💡 หลาย ๆ คนที่เขียน Python มาสักพักแล้ว หรือบางคนเพิ่งเริ่มเขียน อาจจะยังไม่รู้จักการใช้งาน Iterator และ Iterable กันสักเท่าไหร่ หรือบางคนอาจจะใช้งานอยู่แล้ว แต่ยังไม่รู้ความหมายของมัน…
.
🔥 วันนี้แอดมาสรุปการใช้งาน Iterator และ Iterable มาให้เพื่อน ๆ อ่าน จะได้กระจ่างกันเลยว่าทั้งสองเนี่ยมันคืออะไร ใช้งานยังไง ถ้าพร้อมแล้วไปอ่านกันเลยยยยย!!
.
Iterable - Object ที่สามารถวนซ้ำได้ (List, Tuple, และ Strings ก็เป็น Iterable)
Iterator - ตัวที่ใช้วนซ้ำ
.
ประกอบด้วย Methods ดังนี้
🔹 __iter __ () - ใช้สร้าง Iterator เพื่อวนซ้ำใน Iterable
🔹 __next __ () - ใช้ดึงข้อมูลออกจาก Iterable
.
⚙️ การใช้งาน
iter() จะทำการสร้าง Iterator เพื่อกำหนดการวนซ้ำให้กับ Iterable จากนั้น และ next() จะดึงข้อมูลใน Iterable ออกมาตามลำดับการวนซ้ำนั่นเอง
.
👨💻 ตัวอย่าง1 : ดึงค่าใน Iterable ออกมาตามลำดับ Index
fruit = ["Apple", "papaya", "banana", "orange"]
iterator = iter(fruit)
print(next(iterator))
print(next(iterator))
print(next(iterator))
print(next(iterator))
.
หากเรียกใช้ 'next(iterator_obj)' อีกครั้ง มันจะ Return 'StopIteration' ออกมา เพราะค่าถูกดึงออกมาครบแล้วนั่นเอง
.
📑 ผลลัพธ์
Apple
papaya
banana
orange
.
👨💻 ตัวอย่าง2 : ตรวจสอบค่าใน Object ที่กำหนดว่าเป็น Iterable หรือไม่
def iterable(y):
try:
iter(y)
return True
except TypeError:
return False
arr = [34, [24, 35], (44, 112), {"Prayut":250}]
for i in arr:
print(i, " is iterable : ", iterable(i))
.
📑 ผลลัพธ์
34 is iterable : False
[24, 35] is iterable : True
(44, 112) is iterable : True
{'Prayut': 250} is iterable : True
จะเห็นว่า 34 ไม่ได้เป็น Iterable นั่นเอง
.
💥 Source : https://www.geeksforgeeks.org/python-difference-iterable-iterator/
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
「python for return」的推薦目錄:
- 關於python for return 在 BorntoDev Facebook 的最佳解答
- 關於python for return 在 BorntoDev Facebook 的精選貼文
- 關於python for return 在 Kewang 的資訊進化論 Facebook 的最讚貼文
- 關於python for return 在 How to use a return statement in a for loop? - Stack Overflow 的評價
- 關於python for return 在 The Python return Statement: Implicit and Explicit return 的評價
- 關於python for return 在 dry-python/returns: Make your functions return ... - GitHub 的評價
- 關於python for return 在 Which style to use for unused return parameters in a Python ... 的評價
python for return 在 BorntoDev Facebook 的精選貼文
🔥 มาเช็คค่าใน List ง่าย ๆ ด้วย Any และ All กันเถอะ !!
.
👉 Any และ All เป็นฟังก์ชันในภาษา Python ที่ใช้เช็คค่าใน List และ Return ออกมาเป็น True หรือ False ซึ่งทั้งสองจะทำให้เราเขียนโค้ดได้สั้นลง โดยไม่ต้องเขียนวนลูปยาว ๆ เพื่อเช็คค่าใน List ให้ยุ่งยากเลย บอกเลยว่าสะดวกขึ้นสุด ๆ !
.
ไปดูวิธีการใช้งานของแต่ละตัวกันเลย !!
.
🔹 Any (เอาบางตัว) - จะ Return ค่ากลับมาเป็น True เมื่อมีค่าแค่บางตัวเป็น True
.
มาดูให้เห็นภาพกันเลยดีกว่า
any([true, false, false]) # Result in True
any([false, false, false]) # Result in False
.
📑 ตัวอย่าง
num = [1,2,3,4,5,6,7,8]
test = any(ans % 2 != 0 for ans in num)
print(test) # result => True
.
จากโค้ดจะเห็นว่ามันจะ Return ค่าออกมาเป็น True เพราะ มีบางค่าใน List เป็นเลขคี่ และหาร 2 ไม่ลงตัว ยกเว้น 2, 4, 6, และ 8 นั่นเอง
.
มาดู All กันบ้างจ้า !!
.
🔸 All (เอาหมด) - จะ Return ค่ากลับมาเป็น True เมื่อมีค่าทุกตัวเป็น True เท่านั้น
.
ดูชัด ๆ กันเลยจ้า
all([true, true, true]) # Result in True
all([true, true, false]) # Result in False
.
📑 ตัวอย่าง
num = [1,2,3,4,5,6,7,8]
test = all(ans % 2 != 0 for ans in num)
print(test) # result => False
.
อันนี้ใช้ตัวอย่างเดียวกันกับ Any เลย แต่จะเห็นว่า Return ค่าออกมาเป็น False เพราะมีค่าใน List ที่ไม่ได้เป็นเลขคี่ และหาร 2 ลงตัวนั่นเอง
.
เห็นไหมไม่ยากเลยย ยังไงก็ลองไปปรับใช้กับโค้ดของเพื่อน ๆ ดูน้าา 😁
💥 หรือใครอยากอ่านเต็ม ๆ คลิกลิงค์เลยจ้า >> https://www.geeksforgeeks.org/any-all-in-python/ , https://stackabuse.com/any-and-all-in-python-with-examples
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
python for return 在 Kewang 的資訊進化論 Facebook 的最讚貼文
最近 Funliday-旅遊規劃 常發一些精選旅遊回憶的 App 通知給使用者,在去年十一二月的時候發通知 Server 還能撐的了瞬時大流量的 request。
但今年開始發這類通知,總共發了三次,三次都造成 Server 被打掛,而且重開 AP 還緩解不了,瞬間手足無措。大概都要等過了十分鐘左右,Server 才將這些 request 消化完。
這裡就來簡單整理一下時間軸,順便分享一下 Funliday 是如何解決這個問題。
---
* 1/6 1900:系統排程發送精選旅遊回憶的 App 通知
* 1/6 1900+10s 開始:Server 收到極大量的 request
* 1/6 1900+20s:Nginx 出現錯誤訊息 1024 worker not enough,並回傳 http status code 503
* 1/6 1900+25s:PostgreSQL 出現錯誤訊息 could not fork new process for connection (cannot allocate memory)
* 1/6 1900+38s:Node.js 收到 PostgreSQL 的 exception。There was an error establishing an SSL connection error
* 1/6 1900+69s:PostgreSQL 出現錯誤訊息 database system is shut down
* 1/6 1900+546s:PostgreSQL 出現錯誤訊息 the database system is starting up
---
看了時間軸就覺得奇怪,先不論 10s 的時候發了極大量 request,造成 20s 在 Nginx 出現 worker not enough 的錯誤訊息。而是要關注 25s 時的 PostgreSQL 出現 could not fork new process for connection 的錯誤訊息。
Funliday 用了同時可承載 n 個 connection 的資料庫,而且程式碼又有加上 connection pool,理論上根本不該出現這個錯誤訊息。但整個時間軸看下來感覺就是 PostgreSQL 的 capacity 問題,造成系統無法運作。
因為就算將 Nginx 的 worker connection size 再加大 10 倍,只是造成 PostgreSQL 要接受的 request 也跟著被加大 10 倍,但 PostgreSQL 那裡因為 request 變多,原本在 69s 直接關機的時間點只會提早,而無法真正緩解這個狀況。
基於以上狀況,小編就開始回去看自己的程式碼是不是哪裡寫錯了。會這樣想也是覺得 PostgreSQL 應該沒這麼弱,一下就被打掛,一定是自己程式碼的問題 Orz
---
這邊來分享一下自己程式碼的寫法,圖一是原始寫法,在每個 API 都 create 一個 db client instance 來處理該 API 層的所有 db request。這是蠻單純的做法,也是 day 1 開始的處理方式。但有個小問題,就是每個 API 層都要自己 create instance,不好管理,且浪費資源。
後來因為想要做 graceful shutdown 的關係,所以調整了一下 db client instance 的建立方式,用 inject 將 instance 綁在 request 上面,如圖二。這樣只要在 middleware 建立 db client instance 就好,好管理,而且只要有 req 就可以取得 instance,非常方便。而這也是 1/6 時的程式碼,就從這裡開始研究吧。
---
直接切入 node-postgres 的文件,認真讀了一下 pool 有下面兩種使用方式:
1. pool.connect, pool.release:文件寫著 checkout, use, and return,光看描述就應該用這個沒錯。
2. pool.query:適用於不需要 pool 的連線方式,文件上也清楚寫著內部實作是直接 call client.query,所以用了這個方式是完全跟 pool 扯不上邊。
但偏偏小編從 day 1 用的就是第 2 種方式 Orz,雖然看起來應該是寫錯,但也是要修改後實測,才知道是不是真的可以解決問題。
---
如圖三,這是修改後的程式碼。想了一下子,覺得目前在 API 層使用 req.pool.query 還不錯,不想用官方的建議做法:先 create client,然後 query 之後,再使用 release。
如果照官方建議做法,API 層的程式碼會多一堆與商業邏輯無關的程式碼,也不好維護。所以在不想動到 API 層的程式碼,只能使用 monkey patch 的方式來達到這個需求。
monkey patch 可以將原方法利用類似 override 的方式,將整個方法改掉,而不改變 caller 的程式碼,這也是 JavaScript, Ruby, Python 這類動態語言的特性之一,但真的要慎用,一不小心就會把原方法改成完全不同意義的方法了。
所以原本應該要在 API 層實作 connect, query, release 一大堆程式碼,可以用 monkey patch 完美解決這一大堆程式碼。
---
在 dev 壓測後至少 capacity 可以達到原本的 4 倍以上,隔天實際上 production 之後也確實如壓測般的數據,可以承載目前的流量。
其實這篇分享的重點只有一點,文件看仔細才是最重要的事啦!如果沒把文件看仔細,然後開發經驗也不足的話,什麼 RCA、monkey patch 都幫不上忙啦!
---
後記:有夠丟臉,其實完全用不到圖三,只要把圖二的 pool creation 放到最外層就好了,因為 pool.query 的內部實作已經有做 connect, query, release 了。
感謝下面的 Mark T. W. Lin 及 Rui An Huang 的幫忙,實在是太搞笑了 Orz
* Pool 的文件:https://node-postgres.com/features/pooling
* 官方建議寫法:https://node-postgres.com/guides/project-structure
* pool.query 的內部實作:https://github.com/brianc/node-postgres/blob/master/packages/pg-pool/index.js#L332
#expressjs #nodejs #javascript #postgresql
python for return 在 dry-python/returns: Make your functions return ... - GitHub 的推薦與評價
Make your functions return something meaningful, typed, and safe! Features. Brings functional programming to Python land; Provides a bunch of primitives to ... ... <看更多>
python for return 在 How to use a return statement in a for loop? - Stack Overflow 的推薦與評價
... <看更多>
相關內容