเชื่อมต่อสื่อสารไม่ให้คนตื่นตระหนก
"คนงานต้องรู้เรื่องความเสี่ยง มีความรู้เรื่องการปฐมพยาบาล การปฏิบัติตัว มีการประเมินความเสี่ยงที่ Worst Case กรณีเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ควรมีบรรจุอยู่ในผู้ประกอบการและชุมชนด้วย แม้กระทั่งเด็กและเยาวชนก็ต้องรู้"
#การดูแลตัวเอง
"ในกรณีนี้ ไฟไหม้สารเคมี การดับต้องใช้โฟมอย่างเดียว แล้วต้องดับให้ถูกจุด อีกทั้งต้องใช้น้ำเลี้ยงความร้อนไว้ด้วย" ดร.กิติกร กล่าวและบอกว่า
"หลายบริษัทที่มีโฟมดับไฟ เราก็น่าจะหยิบยืมกันได้ในช่วงฉุกเฉิน ส่วนการป้องกันตัวเอง ถ้าอยู่ใกล้แหล่งเกิดเหตุ อันดับแรกให้อยู่ใต้ลมไว้ ถ้าอยู่ในรัศมีใกล้ๆ ก็ต้องอพยพอย่างเดียว แล้วตอนนี้ยังไม่มีหน่วยงานไหนมอนิเตอร์ทิศทางลม เพื่อจะบอกได้ว่าสารพิษนี้แพร่กระจายไปถึงไหนแล้ว มีความเข้มข้นเท่าไร และไม่มีมาตรฐานในการรายงานทุกชั่วโมง อย่างฝุ่นควันพิษ PM2.5 ยังมีรายงานแบบเรียลไทม์เลย"
ส่วน นพ.สัมมน ได้แนะนำการดูแลตัวเองในระยะสั้นว่า ถ้าเป็นไปได้ ให้อยู่แต่ในอาคาร
"ถ้าอยู่ในอาคาร ให้ปิดกระจก เปิดเครื่องปรับอากาศ เปิดเครื่องกรองอากาศ ยิ่งเครื่องกรองที่มีไส้กรองเป็นชาโคล มีหลักฐานว่ามันช่วยลด VOCs ในอาคารได้บ้าง ส่วนการดูแลตัวเองหรือการปฐมพยาบาลเบื้องต้น คนที่มีอาการระคายเคืองจมูก อาจจะรับประทานยาแก้แพ้ หรือล้างจมูกด้วยน้ำเกลือ เอาพวกอนุภาคฝุ่นที่ทำให้เกิดการอักเสบออกมา
ถ้าระคายเคืองตา ก็ล้างตาในน้ำสะอาด อยากจะเตือนสำหรับคนที่ใส่คอนแทคเลนส์ๆ มันจะดูดซับสารต่างๆ ที่ระคายเคือง ดีที่สุดคือถอดคอนแทคเลนส์ แล้วล้างตาด้วยน้ำสะอาดอย่างน้อย 15 นาที ส่วนผิวหนัง หากได้รับการสัมผัสเยอะๆ ทำให้แสบระคายเคืองผิวหนัง เป็นผื่นได้ แนะนำให้ล้างหรืออาบน้ำด้วยสบู่
ถ้าจำเป็นจริงๆ อาจต้องใช้ครีมที่มีสเตียรอยด์ทา หากมีข้อสงสัยสอบถามได้ที่ศูนย์พิษวิทยา 24 ชั่วโมงทั้งของโรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาลรามาธิบดี ส่วนในระยะยาว ควรให้ความรู้เรื่องสารพิษแก่บุคลากรทางการแพทย์มากขึ้น เพราะเราเป็นประเทศอุตสาหกรรมเหตุการณ์อย่างนี้อาจเกิดขึ้นได้เรื่อยๆ"
polycyclic aromatic hydrocarbons 在 錢政弘 胃腸肝膽科醫師 Facebook 的精選貼文
【衛教文 新年快樂】
前天國健署公布大腸癌連續第13年蟬聯發生率最高的癌症,這應該是大家最關心的健康問題,我來幫大家整理一下大腸癌有哪些危險因子?無法改變的危險因子例如家族史、基因遺傳、人種等因素,我就不提了。下面提到的是跟生活習慣有關的危險因子,有些證據力比較強,有些較弱,我簡單說明讓大家參考。
【明確的危險因子】
1️⃣肥胖
肥胖有較高的風險,如果減重的話風險是可以降低。這跟代謝症候群、胰島素阻抗和全身性的發炎有關,腹圍大的人(胖肚子)尤其危險。BMI超過29的人風險增加45%。
2️⃣抽煙
香煙的致癌物質會經由血液循環到大腸致癌,也會增加大腸息肉發生。長期的追蹤發現,持續抽煙或斷斷續續抽煙都會增加罹癌風險,特別是直腸癌的發生。
3️⃣喝酒
喝酒會影響葉酸代謝,乙醛也有基因毒性。每日飲酒量超過三杯(平均酒精量45克/日)的人,危險增加1.4倍。
4️⃣紅肉或加工肉品
加工食品中含亞硝基化合物,肉品經過高溫烹調(油炸、燒烤)會產生雜環胺(heterocyclic amines,HCAs)與多環芳香烴炭化合物(polycyclic aromatic hydrocarbons,PAHs)等致癌物質。
5️⃣缺乏微量營養素
鈣離子可以結合膽酸和脂肪酸,減少它們在大腸中對黏膜的損害,也可以直接減少大腸細胞不正常的分化。有研究指出補充鈣離子可以減少腺瘤和大腸癌的發生,但也有研究不支持這個論點。同樣的,血中的維生素D不足跟大腸癌發生有關,如何補充還有爭議。只能說缺鈣、缺D有害,但補鈣片或補D並不見得有用,所以先多多食補吧!
6️⃣糖尿病
糖尿病患者有長期的胰島素阻抗,會增加的30%的罹癌風險。
7️⃣發炎性大腸炎
長期的大腸發炎、免疫改變和腸道菌失衡增加致癌的風險。
8️⃣缺乏身體活動
換句話說,日常生活中多活動的人可以減少24%大腸癌發生。主要是因為可以減重和減脂,降低胰島素濃度和發炎反應,另外增加腸道蠕動,減少糞便停留在腸道的時間。過去研究指出如果每周看電視的時間大於14個小時,就會增加大腸癌的風險。我想坐著一直看平板也一樣吧!
【可能的危險因子】
❇️出生體重和兒童肥胖
研究顯示兒童時期和青春期的肥胖跟大腸癌的發生有關。甚至有研究指出出生時的體重大於4000克的嬰兒危險最高。
❇️使用抗生素
常用抗生素會改變腸道菌相,使用15-30天,風險增加約8%;抗生素使用30天或以上,風險增加約15%。研究是回溯分析病例資料庫,使用殺厭氧箘的抗生素,例如盤尼西林類的藥物風險較高。不過整體來說抗生素的影響還是較輕微的,謹慎使用就好。
❇️病原菌
牙周病,聚合梭桿菌,人類乳突病毒、幽門桿菌感染等,都有研究說明跟大腸癌的發生有關,不過這些理論都還在探索中,將來應該還會有新的發現。
⁉️輪夜班
經常性的晚上工作缺乏日照會改變退身體的退黑激素(melatonin)濃度,這個荷爾蒙會因為光線而改變,有一些研究認為上夜班會增加大腸癌發生。
❇️接受特定的癌症治療
例如罹患前列腺癌、睾丸癌的病患有接受放射治療,早期的放射線不像現在這麼精準,多少會照射到直腸導致正常細胞病變。現在的治療方式會不會增加直腸癌風險,仍在研究中。
其中我比較有感的是抽煙,我遇到的幾位不到50歲得到大腸癌的病患,不是自己本身有抽煙,就是會吸到來自配偶或父親的二手煙。所以抽煙不是只有自己容易得肺癌或心血管疾病,也可能間接造成親友生病,為了家人應該要多想一想啊~
天氣很熱冷,感謝貼心的同事,贈送熱呼呼的蔥油餅,祝大家新年快樂!
polycyclic aromatic hydrocarbons 在 蘇怡寧醫師愛碎念 Facebook 的最佳解答
烤肉的煙是否會對胎兒造成影響?
來函照登
=================================
蘇醫師您好,想詢問烤肉的煙是否會對胎兒造成影響,先謝謝蘇醫師的回覆
=================================
這位媽咪很應景呢
中秋節烤肉之餘也不忘關心寶寶的健康
很好
這樣說好了
這世界從來就不是非黑即白的
你一定知道吃魚好處多多因為魚肉含有豐富的各種營養素但別忘了要適量攝取大型掠食性魚類以避免重金屬的風險
烤肉吃起來真的很爽
但不可否認烤肉的煙確實是對身體有害的
而最主要的就是煙裡面的一些物質會有致癌風險
這裡面目前大家比較了解的最主要是一種叫做多環芳香烴( Polycyclic aromatic hydrocarbons )簡稱 PAHs 的有機化合物
只是
很遺憾的
不只烤肉的煙有這種東西
只要含碳物質在不完全燃燒的狀況之下也都會產生
簡單說就是
你煮飯
你抽煙
點香燒蠟燭燒金紙等等也會出現
而且不要忘了
交通工具的廢氣排放更是戶外主要的PAHs 來源
想辦法減少暴露當然是好的
所以建議你減少不必要的暴露譬如說抽菸或是常常在家裡燒香燒金紙的
偶爾中秋節應景吃個烤肉理論上當然會增加風險那我也同意你就自己斟酌但我自己是無法抗拒承擔這個風險的畢竟我不會天天吃烤肉
但過度擔心都不要出門吸廢氣都不要煮飯那人生也失去了樂趣這樣其實好像也沒比較好
所以
簡單來說還是回到一個總量管制的概念
禍兮福之所倚,福兮禍之所伏
禍福相倚
出來江湖混總是要還的
您享受了在都市生活的便利
當然還是必須承受一些不可避免的風險
這
就是人生
不要搞得太緊張這樣人生會很累
就醬子
對了
抽菸或二手菸長期暴露對寶寶真的不好
畢竟烤肉只是偶爾吃但菸千萬不要天天抽
新同學複習一下👇👇👇
關於菸害
https://drsu.blog/2019/07/05/super190705/
關於孩童二手菸跟三手菸的暴露
https://drsu.blog/2019/07/02/super190702/
關於抽煙與懷孕
https://drsu.blog/2019/07/02/super190630/
再來聊聊菸害
https://drsu.blog/2020/05/22/super200522/
好的
各位新同學
我們有目錄
要發問前可以先找一下喔👇👇👇👇
導覽目錄在這裡
https://drsu.blog/2017/12/18/super-list/
不然
置頂文也有👇👇👇👇
https://www.facebook.com/1737494576543429/posts/1807370666222486?s=1727931221&sfns=mo
對了
有同學說我寫太多很難找
關於這點我很抱歉
可以善用搜尋功能喔👇👇👇👇
https://drsu.blog/2018/01/01/super180101/
polycyclic aromatic hydrocarbons 在 多環芳香烴(Polycyclic Aromatic Hydrocarbons, PAHs) - 經濟部 ... 的相關結果
多環芳香烴(Polycyclic Aromatic Hydrocarbons, PAHs) ... GS認證是依據德國設備安全法所制定的自願性安全測試認證。雜貨、運動用品、玩具、電子產品皆可申請。 ... <看更多>
polycyclic aromatic hydrocarbons 在 Polycyclic Aromatic Hydrocarbons (PAHs) - IDPH 的相關結果
WHAT ARE POLYCYCLIC AROMATIC HYDROCARBONS? Polycyclic aromatic hydrocarbons are a group of chemicals that occur naturally in coal, crude oil, and gasoline. PAHs ... ... <看更多>
polycyclic aromatic hydrocarbons 在 Polycyclic aromatic hydrocarbon - Wikipedia 的相關結果
A polycyclic aromatic hydrocarbon (PAH) is a hydrocarbon—a chemical compound containing only carbon and hydrogen—that is composed of multiple aromatic rings ... ... <看更多>