ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๒ นั้น งานวิจัยจะต้องเผยแพร่ในวารสารวิชาการเท่านั้นหรือไม่
เมื่อวานมีการกล่าวถึงประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้ยกเลิกประกาศประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๖ และ ในประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๓ ได้กำหนดเงื่อนไขการเผยแพร่ผลงานในวารสารวิชาการ ดังนี้
๑. ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ได้แก่ ERIC, Math SciNet, Pubmed, Scopus, Web of Science (เฉพาะในฐานข้อมูล SCIE, SSCI, และ AHCI เท่านั้น), JSTOR และ Project Muse
๒.ฐานข้อมูลระดับชาติได้แก่ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index TCI) เฉพาะวารสารที่มีชื่ออยู่ในกลุ่มที่ ๑ และกลุ่มที่ ๒
(http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%๒๐journal.php)
เกิดประเด็นคำถามถึง ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๒ นั้น งานวิจัยจะต้องเผยแพร่ในวารสารวิชาการเท่านั้นหรือไม่
เมื่อได้ศึกษาเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ.เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้อธิบายคำจำกัดความของผลงานทางวิชาการ ลักษณะการเผยแพร่และผลงานทางวิชาการ ในที่นี้จะกล่าวถึง ตำรา หนังสือ และวิจัย ดังนี้
๑.ตำรา
๑.๑ ความหมาย ของตำรา หมายถึง งานวิชาการที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนทั้งวิชาหรือเป็นส่วนหนึ่งของวิชา ซึ่งเกิดจากการนำข้อค้นพบจากทฤษฎี จากงานวิจัยของผู้ขอหรือความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าศึกษามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ รวบรวมและเรียบเรียง โดยมีมโนทัศน์ (มโนทัศน์ (Concept) หมายถึง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประเภทของสิ่งต่างๆ ตามความเข้าใจของแต่ละคน เช่น เข้าใจว่าสิ่งของลักษณะเช่นใดเรียกว่า “ของแข็ง” สิ่งของลักษณะเช่นใดเรียกว่า “สิ่งมีชีวิต” สิ่งมีชีวิตลักษณะเช่นใดเรียกว่า “แมว” คนลักษณะเช่นใดเรียกว่า “วีรชน” การกระทำลักษณะเช่นใดเรียกว่า “หว่านข้าว” ตลอดจนความคิดลักษณะเช่นใดเรียกว่า “วัตถุนิยม”) ที่ผู้เขียนกำหนดให้เป็นแกนกลาง ซึ่งสัมพันธ์กับมโนทัศน์ย่อยอื่นอย่างเป็นระบบ มีเอกภาพสัมพันธภาพและสารัตภาพตามหลักการเขียนที่ดี ใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐานทางวิชาการและให้ความรู้ใหม่อันเป็นความรู้สำคัญที่มีผลให้เกิดการเปลี่ยแปลงต่อวงวิชาการนั้นๆ ดังนั้นตำรา จึงต้องเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆได้
ในประเด็นหัวข้อนี้ ได้นำมาจากการเขียนบทความวิชาการ นำมาจากงานวิจัย ถือว่าเป็นตำราที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยตำรานั้นต้องเขียนครอบคลุมตามคำอธิบายรายวิชา ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร เนื้อหาสาระของตำราต้องมีความทันสมัย เมื่อพิจารณาถึงวันที่ผู้ขอยื่นเสนอขอตำแหน่งทางวิชาการ ทั้งนี้ผู้ขอจะต้องระบุวิชาที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรที่ใช้ตำราเล่มที่เสนอขอตำแหน่งทางวิชาการด้วย ผลงานทางวิชาการที่เป็น “ตำรา” นี้อาจได้รับการพัฒนาขึ้นจากเอกสารคำสอน จนถึงระดับที่มีความสมบูรณ์ที่สุด ซึ่งผู้อ่านอาจเป็นบุคคลอื่นที่มิใช่ผู้เรียนในวิชานั้น แต่สามารถอ่านและทำความเข้าใจในสาระของตำรานั้นด้วยตนเองได้ โดยไม่ต้องเข้าศึกษาในวิชานั้น
๑.๒ รูปแบบตำรา
เป็นรูปเล่มที่ประกอบด้วย คำนำ สารบัญ เนื้อเรื่อง การอธิบายหรือการวิเคราะห์ การสรุป การอ้างอิงและบรรณานุกรม ทั้งนี้อาจมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ทันสมัยและครบถ้วนสมบูรณ์ การอธิบายสาระสำคัญมีความชัดเจน โดยอาจใช้ข้อมูล แผนภาพ ตัวอย่างหรือกรณีศึกษาประกอบจนผู้อ่านสามารถทำความเข้าใจในสาระสำคัญนั้นได้โดยเบ็ดเสร็จ
๑.๓ การเผยแพร่ตำรา
๑.๓๑ วิธีการเผยแพร่ มีวิธีการเผยแพร่ ดังนี้
๑.การเผยแพร่ด้วยวิธีการพิมพ์ โดยโรงพิมพ์ (PRINTING HOUSE) หรือสำนักพิมพ์ (PUBLISHING HOUSE) หรือ โดยการถ่ายสำเนาเย็บเป็นรูปเล่มหรือทำในรูปแบบอื่นๆ
๒.การเผยแพร่โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ตัวอย่างเช่น การเผยแพร่ในรูปของซีดีรอมฯลฯ
๑.๓.๒ เงื่อนไข
๑.การเผยแพร่ดังกล่าวนั้น จะต้องเป็นไปอย่างกว้างขวางมากกว่าการใช้ในการเรียนการสอนวิชาต่างๆ ในหลักสูตรเท่านั้น จำนวนพิมพ์เป็นดัชนีหนึ่งที่อาจแสดงการเผยแพร่อย่างกว้างขวางได้ แต่อาจใช้ดัชนีอื่นวัดความกว้างขวางในการเผยแพร่ได้เช่นกัน
๒. การเผยแพร่ต้องได้รับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพร่จากคณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรือสถาบันทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชานั้น และต้องใช้ในการเรียนการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า หนึ่ง ภาคการศึกษา
๒. หนังสือ
๒.๑ ความหมายของหนังสือ
หนังสือ คือ ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคง และให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ และ/หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่อง มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงในเชิงเนื้อหาและครอบคลุม โดยไม่จำเป็นต้องสอดคล้องหรือเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตรหรือของวิชาใดวิชาหนึ่งในหลักสูตร และไม่จำเป็นต้องนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง ทั้งนี้เนื้อหาสาระของหนังสือต้องมีความทันสมัย เมื่อพิจารณาถึงวันที่จัดพิมพ์
๒.๒ รูปแบบหนังสือ
เป็นรูปเล่มที่ประกอบด้วย คำนำ สารบัญ เนื้อเรื่อง การวิเคราะห์ การสรุป การอ้างอิงและบรรณานุกรม ทั้งนี้อาจมีอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ทันสมัยและครบถ้วนสมบูรณ์ การอธิบายสาระสำคัญที่มีความชัดเจน โดยอาจใช้ข้อมูล แผนภาพ ตัวอย่างหรือกรณีศึกษาประกอบจนผู้อ่านสามารถทำความเข้าใจในสาระสำคัญนั้นได้โดยเบ็ดเสร็จ
๒.๓ การเผยแพร่หนังสือ
๒.๓.๑ วิธีการเผยแพร่
มีวิธีการเผยแพร่ ดังนี้
๑.การเผยแพร่ด้วยวิธีการพิมพ์ โดยโรงพิมพ์ (PRINTING HOUSE) หรือสำนักพิมพ์ (PUBLISHING HOUSE)
๒. การเผยแพร่โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ตัวอย่างเช่น การเผยแพร่ในรูปของซีดีรอม ฯลฯ
๒.๓.๒ เงื่อนไข
๑.การเผยแพร่ดังกล่าวนั้น จะต้องเป็นไปอย่างกว้างขวางมากกว่าการใช้ในการเรียนการสอนวิชาต่างๆ ในหลักสูตรเท่านั้น จำนวนพิมพ์เป็นดัชนีหนึ่งที่อาจแสดงการเผยแพร่อย่างกว้างขวางได้ แต่อาจใช้ดัชนีอื่นวัดความกว้างขวางในการเผยแพร่ได้เช่นกัน
๒. การเผยแพร่ต้องได้รับการตรวจสอบและรับรองการเผยแพร่จากคณะกรรมการของสถาบันอุดมศึกษา คณะ และ/หรือสถาบันทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชานั้น และต้องเผยแพร่สู่สาธารณชนมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่เดือน
เมื่อได้มีการพิจารณาประเมินคุณภาพของ “หนังสือ” ไปแล้ว การนำ “หนังสือ” นั้นไปแก้ไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเนื้อหาใน “หนังสือ” เพื่อนำมาเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการและให้มีการประเมินคุณภาพ “หนังสือ” นั้นอีกครั้งหนึ่งอาจกระทำได้ แต่จะต้องทำการเผยแพร่ “หนังสือ” นั้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง
๓.งานวิจัย
๓.๑ ความหมายของงานวิจัย คือ ผลงานทางวิชาการที่เป็นงานศึกษาหรืองานค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยวิธีวิทยาการวิจัยที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล คำตอบหรือข้อสรุปรวมที่จะนำไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเอื้อต่อการนำวิชาการนั้นไปประยุกต์
๓.๒ รูปแบบวิจัยที่เผยแพร่
อาจจัดได้เป็น ๒ รูปแบบ ดังนี้
๓.๒.๑ รายงานการวิจัย
รายงานวิจัย ที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์และชัดเจนตลอดทั้งกระบวนการวิจัย (Research Process) อาทิ การกำหนดประเด็นปัญหา วัตถุประสงค์ การทำวรรณกรรมปริทัศน์ สมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การพิสูจน์สมมติฐาน การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลสรุปผลและให้ข้อเสนอแนะ การอ้างอิง และอื่นๆ
๓.๒.๑ บทความวิจัย
บทความวิจัย ที่ประมวลสรุปกระบวนการวิจัยในผลงานวิจัยนั้น ให้มีความกระชับและสั้น สำหรับการนำเสนอในการประชุมทางวิชาการ หรือในวารสารทางวิชาการ
๓.๓ การเผยแพร่งานวิจัย
เผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้
๓.๑.๑ เผยแพร่ในรูปของบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ ทั้งนี้วารสารทางวิชาการนั้น อาจเผยแพร่เป็นรูปเล่มสิ่งพิมพ์หรือเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีกำหนดการเผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน
๓.๑.๒ เผยแพร่ในหนังสือรวมบทความวิจัยในรูปแบบอื่นที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพ
๓.๑.๓ นำเสนอเป็นบทความวิจัยต่อที่ประชุมทางวิชาการ ซึ่งภายหลังจากการประชุมทางวิชาการได้มีการบรรณาธิการและนำไปรวมเล่มเผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) ของการประชุมทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ
๓.๑.๔ การเผยแพร่รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่มีรายละเอียดและความยาว ต้องแสดงหลักฐานว่าได้ผ่านการประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิและแสดงหลักฐานว่าได้เผยแพร่ไปยังวงวิชาการและวิชาชีพในสาขาวิชานั้น และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศอย่างกว้างขวาง
เมื่อได้เผยแพร่ตามลักษณะข้างต้นและได้มีการพิจารณาประเมินคุณภาพของ “งานวิจัย” นั้นแล้ว การนำ “งานวิจัย” นั้น มาแก้ไขปรับปรุงหรือเพิ่มเติมส่วนใด ส่วนหนึ่ง เพื่อนำมาเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ และให้มีการประเมินคุณภาพ “งานวิจัย” นั้นอีกครั้งหนึ่งจะกระทำไม่ได้
แต่อย่างไรก็ตามถ้าดูประกาศ การยื่นตำแหน่งทางวิขาการ ในอนาคต ที่มีผลบังคับใช้ ๑ พ.ย. ๒๕๖๑ บทความทางวิชาการไม่สามารถนำไปขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ได้ แต่สามารถประกันคุณภาพได้ สามารถ นำไปรวบรวมเป็นหนังสือและสามารถนำไปใช้ขอตำแหน่งทางวิชาการได้ ดังนั้นการเขียนหนังสือ ที่มาจากการเขียนบทความนำมารวบรวมวิเคราะห์สังเคราะห์ โดยนำมาเรียงร้อยเป็นเรื่อง เป็นบท เชื่อมโยงกัน เป็นหนังสือมักจะเป็นหนังสือที่มีคุณภาพ ซึ่งในปัจจุบันจะมีคนเขียนหนังสือในลักษณะนี้มีอยู่มากและเป็นที่นิยมในสายสังคมศาสตร์ แต่ยกเว้น เฉพาะสายสังคมศาสตร์ให้บทความวิชาการกับงานวิจัยสามารถขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ได้
สรุป
ดังนั้นสรุปได้ว่า ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๒ นั้น นี้มีผลบังคับใช้เฉพาะในเรื่องการเผยแพร่งานวิจัยในวารสารเท่านั้นที่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขตามประกาศนี้
ส่วนการเผยแพร่ นำเสนอเป็นบทความวิจัยต่อที่ประชุมทางวิชาการ ซึ่งภายหลังจากการประชุมทางวิชาการได้มีการบรรณาธิการและนำไปรวมเล่มเผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) ของการประชุมทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ หรือ การเผยแพร่รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่มีรายละเอียดและความยาว ต้องแสดงหลักฐานว่าได้ผ่านการประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิและแสดงหลักฐานว่าได้เผยแพร่ไปยังวงวิชาการและวิชาชีพในสาขาวิชานั้น และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศอย่างกว้างขวาง ไม่ได้อยู่ภายใต้การบังคับของประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๒
ssci journal list 在 李世淦-屏東縣議員 Facebook 的最佳貼文
徵才機關
國立屏東科技大學
人員區分
教育人員
官職等
職稱
專任教師(森林/企管/農企/餐旅)
職系
名額
4
性別
不拘
工作地點
90-屏東縣
有效期間
107/06/26~107/08/20
資格條件
國立屏東科技大學107學年度第2學期徵聘「專任教師」公告 (自108年2月1日起聘) 公告日期:107年06月26日 ◆徵聘單位:森林系 ◆徵聘職稱:助理教授 ◆名額:1 ◆一般資格條件:具教育部認可之相關領域國、內外博士學位或具助理教授教師資格證書者。 ◆專長領域或特殊資格條件(含研究著作要求): 一、具備森林測計學、森林航空攝影測計學、森林地理資訊系統等之專業領域師資。 二、具英語授課能力。 三、具備三年以上之全職實務工作經驗。 ◆Department:Department of Forestry ◆Position:Assistant Professor ◆Vacancy:1 ◆General Requirement:The Ph.D. degree recognized by the Ministry of Education of the R.O.C. in relevant fields is required or an experience as an assistant professor with an official teaching certificate. ◆Specialization or Special Qualification(research and publication requirement included): 一、Professional fields should have the abilities to teach the courses of Forest Measurement, Photogrammetry and Measurement in Forest, and Geographic Information System in Forest. 二、The applicant should have the ability to teach in English. 三、The applicant should have at least 3-year working experience in industries. ================================================================== ◆徵聘單位:企業管理系 ◆徵聘職稱:助理教授(含)以上 ◆名額:1 ◆一般資格條件:具教育部認可之相關領域國、內外博士學位或具助理教授以上教師資格證書者。 ◆專長領域或特殊資格條件(含研究著作要求):一、數位行銷或服務科學。 二、須具備三年以上之全職實務工作經驗,具國際產業合作鏈結經驗尤佳。 三、須具有英文授課能力。 ◆Department:Department of Business Administration ◆Position:Assistant Professor(above) ◆Vacancy:1 ◆General Requirement:The Ph.D. degree certified by the Ministry of Education of R.O.C. in relevant fields or an experience as an assistant professor (or above). ◆Specialization or Special Qualification(research and publication requirement included): 一、Specialized in digital marketing or service science. 二、Required at least three years full-time practical work experiences, industry related international experiences preferred. 三、Must be able to teach in fluent English. ==================================================================
工作項目
◆徵聘單位:農企業管理系 ◆徵聘職稱:助理教授(含)以上 ◆名額:1 ◆一般資格條件:具教育部認可之國內、外相關系所博士學位或助理教授以上教師資格證書者。 ◆專長領域或特殊資格條件(含研究著作要求): 一、具備休閒農業或農產品行銷與貿易為專長領域者。 二、具備農企業相關業界三年以上全職實務經驗(自碩士畢業起計算)、良好產業關係、及能全英文授課與指導外籍學生專題、論文之研究與寫作者尤佳。 三、具備國際交流經驗,並且曾執行跨國研究計畫者尤佳。 四、檢具履歷、修課成績(含大學、碩士、博士)、近五年著作與研究計畫案目錄、未來五年研究發展方向或構想、曾任教科目與可任教科目。 ◆Department:Department of Agribusiness Management ◆Position:Assistant Professor (above) ◆Vacancy:1 ◆General Requirement:The Ph. D. degree certified by the Ministry of Education of R. O. C. in relevant fields or an experience as an assistant professor(or above). ◆Specialization or Special Qualification(research and publication requirement included): 一、The candidates with expertise and interests in any area of leisure agriculture or marketing and trade of agricultural products. 二、Preference will be given to candidates who have more than 3 year of full time working experience after obtaining Master degree in agribusiness, be able to teach and supervise special projects and theses in English. 三、The candidates with experience in international exchange program and transnational projects will be encouraged. 四、Doctoral degree diploma, curriculum vitae, transcripts of bachelor, master, and doctoral degrees, teaching experience and intended teaching courses, professional achievement and service in the last five years, and the research plan in the next five years are required.
工作地址
================================================================== ◆徵聘單位:餐旅管理系 ◆徵聘職稱:助理教授(含)以上 ◆名額:1名 ◆一般資格條件: 一、具教育部認可之國內外餐飲、旅館管理相關博士學位,或具餐飲、旅館管理專長背景之助理教授以上教師資格證書者。 二、具研究、教學及服務等項目有卓越表現者。(請檢附詳實資料) ◆專長領域或特殊資格條件(含研究著作要求): 一、發表(或已被接受刊登)於SCI(含EXPANDED名單)、SSCI、TSSCI(含正式及觀察名單)或其他國內外期刊之學術著作,具研究潛力者。 二、具主持學術或產學研究計畫經驗,具有國外留學經驗且能以英文授課者,優先考量。 三、具備三年以上餐旅管理相關領域專業業界實務工作經驗,以旅館相關工作為優先(附工作職位年資正式證明)。 四、具學校或相關專業訓練單位旅館管理課程實際教學經驗者,優先考量。(以上均需檢附具體證明文件) 五、檢附個人論文著述清單,以及代表性論文或著作等。 ◆Department:Department of Hotel and Restaurant Management ◆Position:Assistant Professor(or above) ◆Vacancy:1 ◆General Requirement: 一、Ph.D. degree recognized by the Ministry of Education of the R.O.C. in a hospitality management relevant field is required or an experience as an assistant professor (or above) with a lecturer's certificate. 二、An important selection criteria is acquiring the excellent performance in research, teaching and service. (Supporting documents are required.) ◆Specialization or Special Qualification(research and publication requirement included): 一、Having journal publication in the list of SCI, SSCI, TSSCI index and other refereed journal or possessing research potential is required. 二、Experience in project (academic research or corporate cooperation) management is preferred. Study-abroad experience and good English proficiency to teach related professional disciplines in hospitality are preferred. 三、Working experience in hotel and restaurant management related fields over 3 years, and hotel management field is preferred. (with proof of job title and length of service). 四、Practical teaching experience of hotel management courses in school or related professional training institutes is preferred (with written proof.) 五、A list of personal papers, books, essays, and representative works in recent years.
電子地圖
聯絡E-Mail
聯絡方式
(含檢具文件)
================================================================== ■備註︰ 一、以上應徵之「一般資格條件」,須於公告截止日前(107年8月20日)已具有博士學位或教育部核頒助理教授以上教師資格證書。。 二、以上應徵之「專長領域獲特殊資格條件」中有關「實務工作經驗」之審核,本校將依教育部訂定公布「技專校院專業科目或技術科目之教師業界實務工作經驗認定標準」規定辦理。 三、報名期間︰自公告日起至107年8月20日止截止收件。 四、報名方式︰一律採書面方式報名,收件至報名截止日止。 (一) 郵寄方式報名:以郵戳為憑,請寄送至91201屏東縣內埔鄉老埤村學府路1號,國立屏東科技大學人事室收。 (二) 親送方式報名:以本校人事室「職缺收件章」收件日期為憑,請於報名截止日前之本校工作日期間親送至本校行政中心二樓人事室,交由人事人員收執,並加蓋「職缺收件章」。 ※ 應檢附之證件不齊或逾期者,均不予受理。 五、聯絡電話︰08-7703202轉6112本校人事室蘇先生。 六、應徵信封右上角請務必註明「應徵者姓名」及「應徵單位/領域」;符合資格者由徵聘單位通知甄試,不合者恕不另行通知及函覆;如未獲錄取而需返還書面應徵資料,請附足額回郵信封以利郵寄。 七、獲聘為本校教師後,如學校因教學需要調整教師任教單位時,應無異議接受。 八、報名需繳送表件︰(各徵聘單位另有資料需求者,請依其需求辦理) (一)個人基本資料表(請詳細註明通訊位址、聯絡電話、行動電話及fax)。 (二)新聘專任教師應徵人員資料簡表。 (三)最近五年著作一覽表。 (四)最高學歷畢業證書(含教師證書)影本,畢業學校如係國外學歷須為教育部所認可且經我國駐外單位驗證有案者。 (五)最高學歷歷年成績單影本,畢業學校如係國外學歷須為教育部所認可且經我國駐外單位驗證有案者。 (六)檢附相關實務工作經驗之證明文件影本。 (七)其他有利於聘審之資格證明文件。 九、獲得本校系(所、中心、室)教評會推薦聘任,但未具教育部核頒擬聘任職級之教師資格證書者,請俟系(所、中心、室)電話通知後,備齊「取得送審前一等級教師資格後之專門著作(作品、成就證明及技術報告),含代表著作及參考著作合計至多五件(送審講師、助理教授資格者,尚得以學位論文代替代表著作)。」合訂本一式五份,並寄送至本校辦理外審作業;未依通知時限繳送著作辦理外審者,不予聘任。送審後著作恕不退還。 十、前述第八項(1、2款)所需之「個人基本資料表」、「新聘專任教師應徵人員資料簡表」表格,刊登於本校首頁(網址:http://www.npust.edu.tw/)點選「徵才資訊」及人事室網站首頁(網址http://personnel.npust.edu.tw/bin/home.php)最新消息、徵才求職,請自行下載相關表格使用;其中有關「新聘專任教師應徵人員資料簡表」,請另行以E-mail方式逕傳送以下相關系、所承辦人: 項目 系所 郵件信箱 (二) 森林系 mark@mail.npust.edu.tw (三) 企業管理系 ba@mail.npust.edu.tw (四) 農企業管理系 abm@mail.npust.edu.tw (五) 餐旅管理系 hrm@mail.npust.edu.tw 十、應徵者之個人資料將用於本校此次徵聘教師之各項相關業務;且錄取後,將其個人資料供校務行政之用。 十一、本校聘用前依性侵害犯罪加害人登記報到查訪及查閱辦法第14條之規定,應申請查閱有無性侵害犯罪紀錄。 十二、本公告同時刊登於下列網站: (一)行政院人事行政總處網址http://www.dgpa.gov.tw/點選「事求人」。 (二)本校首頁網址http://www.npust.edu.tw/index.aspx 點選「求才資訊」。 (三)本校人事室網址http://personnel.npust.edu.tw/bin/home.php點選「最新消息」/「徵才求職區」。 (四)全國就業通網址https://www.taiwanjobs.gov.tw/Internet/index/index.aspx 點選「找工作」。 (五)104人力銀行網址https://www.104.com.tw/index.cfm點選「找公司」。 (六)教育部全國大專教師人才網網址https://tjn.moe.edu.tw/index.php點選「職缺訊息」。 <詳細內容及相關報名表格請至本校人事室網頁參閱、下載。 網址:http://personnel.npust.edu.tw/bin/home.php 點選「最新消息」>
ssci journal list 在 List of Scopus and Sci Springer journals with no publication ... 的推薦與評價
... <看更多>