We can try to plan our days, but usually, the reality is different from our plans.
Especially when you have a child...and multiply it by 4.. 😜
计划永远赶不上变化。。
Because of this, we learnt to be more resilient! Never feel so happy when the kids are back to school 🤣
辛苦老师了🥰
📸 Yi He.
👗 @thebeloved.sg
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「the resilient child」的推薦目錄:
- 關於the resilient child 在 Facebook 的精選貼文
- 關於the resilient child 在 Facebook 的精選貼文
- 關於the resilient child 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最佳貼文
- 關於the resilient child 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於the resilient child 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於the resilient child 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於the resilient child 在 Raising a resilient child | Place2Be's Parenting Smart - YouTube 的評價
- 關於the resilient child 在 How to build resilient children | Teresse Lewis | TEDxTemecula 的評價
- 關於the resilient child 在 The Resilient Child Programme (Ages 6 - 12) - Facebook 的評價
the resilient child 在 Facebook 的精選貼文
Pic - Bella at 6 months
This is Bella at 6 months of age.
She can be underwater for quite some time and loving it.
We started training Bella on how to hold her breath at 5 months and a month later she was ready ...
There's a reason why Bella was called ' Underwater Baby '
Babies can achieve anything ...
They are resilient and adaptive
They can achieve anything ...
But as parents we need to be knowledgeable starting with learning how the brain works and develops ...
Why a child reacts in a certain way ..
Why a child throws tantrums ...
Why they are so clingy ?
Why can't they focus ?
Why some kids excel and some don't ?
Its all in ' My Way Of Parenting Book'
Only at Shopee - drsheikh.os
Salam Everyone
Love As Always
the resilient child 在 หมอแพมชวนอ่าน Facebook 的最佳貼文
#สร้างพลังแห่งการฟื้นตัว
(Building Resilience: The power to cope with adversity)
.
เวลาลูกต้องผ่านเรื่องราวร้ายๆ
โดยที่พ่อแม่ไม่ได้ตั้งใจ
เหมือนเรื่องที่เป็นข่าวดัง ก่อนหน้านี้
พ่อแม่ส่วนใหญ่ มักจะกล่าวโทษตัวเอง
และจมอยู่กับความทุกข์เป็นเวลานาน
.
เมื่อเด็กเผชิญกับเหตุการณ์ที่เลวร้าย
มิใช่แค่เด็ก ที่ต้องได้รับการเยียวยา
แต่ต้องเป็น พ่อแม่ และ เด็ก
.
เรื่องที่ผ่านไปแล้ว ย้อนกลับไปแก้ไขไม่ได้
อย่าจมปลักอยู่นาน ให้ focus ที่การแก้ปัญหา
.
มีวิจัยวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับ
#การฟื้นตัวเมื่อต้องเจอกับความทุกข์
ในงานวิจัยเหล่านั้น ใช้คำว่า Resilience
ไม่มีคำแปลตรงตัว
แต่ Resilience คือ
ทักษะที่คนคนหนึ่งรับมือกับอุปสรรค ความทุกข์
และสามารถฟื้นตัวมาอยู่ในภาวะปกติได้เร็ว (The power to cope)
.
หมออ่าน และนำมาเรียบเรียง
ด้วยสำนวนตัวเองนะคะ
❤❤❤❤
👉How to build resilience?
3 ข้อ สำคัญสำหรับพ่อแม่
❤1. “ทั้งพ่อแม่และเด็กต่างก็มีจุดแข็ง”
คำถามนี้ทำให้เราได้ทบทวนว่า
คุณสมบัติใดในตัวเราเองที่เราชอบมากที่สุด
ในตัวลูกก็เช่นกัน หากเรายังไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ให้นึกถึงเหตุการณ์ หรือพฤติกรรมใดของลูกที่เราชอบมากที่สุด จุดแข็งของเราทุกคน มีความสำคัญ เพราะมักจะเป็นสิ่งที่เรานำมาใช้เมื่อเราเผชิญกับปัญหา
หากรู้ว่าตัวเองเป็นอย่างไร ลูกเป็นอย่างไร ก็สามารถส่งเสริม หรือแม้แต่การชื่นชมข้อดีของลูก
ก็สามารถสร้าง self-esteem ที่ดี คนที่มี self esteem ที่ดี จะสามารถผ่านพ้นเรื่องร้ายๆได้ดีกว่า
❤2. “ขณะนี้เราต้องการอะไรมากที่สุด” คำถามนี้เหมือนให้เราเรียงลำดับความสำคัญ
ว่าในขณะที่ปัญหาเกิดขึ้น สิ่งที่เราต้องการมากที่สุดในขณะนี้คืออะไร และเมื่อคลายปมแรกได้ ปมที่ 2-3-4 ถึงจะตามมา เช่น “อยากให้ลูกสภาพจิตใจดีขึ้นมากที่สุด” เมื่อเราได้สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด วิธีที่จะทำให้สิ่งนั้นสำเร็จจึงตามมา เช่น เอาลูกออกมาจากสถานการณ์เลวร้าย แสดงให้ลูกรู้ว่าพ่อแม่อยู่เคียงข้างและจะไม่ยอมให้ใครมาทำร้ายได้อีก พาไปพบจิตแพทย์เพื่อทราบแนวปฏิบัติที่สามารถฟื้นฟูจิตใจเด็กได้เร็วที่สุด เป็นต้น
❤3. “ดูแลตัวเองก่อน” เป็นสิ่งที่สำคัญมาก
หากเราไม่ดูแลตัวเอง
เราจะไม่สามารถไปดูแลคนที่เรารักได้
พ่อแม่ต้องรู้ว่า พลังใจที่ดี ต้องอยู่ในร่างกายที่ดี
ดังนั้น ไม่ว่าอะไรก็ตาม เริ่มที่ดูแลตัวเองก่อน
พักผ่อนให้พอ กินอาหารที่ดี มีเวลาให้กับตัวเอง สำรวจพลังใจและพลังกายของตัวเองบ่อยๆ
==============================
❤HOW to raise a child to be resilient kid?❤
เราสามารถฝึกลูกให้เป็น Resilient child
ได้ในทุกๆวันที่ใช้ชีวิตด้วยกัน
👉1. สอนให้ลูกสามารถดูแลตัวเองให้เป็น: เงื่อนไขอย่างแรกของคนที่ก้าวผ่านอุปสรรคได้คือ
ต้องมีสุขภาพแข็งแรงก่อน และเค้าต้องมี sense ว่า “ฉันดูแลตัวเองได้” ดังนั้นการฝึกให้ลูกช่วยเหลือตัวเองตามความสามารถของวัย #เป็นสิ่งสำคัญมาก ดูแลกิจวัตรตัวเอง อาบน้ำ แปรงฟัน ถอดเสื้อผ้า เก็บของใช้ของตัวเอง ช่วยงานบ้านที่ตัวเองทำได้ ฯลฯ
👉2. ชื่นชมข้อดี และความพยายามของลูก
เด็กแต่ละคน ทำสิ่งต่างๆได้ดีไม่เท่ากัน
ให้พ่อแม่มองเห็นข้อดี และชื่นชมสิ่งนั้น อย่างจำเพาะเจาะจง ชื่นชมอย่างระบุพฤติกรรม และชื่นชมที่ความพยายาม เมื่อเด็กรู้ว่ามีคนเห็นข้อดีของตัวเอง เค้าจะอยากทำดีเพิ่มขึ้น และข้อดีนั้น
จะเป็นทุ่น พาจุดด้อยอื่นๆลอยสูงขึ้นด้วย
👉3. สร้างสายสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นในครอบครัว
มนุษย์กล้าทำสิ่งต่างๆที่ยิ่งใหญ่
กล้าเผชิญกับอุปสรรค
เมื่อเรารู้ว่ามีคนอยู่เคียงข้าง
สายสัมพันธ์ที่สำคัญที่สุดของเด็ก
คือ สายสัมพันธ์ในครอบครัว ข้อควรระวังคือ รักลูกก็ต้องแสดงออกให้เค้ารู้ว่าเรารักมากแค่ไหน
มิใช่ คิดว่าลูกรู้อยู่แล้วว่ารัก แล้วไม่ค่อยแสดงออก สิ่งที่แสดงออกมาเป็นสิ่งที่ลูกไม่ได้รับรู้ถึงความรัก
“รัก” ต้องเป็นคำกริยา มิใช่ คำนาม
👉4. อ่านหนังสือด้วยกัน
การอ่านหนังสือ นอกจากจะช่วยเรื่อง ภาษา ซึ่งสำคัญมากในกระบวนการคิดของมนุษย์
แต่การอ่านหนังสือกับลูก เป็นวิธีการสร้างสายสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้น
เป็นการแชร์เรื่องดีๆ ความคิด ความเชื่อ ของพ่อแม่ สู่ลูก โดยใช้หนังสือเป็นตัวเชื่อม
นอกจากนั้น การอ่าน เหมือนการให้ประสบการณ์สำเร็จรูป ไปสะสมในสมองของลูก
เมื่อถึงวันที่เผชิญปัญหา ประสบการณ์ที่สะสมไว้ในสมอง จะถูกดึงมาใช้ได้ดีกว่า
👉5. สร้างทักษะทางสังคม
เปิดโอกาสให้ลูกได้เล่นกับเพื่อน (ก้าวก่ายให้น้อย) เพื่อฝึกแก้ปัญหา
หากเกิดปัญหา เราสามารถสอนลูก
โดยยกเหตุการณ์นั้นๆได้
ทำอย่างไรที่จะรักษาน้ำใจเพื่อน
ทำอย่างไรเมื่อเกิดความขัดแย้ง
ประสบการณ์เหล่านี้ เป็นสิ่งมีค่ายิ่งกว่าความรู้ในตำรา เมื่อลูกต้องใช้ชีวิตในสังคม
👉6. ฝึกให้ลูกรู้จักสะท้อนอารมณ์
เป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะอารมณ์ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ
แต่ทักษะการจัดการอารมณ์ เป็นเรื่องที่พ่อแม่ต้องฝึกให้ลูกทำให้เป็น ทำให้คล่อง
ก่อนจะจัดการอารมณ์ได้ ลูกต้องตระหนักรู้ก่อน ว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้นเรียกว่าอะไร
ตอนเค้าเด็กๆ ให้พ่อแม่พูดถึงอารมณ์ที่ลูกเป็น หนูกำลังหงุดหงิด หนูเสียใจใช่มั้ย
เมื่อเค้าเข้าใจตัวเอง ให้ “ฟัง” โดยใช้ใจฟัง ให้เข้าถึงอารมณ์ลูก
เด็กที่เข้าใจอารมณ์ตัวเอง เมื่อต้องเผชิญกับความทุกข์ เค้าจะรู้วิธีออกมาจากอารมณ์ลบได้ดีกว่า
==========
หมอแพม
อยากเรียนการเขียนอย่างไรให้สั้นอยู่เหมือนกันค่ะ😅
(Ref: Masten, A. (2001). Ordinary magic: Resilience
processes in development. American Psychologist,
56, 227–238.)
the resilient child 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
the resilient child 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
the resilient child 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
the resilient child 在 How to build resilient children | Teresse Lewis | TEDxTemecula 的推薦與評價
Learn the lessons that every adult needs to teach the children in their lives in order to build resilience in them! A child of the inner c … ... <看更多>
the resilient child 在 The Resilient Child Programme (Ages 6 - 12) - Facebook 的推薦與評價
Event in Singapore by The Open Centre, Singapore on Saturday, May 26 2018. ... <看更多>
the resilient child 在 Raising a resilient child | Place2Be's Parenting Smart - YouTube 的推薦與評價
Read the full advice here: https://parentingsmart.place2be.org.uk/article/raising- a-resilient -childDo you want your child to feel safe, ... ... <看更多>