ทำไม บางบริษัทมีกำไร แต่ไม่ยอมจ่ายเงินปันผล /โดย ลงทุนแมน
สำหรับคนที่ลงทุนในหุ้น ผลตอบแทนจากการลงทุนจะมาจาก 2 ส่วน คือ
1. กำไรจากการขายหุ้น (Capital Gain) และ
2. เงินปันผล (Dividend)
ซึ่งโดยพื้นฐาน ทั้ง 2 ส่วนจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับเรื่องของ กำไรของกิจการเป็นหลัก
เพราะโดยทั่วไปแล้ว ถ้าบริษัทมีกำไรเติบโตมาก
ราคาหุ้นก็จะปรับเพิ่มขึ้น รวมไปถึงจ่ายเงินปันผลมากขึ้น
แต่ประเด็นของบทความนี้ก็คือ มีบางบริษัท ที่แม้ว่าจะมีกำไรมาก แต่กลับเลือกที่จะไม่จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นเลย
มีเหตุผลอะไรที่บางบริษัทแม้ว่าจะมีกำไรมหาศาล
แต่เลือกที่จะไม่จ่ายเงินปันผลออกมา
แล้วถ้าเราอยู่ในฐานะนักลงทุน เราควรหลีกเลี่ยงหุ้นที่ไม่จ่ายเงินปันผลหรือไม่ ?
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่า นักลงทุนบางส่วนที่ลงทุนในหุ้น หวังจะได้ผลตอบแทนอย่างสม่ำเสมอ เป็นประจำทุก ๆ ปี เพราะฉะนั้น นักลงทุนในกลุ่มนี้ จึงชอบมองหา บริษัทที่มีการประกาศจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น จึงอาจมีนักลงทุนจำนวนหนึ่ง
ที่มีกฎเหล็กเลยว่า จะไม่ลงทุนในบริษัทที่ไม่จ่ายเงินปันผล
ในมุมของบริษัท หลัก ๆ แล้วจะสามารถจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นได้ เมื่อในรอบปีบัญชีนั้น บริษัทมีกำไร และไม่มีผลขาดทุนสะสม
อย่างไรก็ตาม ก็มีบริษัทจำนวนไม่น้อย ที่เลือกไม่จ่ายเงินปันผล ทั้งที่บริษัทก็มีกำไร และไม่ได้ขาดทุนสะสม
ซึ่งก็มีเหตุผลที่ไม่จ่ายหลากหลายกรณี เช่น
กรณีแรก: บริษัทต้องการนำผลกำไรนั้น ไปลงทุนต่อ
การนำผลกำไรกลับไปลงทุนต่อ (Reinvesting Profits)
คือสิ่งที่หลายบริษัทเลือกทำ โดยเฉพาะถ้าบริษัทนั้น กำลังอยู่ในช่วงของการเติบโต ซึ่งต้องการทุ่มเงินลงทุนไปในโครงการต่าง ๆ
บางบริษัทเชื่อว่า การนำผลกำไรนั้นกลับไปลงทุนต่อ จะสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่า การที่ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล
ซึ่ง Netflix ผู้ให้บริการสตรีมมิงวิดีโอรายใหญ่ของโลก ก็คือกรณีศึกษาที่ดีของเรื่องนี้
เราลองมาดูผลประกอบการของ Netflix ในช่วงปี 2018-2020
ปี 2018 รายได้ 521,000 ล้านบาท กำไร 40,000 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 666,000 ล้านบาท กำไร 62,000 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 833,000 ล้านบาท กำไร 92,000 ล้านบาท
รู้ไหมว่า สิ้นปี 2020 Netflix มีกำไรสะสมมากถึง 252,000 ล้านบาท แต่ที่ผ่านมา บริษัทไม่เคยจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเลย
เนื่องจากบริษัทนำผลกำไรนั้นกลับไปลงทุนต่อในการผลิตคอนเทนต์ เช่น สร้างภาพยนตร์ สร้างแอนิเมชัน ซีรีส์ รวมไปถึงการจ่ายคืนหนี้ และซื้อหุ้นคืน
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าผู้ถือหุ้นจะไม่ได้เงินปันผล แต่มูลค่าบริษัทของ Netflix ก็ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 119,000 ล้านบาท เมื่อ 10 ปีที่แล้ว มาอยู่ที่ 8.5 ล้านล้านบาทในปัจจุบัน
หมายความว่า ถ้าเราลงทุนในหุ้น Netflix 1 ล้านบาท เมื่อ 10 ปีที่แล้ว
มาวันนี้ เงิน 1 ล้านบาทนั้นของเรา จะกลายเป็น 71 ล้านบาท
และนั่นคงไม่ทำให้ผู้ถือหุ้น Netflix มีปัญหาอะไร แม้ว่าจะไม่เคยได้รับเงินปันผลเลยก็ตาม..
กรณีที่สอง: เก็บเงินสดไว้ซื้อกิจการเป้าหมาย
อีกหนึ่งบริษัทที่ไม่จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นมานานแล้ว คือ Berkshire Hathaway ที่มีวอร์เรน บัฟเฟตต์ นักลงทุนชื่อดังระดับโลกเป็นผู้บริหารอยู่
รู้ไหมว่า ปัจจุบัน Berkshire Hathaway นั้นมีเงินสดอยู่ในบริษัทกว่า 2 ล้านล้านบาท ซึ่งการที่ Berkshire Hathaway เลือกถือเงินสดไว้มาก ๆ เหตุผลหนึ่งก็คือ เก็บเอาไว้ใช้ซื้อกิจการที่น่าสนใจ
ตัวอย่างกิจการที่ Berkshire Hathaway เข้าไปซื้อในอดีตที่ผ่านมา เช่น
ปี 2010 ซื้อหุ้น 100% ของบริษัท BNSF Railway ผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางรถไฟรายใหญ่ ที่มีเครือข่ายในทวีปอเมริกาเหนือ มูลค่ากว่า 1.5 ล้านล้านบาท
ปี 2013 ซื้อหุ้น 50% ใน The H. J. Heinz Company บริษัทแปรรูปอาหารและผลิตซอสมะเขือเทศ มูลค่ากว่า 410,000 ล้านบาท
แม้ว่าหลัง ๆ มา Berkshire Hathaway จะไม่ได้เข้าซื้อกิจการด้วยมูลค่ามาก ๆ เท่าในอดีต
แต่การที่บริษัทมีเงินสดอยู่มหาศาล ก็ทำให้บริษัทสามารถเข้าไปซื้อกิจการเป้าหมายได้ เมื่อไรก็ตามที่บริษัทต้องการ
กรณีที่สาม: ปัญหาทางการเงินของบริษัท
นอกเหนือจากการนำผลกำไรนั้นกลับไปลงทุนต่อ และเก็บเงินไว้เพื่อซื้อกิจการเป้าหมายแล้ว การที่บริษัทจะไม่จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นอาจเกิดจากปัญหาทางการเงินของบริษัทเอง
บางบริษัทแม้ว่า จะมีกำไรในบางปี แต่ก็ไม่สามารถจ่ายเงินปันผลออกมาได้ เนื่องจากบริษัทยังมีผลขาดทุนสะสมอยู่ ซึ่งตามกฎแล้ว บริษัทจะยังไม่สามารถที่จะจ่ายเงินปันผลออกมาให้ผู้ถือหุ้นได้
หรือแม้แต่กรณีที่บริษัทมีกำไรสะสม และสามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ แต่บริษัทก็อาจจะยังไม่จ่าย เนื่องจากสถานะการเงินที่ยังไม่แข็งแรง จึงเลือกที่จะเก็บเงินสดไว้ระดับหนึ่งก่อน
อ่านมาถึงตรงนี้ เราก็น่าจะพอได้ไอเดียแล้วว่า
ทำไมบางบริษัทที่มีกำไรแต่ไม่จ่ายเงินปันผลออกมาให้ผู้ถือหุ้น
เพราะว่าบริษัทเหล่านั้น ต้องการที่จะนำผลกำไรไปลงทุนต่อในธุรกิจตัวเอง ไปซื้อกิจการอื่น จ่ายคืนหนี้ ซื้อหุ้นคืน หรือแม้แต่เก็บเงินสดไว้ เพื่อรักษาสภาพคล่องทางการเงิน
ดังนั้น ก่อนที่เราจะปฏิเสธไม่ลงทุนในบริษัทที่ไม่จ่ายเงินปันผล เราต้องดูให้ดีก่อนว่า ที่บริษัทไม่ยอมจ่ายเงินปันผลนั้น เพราะอะไร หรือมีแผนเอาเงินที่ไม่จ่ายออกมาเป็นปันผลนั้น ไปต่อยอดได้ดีแค่ไหน
ถ้ามองแล้วว่า ถึงแม้บริษัทจะไม่จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น
แต่มีการเอาเงินส่วนนั้น ไปต่อยอดสร้างอนาคตที่ดีให้กิจการ
หุ้นที่เราถืออยู่ ก็สามารถมีมูลค่าที่เติบโตเพิ่มขึ้น
จนทำให้สุดท้ายแล้ว เราในฐานะผู้ถือหุ้น ก็อาจได้ผลตอบแทนจากราคาหุ้นที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน
ซึ่งถ้าผู้ถือหุ้นอยากได้เงินสดมาใช้ ก็อาจแบ่งขายหุ้นออกมาได้..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.suredividend.com/why-companies-never-pay-dividends/
-https://www.set.or.th/th/regulations/simplified_regulations/files/20200914_Dividend.pdf
-https://ir.netflix.net/financials/financial-statements/default.aspx
-https://www.investopedia.com/ask/answers/12/why-do-some-companies-pay-a-dividend.asp
-https://www.wallstreetzen.com/stocks/us/nasdaq/nflx/dividends
-https://finance.yahoo.com/quote/NFLX/balance-sheet?p=NFLX
-https://www.investopedia.com/ask/answers/021615/why-doesnt-berkshire-hathaway-pay-dividend.asp
-https://kunaldesai.blog/berkshire-hathaway-acquisitions/
同時也有117部Youtube影片,追蹤數超過15萬的網紅豐富,也在其Youtube影片中提到,主持人:陳鳳馨 來賓:丁學文 主題:一週國際經濟趨勢 📌《經濟學人》Biden’s new China doctrine 拜登的新中國主義 📌《經濟學人》從金融產業的獲利新高與 Fintech 的投資熱潮看金融產業發展 📌《經濟學人》Why investors are worried about a...
「profits」的推薦目錄:
- 關於profits 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於profits 在 Engadget Facebook 的最讚貼文
- 關於profits 在 Facebook 的最佳解答
- 關於profits 在 豐富 Youtube 的精選貼文
- 關於profits 在 Rayner Teo Youtube 的精選貼文
- 關於profits 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的最讚貼文
- 關於profits 在 Profits dream 利潤增長系統 的評價
- 關於profits 在 Facebook profits top $9bn amid whistleblower revelations 的評價
profits 在 Engadget Facebook 的最讚貼文
Address Maker is a free Android app to help make things easier for governments and non-profits.
profits 在 Facebook 的最佳解答
【一連七集,第五】哈佛知識分享: Trade-offs 如何「取捨」?
你要取得更多,就要捨棄更多。「取捨」is tough, but you have to do it!
股神巴菲特 Warren Buffett 有句名言好影響我:
"The difference between successful people and really successful people is that really successful people say no to almost everything.‘’
成功及非常成功嘅人分別就係非常成功嘅人對絕大部分事情都係 say No.
識我嘅朋友都知道,我經常講:「我乜都唔識、乜都唔買! 我只買幾千萬以下香港嘅街舖。 我唔買樓、唔買工廈、唔買商廈、唔買農地、唔買車位/骨灰龕位、唔買大灣區、英國樓、非洲農地、 火星月球。 全部都唔買,送畀我都唔要。Again … 我只買港幣五六千萬以下香港的街舖仔。 香港有十萬間,買十世我都買唔晒! 呢世我只想買一千間。」
哈佛大學教授 Michael Porter 亦講過: “Strategy is making trade-offs in competing. The essence of strategy is choosing what not to do."
策略就係要以「取捨」去競爭。 策略嘅精髓就係要知道唔做乜!
上一集講過,何謂一個好嘅策略 Good Strategy? 教授 Michael Porter 話要經得起五個 Tests:
A distinctive value proposition 獨特的價值主張
A tailored value chain 度身訂造的企業價值鏈
Trade-offs different from rivals 同競爭對手不同的「取捨」
Fit across value chain 成條企業價值鏈的活動要配合
Continuity over time 持續性、持續性,不能一時一樣
今集同你講第(3) Trade-offs different from rivals 要贏,就要有同競爭對手不同的「取捨」。
What are trade-offs?
"Trade-offs are the strategic equivalent of a fork in the road. If you take one path, you cannot simultaneously take the other." by Michael Porter
「取捨就好似去咗一個交叉路口咁, 你只可以二選其一,唔可以兩條路都行晒。」
做生意,唔係多啲,就好啲。 多啲產品、 多啲服務、多啲客戶, 唔代表你就係好啲。 因為你營業額可能多咗三成, 但利潤反而可能無咗一半。 咁我就情願營業額細啲,利潤多一倍好過。 記住一開始嘅時候我話 Michael Porter 講過:
"Competition is not about being the BEST, not about MARKET SHARE. Competition is about being UNIQUE, about earning PROFITS" by Michael Porter
競爭唔係要做到最好,最大嘅市佔率。競爭係要做到最獨特,同埋賺到錢,長遠地賺錢。
幾年前我講過,香港週街都係髮廊,但點解有間特別唔同?
video …
QB House (Quick Barber) 就係做咗好多「取捨」 trade-offs , 好多嘢唔做,但反而吸引咗一班想「快、靚、正」 ,但又唔想求求其其、 污糟邋遢剪個頭髮嘅繁忙上班一族, most likely 男士們、三四五十歲左近。10 minutes, just cut!
QB House 專注培訓、建立系統,令呢班目標顧客群由原本一兩三個月先剪個頭髮,而家一兩三個星期就去剪轉一轉。 剪快咗、剪多咗,就令QB House 同佢嘅髮型師雖然做少咗嘢,但反而收入及利潤上升。This is what I call "trade-offs", LESS IS MORE!
就係因為 QB House 嘅 Trades-offs 同一般髮廊嘅競爭對手唔同,當初首創新嘅經營模式係日本做到最獨特, 亦都解釋咗點解佢1996年由東京一間開始, 短短幾年間就能夠開到全球幾百間分店,2018年仲係東京証交所主板上市, 依家市值近20億港幣。 雖然有好多人想抄佢,QB House 嘅專注,佢 make 嘅 trade-offs 至今依然令佢每年生意額都上升,到今日都保持住係「速剪」行業嘅領導地位。
我成日都話,「當你乜都做,等如你乜都唔做!」 …. 因為你無樣嘢做得好、無樣嘢做得專。When you please everybody, you please nobody. 做生意要「取捨」,唔放手,唔會得到更多。
可能你會覺得 Just-Cut, QB House 都做咗啦。 做髮廊仲可以點變? 根據 Michael Porter,大把方法變。 最緊要就係,唔係人做你做。Your trade-offs have to be different from your rivals, then you have a strategy.
你嘅「取捨」要同你競爭對手唔同,咁你就有好策略。人哋 Just-Cut, 咁你可唔可以 Just Perm 電髮? Just Color 染髮? Just Blow Dry 吹頭?
唉! Just Blow Dry? 美國加州有間咁嘅髮廊 …
佢就好似係 QB House 嘅翻版,但係 No Cuts No Color, Just Blowouts. 齋吹頭! 美金$40,45分鐘時間,班目標顧客群,即係長頭髮嘅二三四五十歲女士們, 就可以 enjoy 喺個輕鬆嘅環境洗下頭、按下頭、吹下頭、飲杯 champagne、聽下音樂、Relax 下,就有個清神爽利嘅頭見人!
因為做得夠專,懂得運用 Michael Porter 所指嘅 trade-offs ,同一般髮廊競爭對手唔同嘅 trade-offs, 好多女士就個個禮拜去幫襯,relax relax 下。2010年由美國加州第一間店開始, 十年間,全美開超過一百間分店, 擁有超過5000個髮型師, 每次美金$40,每個月幫緊20萬個客人吹頭。 淨係吹頭,依家營業額每年超過一億美金。
全球最大嘅傢俬公司,IKEA, 又係另一個Michael Porter 所指 Trade-Offs 嘅典型例子。佢由產品設計 (自己裝嵌)、產品種類 (簡單得來又多幾樣選擇)、 自己推住架車嘅購物模式、至到客戶服務 (間舖頭永遠唔易搵到人幫手,人客自己搞掂,慳番啲成本,換取平啲價錢),到最後排隊畀錢、自己包裝、抬件貨返屋企 …. 如果唔係送貨要額外收費 (無得免費)。IKEA 成條嘅企業價值鏈 value chain 都係同其他一般嘅傢俬公司好唔同,有好唔同嘅 Trade-offs 取捨。
IKEA 嘅「取捨」,就能夠吸引咗一班 “with a thin wallet" 想價錢平,但又想 good design, 唔介意自己辛苦做多啲, 工餘時間,甚至乎自己花成日裝嵌埋嘅顧客。IKEA 明白佢唔會 serve 晒所有人。 我以前係美國讀大學、 或者啱啱出嚟 New York 做嘢,都好鍾意去 IKEA 買嘢,因為平! 而家? 叫我花成日嵌件傢俬,睬你都傻! I was an IKEA Customer, but not anymore! It's OK, you cannot please everybody! 做生意就係個「取捨」! 賺到錢就得啦。
美國最賺錢嘅航空公司 Southwest Airlines 西南航空都係一樣,No first class, No meals, No assigned seats, No baggage transfer, No planes other than Boeing 737s, No International Flight … so on and so forth.
無頭等、無飛機餐、無預設定座位、無行李轉運 、除咗波音737乜嘢客機都無、無國際航線。 仲有好多都比一般其他航空公司無。
但就係因為「冇」, 運動複雜程度及成本下降,Southwest 就可以專注做以下幾樣嘢特別好,就係「平」、「快」、「準時」、員工做得開心自然服務態度更好。其他乜都無, 但未必個個客人都啱!
於是 Southwest 有個好出名嘅 "Pen Pal" 故事,就有位乘客 Mrs. Crabapple, 經常好唔滿意 Southwest Airlines 乜都冇,無頭等、無飛機餐、無預設定座位、無行李轉運等等等等, 經常寫信去 Southwest 投訴,呢個「筆友」"Pen Pal" 個個客戶服務部同事都怕咗佢, 寫完又寫, 回覆左又寫,投訴完又投訴。 直至客戶服務 部嘅同事們都冇計, 叫當時嘅CEO/創辦人 Herb Kelleher 回覆。佢點寫? 真人真事! 60秒內,佢回覆:
“Dear Mrs. Crabapple. We will miss you. Love, Herb." 即係話,請佢走, 唔好再返來!
聽落好似好搞笑,但Michael Porter 話呢個係一個典型嘅 trade-offs 例子,you cannot please everyone. 記住,一開始嘅時候,我講過:
"Strategy is making trade-offs in competing. The essence of strategy is choosing what not to do." by Michael Porter.
策略就係要以「取捨」去競爭。 取捨嘅精髓就係要知道唔做乜!
"When you try to offer something for everybody, you tend to relax the trade-offs that underpin your competitive advantage." by Michael Porter.
當您嘗試做曬所有嘢去服務每一個人,你嘅「取捨」就會減少, 同時亦都會減少你嘅競爭優勢。
善用 Trade-offs 「取捨」去增強自己競爭力嘅機會隨處都係,爭在你願唔願意「放手」,先能夠取得「更多」。
包括我自己在內, 如果我乜嘢地產項目都投資,有賺錢就買, 甚至乎集資錢多地盤都搞埋, 我只係一個三四流嘅地產發展商。 我點同新鴻基/恒基/長實打呢? 但我專注幾千萬以下嘅香港街舖,我就係一個一流嘅商舖基金公司, 全香港人, 包括所有大嘅地產發展商,係街舖買賣都唔會夠我來。 社運/肺炎後,全香港買賣舖無人夠我哋多,呢個係事實!
"Trade-offs are choices that make strategies sustainable because they are not easy to match or to neutralize." by Michael Porter.
「取捨」會令到策略更有持續性,因為競爭對手 好難去複製或抵消你嘅優勢。特別是你嘅 first mover advantage 先行者優勢。
我係香港第一個商舖基金,就永遠都係香港第一個商舖基金。只我哋專注,未來幾十年,我知道係香港嘅街舖,無人會動搖到我哋嘅領導地位。
即是有人入嚟炒,Michael Porter 話新入嚟嘅 「模仿者」好多時都只係做 Straddling 跨騎, 即係好似「一腳踏兩船」咁, 自己本身嘅本業又做,商舖又做,結果兩邊都做唔「專」。
就係因為有自信我先咁講。因為好似今集一開始咁講,根據 Michael Porter 嘅 "Trade-offs different from rivals", 我哋係放棄咗好多嘅嘢,同競爭對手大大唔同,先能夠建立到我哋今日係香港街舖嘅領導地位。 只要我哋專注,我哋嘅基金投資者會賺錢! I know it. 但如果有一日,我開始搞工廈、搞商廈、搞地盤、搞英國樓、搞埋茶餐廳、 補習社 、 酒樓、酒店等, 就係投資者應該攞錢走嘅時候! 乜都做,就開始等如乜都唔做!
你呢? What are your trade-offs? 你的「取捨」同競爭對手有咩唔同呢? 抑或人做你做,人客想要乜,你就俾佢乜呢?
There is no problem with that! 第一集一開始我就話,99%嘅公司都係咁,養家活兒可能好多年都冇問題, 但根據 Michael Porter,你只係停留係第二個 S - Sustaining 持續緊嘅階段。 做好多年,搵到食,但可能仍然冇人識你,無突破。Survive, Sustain, 但要去到第三個 S, Succeed, I mean Super Successful 好似一支箭咁標上去,等如以上 QB House, DryBar, IKEA, Southwest Airlines 咁,你就要有 strategy 策略。 你嘅「取捨」trade-offs 要同競爭對手截然不同。
李小龍嘅名言,亦都係掛喺我公司office嘅唯一名言: "I fear not the man who has practiced 10,000 kicks once, but I fear the man who has practiced one kick 10,000 times."
李小龍唔怕嗰啲踢過一萬種唔同腳法嘅人。但佢怕嗰啲踢過一種腳法一萬次嘅人。 你嘅腳法又點呢? 有興趣一齊研究下點做? 聽多啲 Michael Porter,就來我星期六嘅早餐會啦! 下集我再同你講 (4) Fit across value chain 成條企業價值鏈的活動,如何配合去增強你的競爭優勢?
。。。。。
My hobby 《星期六早餐會》!
九/十月份早餐會 Topic: Applying "Michael Porter" to your business: How to compete and win!
哈佛分享: 如何應用「米高波特」於你盤生意? 點競爭? 點贏?
講起哈佛策略教授, 無人出名過 Michael Porter. 有幸我2017年在哈佛親身上過他教的課程, 今次早餐會同你分享,希望對你做生意亦有所啟發。
有興趣參加啦 😃 每次限四位 (包括我)。 人多傾唔到計。
9月份,逢星期六早上9時開始,約三小時。地點中環。
對象: 中小企老闆/創業者/公司管理層,連我限4位。
有興趣參加的話,請 whatsapp 你的名片給 Suki (我助手) (+852) 5566 1335。
我唔係靠呢行搵食,免費,我請食早餐 😉 Be friends ..... 有機會到時見你。李根興 Edwin
www.edwinlee.com.hk
www.bwfund.com
聯絡李根興 whatsapp (+852) 90361143
#michael_porter #競爭策略
profits 在 豐富 Youtube 的精選貼文
主持人:陳鳳馨
來賓:丁學文
主題:一週國際經濟趨勢
📌《經濟學人》Biden’s new China doctrine 拜登的新中國主義
📌《經濟學人》從金融產業的獲利新高與 Fintech 的投資熱潮看金融產業發展
📌《經濟學人》Why investors are worried about a profits squeeze in 2022 為什麼投資者擔心 2022 年的利潤縮水
📌《經濟學人》China’s「dreamchild」is stealthily winning the battery race 談中國電池巨頭寧德時代的崛起
節目時間:週一至週五 7:00-9:00am
本集播出日期:2021.07.21
#陳鳳馨 #TheEconomist #一週國際經濟趨勢
🔔 圖片取自:The Economist
https://www.economist.com/weeklyedition/2021-07-17
📣 更多 #財經起床號 專題影音:https://bit.ly/2QvBR55
🔍 馨天地
Apple Podcast:https://apple.co/3uVbXdQ
Google Podcast:https://reurl.cc/O0VrrA
KKBOX:https://bit.ly/3bezcYP
-----
▍九八新聞台@大台北地區 FM98.1
▍官網:http://www.news98.com.tw
▍粉絲團:https://www.facebook.com/News98
▍線上收聽:https://pse.is/R5W29
▍APP下載
• Apple App Store:https://news98.page.link/apps
• Google Play:https://news98.page.link/play
▍YouTube頻道:https://www.youtube.com/user/News98radio
▍Podcast
• Himalaya:https://www.himalaya.com/news98channel
• Apple Podcast:https://goo.gl/Y8dd5F
• SoundCloud:https://soundcloud.com/news98
profits 在 Rayner Teo Youtube 的精選貼文
In this stock trading video, you'll learn:
1. When to stay in the markets—and when to stay out so you can avoid big losses
2. How to identify the best levels to trade so you can find low risk and high reward trading opportunities
3. How to time your entry with precision so you enter only when the market is about to turn in your favor
4. How to cut loss like a pro so you don’t blow up your trading account
5. When to take profits so you don’t lose everything due to greed
Sounds good?
Then go watch it now...
** FREE TRADING STRATEGY GUIDES **
The Ultimate Guide to Price Action Trading: https://www.tradingwithrayner.com/ultimate-guide-price-action-trading/
The Monster Guide to Candlestick Patterns: https://www.tradingwithrayner.com/candlestick-pdf-guide/
** PREMIUM TRAINING **
Pro Traders Edge: https://www.tradingwithrayner.com/pte/
Pullback Stock Trading System: https://pullbackstocktradingsystem.com/
Price Action Trading Secrets: https://priceactiontradingsecrets.com/
profits 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的最讚貼文
Twitch傳送門: https://www.twitch.tv/otakuarmy2
今天來冒著被罰三百萬的風險來談談疫苗的真相吧,說實話我就不懂到底疫苗有甚麼不能談的,還要上午開個記者會罵人假訊息,那些假訊息無礙防疫啊?你到底注重的是政權還是抗疫啦?
根據今天聯合報的報導:【台灣疫情爆發,疫苗緊缺,曾一度與我失之交臂,代理德國BioNTech公司的上海復星醫藥集團昨天表示,願意將擁有獨家商業權益的疫苗,提供給台灣,加強台灣防疫。中央流行疫情指揮中心指揮官陳時中表示,現在大家都一直在放話,但一直沒接到任何正式的訊息,藥品輸入需經審核程序。】ㄟ不是,感覺我國的CDC對上海復星特別壞,COVAX的疫苗難道不是我國官方主動去申請的嗎?MODERNA的疫苗難道不是我國主動去申請購買的嗎?AZ疫苗難道不是我國官方主動去申請購買的嗎?怎麼就上海復星的疫苗是他們或是國內的廠商需要主動跟CDC申請?這樣不是又雙重標準嗎?
然後我國知名的以八千元就在台北市跟民進黨發言人租到一間房子的王定宇又在臉書做夢說話了,ㄟ不是,立法委員發言有免責權喔,你幹嘛那麼膽小害怕還要跟一般老百姓一樣躲躲閃閃用作夢的?根據新頭殼的報導:【王定宇更在文中指出,「夢中浮出來的畫面,這支快過期疫苗名為「復必泰」,是中國復星醫藥和德國BioNTech合作生產的核糖核酸(mRNA)疫苗,這個疫苗又叫「BNT」。」他直言,在上海復星、國台辦、到藍紅政客、特定媒體的話術中,這支疫苗卻成了特別慈悲要給台灣購買的疫苗,「……網路上出現了很多沈睡一陣子的帳號,都在鼓吹台灣應該買『上海復星』的『BNT』,否則就是意識形態作祟!」】
王定宇這樣說我就不理解了,台灣目前很需要疫苗,就跟在沙漠中迷路的人需要喝水一樣。你要不要買BNT疫苗跟你是不是需要有關,國台辦跟紅藍營甚麼鬼的講甚麼話哪有甚麼關係,跟香港人要不要有甚麼關係?只要CDC審核通過,AZ疫苗我們不是也拿一堆即期品,還不知道這次打不打得完咧。而且更重要的是,這批疫苗是百分之百在德國製造,由美商在德國封裝,空運到亞洲來的,我們也沒有因為王定宇租到很便宜的房子還嫌太貴,因此就把你的話當放屁啊?全世界都在搶疫苗,台灣搶不到,現在有疫苗還不爽用,台灣疫情有沒有這麼輕鬆啊?你不買才是意識型態作祟吧,不然胖胖王定宇委員不要打,給胖胖朱學恒打,十倍價錢我也願意。
而且更重要的是,打了以後有國際免疫認證,可以出國啊!台灣的國產疫苗並沒有! 楊哲銘/台北醫學大學醫務管理學系教授今天在蘋果新聞網的投書:【美國批准的第一個新冠肺炎疫苗是BNT疫苗,批准的日期是2020年12月11日;第二個是莫德納,批准的日期是2020年12月18日;第三個是嬌生,批准的日期是2021年2月27日。歐盟批准的第一個疫苗也是BNT疫苗,批准的日期是2020年12月21日,目前核准的還有莫德納、嬌生跟AZ。WHO核可緊急使用(emergency use listing)的第一個疫苗也是BNT,批准的日期是2020年12月31日,目前核准的還有莫德納、嬌生、AZ、跟中國大陸的國藥疫苗(Sinopharm)。】
下面我花點時間介紹上海復星跟BNT這次合作的過程,我花了很多時間查,一毛錢都沒有拿到BNT或是上海復星的錢,又要說我中共同路人的傢伙記得把錢補給我好嗎?
這是2020年3月16日發自德國法蘭克福的路透社消息: 【China’s Fosun will pay BioNTech up to $135 million in upfront and potential future investment and milestone payments for development achievement, BioNTech said, adding that the two companies will share future gross profits from the sale of the vaccine in China.Fosun will also take a 0.7% stake from new shares in BioNTech for $50 million.】
而當時,BioNTech的信使核糖核酸(mRna)疫苗根本連人體實驗都沒開始,是否能取得授權都在未定之天,所以等於上海復星冒了一個很有可能血本無歸的風險,先投資五千萬美金買下1,580,777 BioNTech的普通股,也就是0.7%的股權,然後準備付出最多一億三千五百萬美金的費用,也就是額外付出八千五百案美金來購買一億劑的BioNTech疫苗給大中華區使用。然後今年五月十二號,雙方又更密切的合作了,上海復星投資一億美金跟BioNTech在中國合資建造生產設施,預計每年可以生產十億劑疫苗,而如果有額外的mRNA疫苗生產,也可以納入投資協議之中。
簡單來說,上海復星早在疫情剛爆發的三月,就特別遠赴美國(報導寫美國不知道為何不是德國)跟BioNTech在研發疫苗的非常早期就簽訂了投資協議,而且入股BioNTech成為股東,這個疫苗完全有可能徹底失敗,但他們冒了這個風險,而且賭贏了。正所謂早買早享受,晚買不一定有折扣。
而根據香港當地在2020年8月27日發布的消息:【Jacobson Pharma Collaborates with Fosun Pharma Group to Supply Potentially 10 Million Doses of BioNTech SE’s COVID-19 Vaccine Candidate in Hong Kong and Macau】雅各臣這家公司(知名產品有保濟丸等等)簽署了在港澳地區代理BNT疫苗的意向書。這也是為什麼台灣想要購買BNT疫苗時,後來會有雅各臣傳聞中的介入的原因,但其實雅各臣是BNT跟上海復星的小弟啊。
後面的故事呢,吳子嘉董事長都講過啦哈哈哈~~~~
阿宅萬事通語錄貼圖上架囉 https://reurl.cc/dV7bmD
【加入YT會員按鈕】 https://reurl.cc/raleRb
【訂閱YT頻道按鈕】 https://reurl.cc/Q3k0g9
購買朱大衣服傳送門: https://shop.lucifer.tw/
成為這個頻道的會員並獲得獎勵:
https://www.youtube.com/channel/UClQ5uf3vMejw6-BalB-xeOg/join
profits 在 Facebook profits top $9bn amid whistleblower revelations 的推薦與評價
Facebook's profit topped $9bn during its most recent financial quarter, clearing investor predictions even as the company faces an onslaught ... ... <看更多>
profits 在 Profits dream 利潤增長系統 的推薦與評價
Profits Dream 系統,是由一班擁有專注產品銷售和網絡行銷經驗團隊組成的「成長駭客Growth hacker」團隊。只專注為企業和新創公司短時間高速增長,以盈利和轉換為首要 ... ... <看更多>