ขีดจำกัดของโลก 9 ประการ
เรื่องโลกร้อนเป็นแค่ 1 ใน 9 เท่านั้น ! มีอีก 8 ตัว! คุณพระ!!
-----------------------
เมื่อไม่นานมานี้ได้ดูสารคดีเรื่อง Breaking Boundaries: The Science of Our Planet ใน netflix [ https://www.imdb.com/title/tt14539726/?ref_=nv_sr_srsg_0 ] น่าสนใจมาก
หนังพูดเรื่อง The 9 planetary boundaries หรือขีดจำกัดของโลก 9 อย่างที่มนุษย์กำลังสร้างผลกระทบโดยตรง และถ้าข้ามขีดอันตรายไปเมื่อไหร่ จะเกิดผลกระทบลูกโซ่ที่ทำลายระบบนิเวศของโลกอย่างหวนกลับมาไม่ได้อีกต่อไป
ซึ่งในบรรดา 9 อย่างนี้ เรารู้จักเรื่องโลกร้อนดีที่สุด แต่ที่เหลือ มีหลายอันที่มีคนพูดถึงน้อยมากๆ
ขีดจำกัดทั้ง 9 นี้ มีที่มาจากกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ นำโดย Johan Rockstrom [นามสกุลโคตรเท่] แห่งมหาวิทยาลัย Stockholm และวิล สเตฟเฟน (Will Steffen) จากมหาวิทยาลัย Australian National University เอางานวิจัยยาวนานกว่า 5 ทศวรรษ มาสรุปเป็นกระบวนการรักษาสมดุลของโลกให้เราเห็นชัดเจน 9 ประการ โดย Rockstrom เองเป็น presenter ของสารคดีชิ้นนี้ด้วย
นอกจากจะทำความรู้จักขีดจำกัดทั้ง 9 อย่างนี้แล้ว งานวิจัยก็ยังบอกเราด้วยว่าตอนนี้มนุษย์อยู่ในขีดอันตรายระดับไหนแล้วในแต่ละหัวข้อ
-----------------------
สถานการณ์: [Code Red] วิกฤติแล้วจ้า ฉิบหายแล้ว มี 2 ข้อ
1. Biodiversity loss [การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ว่าด้วยการสูญพันธ์ของสัตว์และพืช ใช่ 50 ปีที่ผ่านมา อัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ หลักๆมาจากการสูญเสียที่อยู่อาศัยจากการกระทำของมนุษย์ ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม เพื่อผลิตอาหาร น้ำ และทรัพยากร
- ต่อปี อัตราการสูญพันธุ์ในปัจจุบัน อยู่ที่ 1,000 ต่อ 1,000,000 ชนิด ต่อปี [0.1%] โดยอัตราการสูญพันธุ์ที่ปลอดภัย อยู่ที่ ไม่เกิด 10 ต่อ 1,000,000 ชนิดต่อปี [ 0.001%] เท่ากับเราเลย limit ที่ปลอดภัยมาแล้ว 100 เท่า!
2. Nitrogen Cycle and Phosphorus Cycle [ วงจรไนโตรเจนและฟอสฟอรัส] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ใช้แล้วครับ ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัส ในปุ๋ยเคมี NPK นี่แหล่ะ
- เรื่องนี้มีคนรู้น้อยมาก หลักๆคือการที่มนุษย์ผลิตอาหารมากขนาดนี้ เราต้องใช้ปุ๋ยจำนวนมหาศาล เราไปเก็บไนโตรเจนมาจากชั้นบรรยากาศ และขุดฟอสฟอรัสมาจากในดิน แล้วในกระบวนการเกษตร สารเหล่านี้โดนเก็บไว้ในพืชแค่นิดเดียว ที่เหลือไหลลงน้ำลงทะเล หรือกลายเป็นมลพิษในอากาศ
- ซึ่งผลพวงก็มีเช่น ปุ๋ยลงน้ำไปทำให้เกิด Algae Bloom [สาหร่ายเติบโต] ซึ่งพอตายทับถมกัน ก็ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลงเรื่อยๆ จนบางที่กลายเป็น "Dead Zone" หรือจุดที่สิ่งมีชีวิตไม่สามารถอยู่ได้อีกแล้ว เพราะขาดออกซิเจน ซึ่งทั่วโลกพบอยู่หลายร้อยแห่งแล้ว ปล่อยไปเรื่อยๆจะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ทำระบบนิเวศพังทั้งระบบ
- ตอนนี้เราใช้ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัสเพื่อผลิตอาหาร เกิดขีดจำกัดที่นักวิทยาศาสตร์กำหนดไว้ ประมาณ 2 เท่าในทุกๆปี
-----------------------
สถานการณ์: [Code Yellow] ต้องเฝ้าระวัง หากไม่เปลี่ยนแปลง วิกฤติแน่
3. Deforestation Land use Changes การตัดไม้ทำลายป่า และการเปลี่ยนแปลงผืนโลก : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- คือการเปลี่ยนป่าเป็นพื้นที่การเกษตรหรือเลี้ยงสัตว์[การผลิตเนื้อ ใช้ที่ดินเยอะมาก] ซึ่งนำไปสู่ทั้งความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ [ข้อ 1. ] และเป็นการปล่อยคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในต้นไม้กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ซึ่งก็ไปสร้างปัญหาภาวะโลกร้อนต่อ รวมถึงการเปลี่ยนน้ำทะเลให้เป็นกรดอีกด้วย
- ป่าคือ Carbon Sink หรือตัวดูดซับคาร์บอนที่ดีที่สุดที่เรามีอยู่ในธรรมชาติ การสูญเสียป่า คือการสูญเสียระบบจัดการคาร์บอนของดาวโลก
- การสูญเสียพื้นที่ป่าในประเทศหนึ่ง อาจสร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศในระดับโลก (เช่นป่า Amazon เป็นต้น)
4. Climate Change ภาวะโลกร้อน : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- ตัวโหดที่ทุกคนรู้จักดี ตอนนี้เราผ่านจุดที่คาร์บอนในชั้นบรรยากาศ อยู่ที่ 418 ppm [Parts per million] ซึ่งอาจจะนำไปสู่โลกที่อุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 2 องศา ซึ่งเป็นสิ่งที่ Paris Agreement ในปี 2015 ตั้งใจจะทำให้ได้ แต่อย่างไรระดับคาร์บอนได้ออกไซด์ก็ไม่มีทีท่าจะลดลงมาสักกะที ถ้าหากว่าเกิน 500 ppm ขึ้นไป และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราอาจจะจบที่ร้อนชึ้น 4-8 องศา ซึ่งนั่นคือ Game Over แน่นอน
- ตอนนี้น้ำแข็งทะเลในขั้วโลกเหนือลดลงจนไม่น่าจะหวนกลับมาได้แล้ว ทำให้เรายิ่งไม่มีพื้นที่สีขาวมาสะท้อนแสงอาทิตย์กลับไป
- น้ำแข็งในกรีนแลนด์ละลายเร็วขึ้นกว่าที่คาดการเอาไว้ 3-4 เท่า ถ้ากรีนแลนด์ละลายหมด น้ำทะเลจะสูงขึ้น 7 เมตร
- ตอนนี้ขั้วโลกได้ที่เชื่อว่าละลายได้ยากมาตลอด เริ่มมีอาการแปรปรวนให้เห็น ถ้าละลายหมด น้ำจะสูงขึ้นหลายสิบเมตร
- จุดที่เราจะย้อนกลับไม่ได้ ใกล้เข้ามาทุกที
-----------------------
สถานการณ์: [Code Green] ยังปลอดภัยอยู่ ต้องรักษาระดับเอาไว้
5. Freshwater Use การใช้น้ำจืด : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- เป็นตัวแปรที่ link กับเรื่อง climate change + ระบบการจัดการน้ำของมนุษย์ ซึ่งได้เปลี่ยนวงจรที่น้ำจืดแปรสภาพและไหลเวียนตามธรรมชาติไปโดยสิ้นเชิง การชลประทานนำไปสู่การเปลี่ยนในการไหลของแม่น้ำ การถางป่านำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงของวงจรไอน้ำ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและส่วนใหญ่เปลี่ยนแล้วแก้คืนไม่ได้
- ถึงแม้ว่าตอนนี้จะยังไม่วิกฤติ แต่ก็ต้องระวังดีๆ หากเราเปลี่ยนวงจรน้ำจืดไปเรื่อยๆอย่างไม่คิดถึงผลกระทบที่ตามมา อาจจะส่งผลลูกโซ่ต่อเนื่อง สร้างความเสียหายในแบบที่เรายังคาดไม่ถึงได้
6. Ocean Acidification การเป็นกรดของมหาสมุทร : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- ประมาณ 25-30% ของคาร์บอนที่เราปล่อยออกมา ถูกดูดซับโดยน้ำในมหาสมุทร ซึ่งผลพวงของมันก็คือทำให้น้ำทะเลมีความเป็นกรดมากขึ้น ซึ่งก็ไปทำให้ในน้ำมี แคลเซียมคาร์บอเนต ลดลงเรื่อยๆ ซึ่งอันนี้เป็นสิ่งสำคัญที่สิ่งมีชีวิตในทะเล ทั้งปะการัง ทั้งกุ้ง หอย ปู แพลงตอนบางประเภท หรืออะไรก็ตามที่มีเปลือก ใช้ในการสร้างเปลือกป้องกันตนเอง
- พอสัตว์เหล่านี้โตไม่ได้ ก็กระทบบ่วงโซ่อาหาร ในทะเลก็มีปลาน้อยลงเรื่อยๆ
- ตอนนี้น้ำทะเลของเรา มีความเป็นกรดมากขึ้น 30% เมื่อเทียบกับตอนก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม
- อันนี้ link กับเรื่อง Climate change ในเชิงมีสาเหตุร่วมกัน แต่ถือเป็นคนละมาตรวัดกัน
- ถึงยังปลอดภัยอยู่ แต่ถ้าไม่เปลี่ยนเรื่องปล่อยคาร์บอนกัน มันก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆต่อไป
7. Stratospheric ozone depletion การสลายตัวของชั้นโอโซน : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- อย่างที่รู้กัน โอโซนช่วยกัน UV [ultraviolet] ไม่ให้เข้าสู่บรรยากาศโลก ถ้าไม่มีโอโซนเราก็จะเป็นมะเร็งผิวหนังกันหมด และระบบนิเวศโลกก็จะพัง
- อันนี้เป็นข้อเดียวที่สถานการณ์ดีขึ้นมาก นับตั้งแต่มีการค้นพบปัญหารูโอโซนบริเวณขั้วโลก และมีการระบุชัดเจนว่าสารเคมีชนิดไหนที่เป็นต้นเหตุ นานาชาติก็มีการตกลงแบนสารเหล่านั้นร่วมกันผ่าน Montreal Protocol จนได้ผลนำสถานการณ์อันตรายมาสู่ระดับที่ปลอดภัยได้
- เป็นความหวังของหมู่บ้าน ว่ามนุษย์สามารถรวมตัวกันแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ
-----------------------
สถานการณ์: [Unknown] รู้ว่าเป็นปัญหา แต่ยังไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่เกินขีดอันตรายไปได้
- 2 ข้อนี้ คือตัวแปรที่นักวิทยาศาสตร์เห็นตรงกันว่าจะมีผลกระทบกับระบบนิเวศของโลกอย่างมีนัยยะสำคัญ แต่ว่ายังหาคำตอบไม่ได้ว่าขีดอันตรายอยู่ที่จุดไหน
8. Particle Pollution [Atmospheric aerosol loading] สารแขวนลอยในชั้นบรรยากาศ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- ง่ายๆก็คือพวก pm10/ pm2.5 นั่นแหล่ะครับ + สารเคมีต่างๆที่มนุษย์ปล่อยขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ สิ่งเหล่านี้นอกจากจะมีผลกับสุขภาพของมนุษย์แล้ว คือมีผลกับอุณหภูมิของโลกด้วย
- ในขณะที่ก๊าซเรือนกระจก ทำให้โลกร้อนขึ้น สารแขวนลอยและมลพิษในอากาศ มีผลกระทบในการสะท้อนแสงอาทิตย์ออกนอกชั้นบรรยากาศ พูดง่ายๆยิ่งอากาศขุ่นมัวมาก อุณหภูมิก็ยิ่งลดลง ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องดีเสมอไป เพราะต้องแลกมากับคุณภาพอากาศที่ย่ำแย่มากๆ เป็นผลกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
- นอกจากนั้น สารแขวนลอยเหล่านี้ยังสามารถจับตัวกับไอน้ำ มีผลกับการจับตัวของก้อนเมฆและการเปลี่ยนแปลงของอากาศอีกด้วย
- ซึ่งผลกระทบตรงนี้ ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาเพิ่มเติม ทำให้ยังไม่สามารถทราบผลกระทบทั้งหมดได้
9. Chemical Pollution การปนเปื้อนของสารสังเคราะห์ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- มนุษย์เราสร้างสารสังเคราะห์ชนิดใหม่ขึ้นมากว่า 100,000 ชนิด ซึ่งมีทั้งโลหะหนักต่างๆ สารกัมมันตภาพรังสี ไมโครพลาสติก ฯลฯ ซึ่งผ่านอุตสาหกรรมและกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ สารเหล่านี้ก็ถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยที่เรายังไม่เข้าใจผลกระทบที่พวกมันมีต่อสัตว์ พืช และระบบนิเวศเลย รวมไปถึงผลกระทบที่มันมีต่อคนด้วย [ยกตัวอย่าง จนถึงตอนนี้ ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ ว่าการกินไมโครพลาสติกเข้าไป มีผลอะไรกับร่างกายคนบ้าง]
- ทำให้การกำหนดขอบเขตในเรื่องนี้ เป็นไปได้ยากมาก แต่นักวิทยาศาสตร์ก็เห็นพ้องกันว่า เป็นตัวแปรที่มีผลต่อระบบนิเวศของโลกแน่นอน
-----------------------
นอกจาก 9 ข้อนี้ ขอฝากคำศัพท์ไว้อีกคำ คือคำว่า [Antropocene]=แอนโทรโพซีน คือชื่ออย่างไม่เป็นทางการของโลกยุคปัจจุบัน โดยยุคก่อนหน้านี้คือยุค Holocene [โฮโลซีน] ที่เริ่มต้นประมาณ 11,700 ปีที่แล้ว หลังยุคน้ำแข็งรอบสุดท้ายจบลง เป็นยุคที่อุณหภูมิของโลกเริ่มคงที่ ทำให้สภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสังคมมนุษย์เกิดขึ้นได้ เป็นสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
แต่มาตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์บอกว่ายุค Antropocene ได้มาถึงแล้ว มาจากคำว่า Anthropo ที่แปลว่า "คน" ในภาษากรีก ซึ่งอธิบายง่ายๆก็คือ นี่คือยุคที่มนุษย์กลายเป็นตัวแปรหลักในการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและระบบนิเวศของโลก จากที่ก่อนหน้านี้ ไม่เคยมีสปีชีส์ไหนทำแบบนี้ได้มาก่อน สัตว์ทุกชนิดต้องยอมรับสภาวะที่โลกหยิบยื่นให้ มีเราเป็นสปีชีส์แรกที่สามารถเปลี่ยนระบบของโลกได้ด้วยการกระทำของเรา
ขึ้นอยู่กับว่าจะเปลี่ยนไปทางไหนเท่านั้นเอง
Ref
http://www.salforest.com/blog/planetary-boundary
https://en.wikipedia.org/wiki/Planetary_boundaries#/media/File:Planetary_Boundaries.png
https://www.stockholmresilience.org/research/planetary-boundaries/the-nine-planetary-boundaries.html
https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/anthropocene/
https://www.imdb.com/title/tt14539726/
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅Herman Yeung,也在其Youtube影片中提到,Note download 筆記下載 : https://hermanutube.blogspot.hk/2016/01/youtube-pdf.html -----------------------------------------------------------------------...
「carbon cycle」的推薦目錄:
- 關於carbon cycle 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最佳貼文
- 關於carbon cycle 在 &dear Facebook 的最佳解答
- 關於carbon cycle 在 大便妹,學環保。 Facebook 的最讚貼文
- 關於carbon cycle 在 Herman Yeung Youtube 的最佳貼文
- 關於carbon cycle 在 蔓蔓?蔓時尚 Slow Vashion Youtube 的最佳貼文
- 關於carbon cycle 在 M13 Youtube 的最讚貼文
- 關於carbon cycle 在 Carbon and Climate 的評價
carbon cycle 在 &dear Facebook 的最佳解答
南美洲的潘特納爾濕地,今年出現自1970年以來最嚴重的旱災!佔地4,200萬英畝的潘特納爾濕地是全球最大的濕地,超過九成面積為牧場,在政府下禁火令期間仍有大量農民以燒田方式清理農地,造成數十年來最嚴重的火災。濕地能夠清除空氣中的二氧化碳,在碳循環方面擔當非常關鍵的角色,但全球自1900年已失去約64%的濕地,主要因發展農業及畜牧業所致。
The Pantanal wetlands in South America is experiencing the worst drought since 1970. It is the world’s largest wetland which is more than 42 million acres; over 90% of the ares is pasture. Even with the government’s ban on fires, producers still set fire to clear farm fields, which leads to the worst wildfire in decades. Wetlands help absorbing carbon and plays a key role in carbon cycle. however, 64% of world’s wetlands have disappeared since 1900, and mainly due to agriculture and animal husbandry.
carbon cycle 在 大便妹,學環保。 Facebook 的最讚貼文
🚩為什麼減少購買衣服才是王道?
因為製衣洗衣耗水耗能同時污染環境。
在這個連時裝都可以速食的世代裡,
你有否留意廉價的衣服、快速的潮流…
為環境帶來了什麼衝擊呢?
你知道全球紡織業是第二大污染源嗎?
真的不是買一件衣服那麼簡單!
減少購買衣服有助減碳排,
以及防止微塑膠纖維落入海洋…
圖片中沒有提到紡織業在落後國家…
對工人不論是工資及健康的剝削。
還有衣物從生產運輸消費洗滌烘乾乾洗…
以及丟棄後等過程的碳排及污染…
更多詳情可以參考下面的文章:
製造一件T恤 足夠讓你喝三年的水
https://www.gvm.com.tw/article.html?id=41730
「快速時尚」讓世界無法喘息 時尚革命勢在必行!
https://www.greenpeace.org/taiwan/update/1298/
速食時裝:製衣業如何影響環境
https://www.inmediahk.net/node/1057638
「時尚」與「環保」能否共存? 細數「速食時裝」四宗罪
https://www.thenewslens.com/article/57069
全球二手衣回收市場消失,快時尚將釀環境災難
http://technews.tw/2018/01/16/fast-fashion-pollution/
The carbon footprint of getting dressed
https://www.ecotricity.co.uk/news/news-archive/2018/the-carbon-footprint-of-getting-dressed
Life cycle analysis for cotton and polyester
http://www.sustainability-ed.org.uk/pages/example4-3.htm
參考資料:以上文章、The story of stuff…
也可以自行在youtube找有關fast fashion的片來看~
carbon cycle 在 Herman Yeung Youtube 的最佳貼文
Note download 筆記下載 : https://hermanutube.blogspot.hk/2016/01/youtube-pdf.html
------------------------------------------------------------------------------
Biology 所有 videos 的 Playlist 可看:
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oSnhUSkuaWV9d7FbyJDSPE
分類的 Playlist 可看:
1. Cells and Molecules of Life 細胞與生命分子… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8pimOHKxXgEB4A7BkIU_fvE
2. Genetics and Evolution遺傳與進化… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qxXqviCcE59G2o2S-SZmLz
3A. Essential life processes in plants植物維持生命的活動… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oaLqXiViAOyF-wt_wxD62w
3B. Essential life processes in animals動物維持生命的活動… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8petIdjLSGd9BbyfUcDdHim
3C. Reproduction, growth and development生殖、生長和發育... https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8ramUz1FlN0c8vG47a8qChA
3D. Coordination and response協調和反應… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8o6aa0bT1nTs5QbaBpJ69W7
3E. Homeostasis體內平衡… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qIF_r_7bLzL_gbkzL3NRiZ
3F. Ecosystems 生態系… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qHQPt5HmieWo0EjPGnmD81
4. Health and Disease健康與疾病… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oWMLSCZvYm_HxnOCnw0ePt
5. Human Physiology: Regulation and Control人體生理學︰調節與控制… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8r0Af7WKwjPf5Ih3hk4rRpw
6. Applied Ecology應用生物學… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8rbkiK9KEPGav6_z6otcqA7
7. Microorganisms and Humans微生物與人類… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8pA3IcS8sxv5JgWHZ0Ifvrk
8. Biotechnology生物工程… https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oNgT2rFFmtFP_PBDbCqn0N
Notes Only Version : https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8osiwrVWzQRQ9wWCLgZUYS5
Definition 背誦︰
中英對照︰ https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8pgi_VnjcUHByKdnDfPKfDh
純英版︰ https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qhbqCN5tsVn2DeUqYFzYPV
純中版︰ https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8rAJGqx6SNLcG1WQGTFocOL
HKDSE Biology Past Paper Solution :
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8q0icgpscQYKrWcaywLK7g2
HKCEE Biology Past Paper Solution :
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8oE7NKu3W5odiwwws6WerB0
HKALE Biology Past Paper Solution :
https://www.youtube.com/playlist?list=PLzDe9mOi1K8qDsX40O4tczDYBPktC06fq
------------------------------------------------------------------------------
Please subscribe 請訂閱 :
https://www.youtube.com/hermanyeung?sub_confirmation=1
------------------------------------------------------------------------------
HKDSE Mathematics 數學天書 訂購表格及方法︰
https://www.sites.google.com/view/HermanYeung
------------------------------------------------------------------------------
Blogger : https://goo.gl/SBmVOO
Facebook : https://www.facebook.com/hy.page
YouTube: https://www.youtube.com/HermanYeung
------------------------------------------------------------------------------
carbon cycle 在 蔓蔓?蔓時尚 Slow Vashion Youtube 的最佳貼文
以前讀大學和研究所時,都在服飾專櫃打工過,對於衣服材質的特性要略知一二,才能和客人解釋(自以為在寫104履歷🥺)
記得之前會回家科普櫃內的有機棉、聚酯纖維、天絲等等材質的外部環境成本,但當時遇到的客人普遍都比較在乎穿起來的舒適度😆
如今,社會上越來越多在意環保的人,而且呀,近幾年多了好多理念很棒的永續品牌。最近看到某新品牌Veg and things在他們的的Ins帳號分享的限動,在每個小細節都燒腦研究以降低對環境的傷害,覺得超級感動。
看見那麼努力的大家,於是我也鼓起勇氣把這些東西做成影片,希望對大家有幫助啦!🥰
(影片中提到關於快時尚的庫存浪費,可以參考這篇文章:https://www.google.com.tw/amp/s/www.thenewslens.com/amparticle/94586 )
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
任意門🚪
00:00 讓大家傻眼的衣服污染數據
01:17 聚酯纖維的微塑膠污染
02:44 棉花「環保」嗎?
03:11 有機棉真的比棉花「環保」嗎?
05:00 看似環保的羊毛
05:38 蠶絲是怎麼來的?
06:07 環境友善的作物:麻
07:21 名字看起來很化學的嫘縈:天絲/萊塞爾/莫代爾
08:43 合成纖維的機能性才好?
08:59 關於寶特瓶回收衣
09:20 永續材質小Tips
12:04 使用永續材質的衣服品牌
🌱veg. & Things https://www.vegandthings.com
🌱冶綠 https://wildgreen.tw
🌱Hempable https://www.zeczec.com/projects/Hempable
🌱和諧生活 https://www.harmonylife.com.tw/categories/2020春夏設計師新品
🌱SiSSO https://www.sisso.com.tw/products/babyclothes/
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
📷Instagram: @slow_vashion
🔗https://www.instagram.com/slow_vashion/
👩🏻Facebook: 蔓時尚 Slow Vashion
🔗https://www.facebook.com/slow.vashion/
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
[1] 環保署109年統計年報
https://www.epa.gov.tw/Page/4CE99E90109C419B
[2] 《為什麼你該花更多的錢,買更少的衣服?拯救地球,也拯救你衣櫃的新購衣哲學》 Lucy Siegle, 2015
[3] Athalye, A.Carbon footprint in textile processing, 2012
http://images.fibre2fashion.com/ArticleResources/PdfFiles/60/5965.pdf
[4] Catherine, SalfinoStudies Show Performance Activewear Could be Harming Your Health, Sourcing Journal, 2017
https://sourcingjournal.com
[5] Frequency of Microplastics in Mesopelagic Fishes from the Northwest Atlantic
A. M. Wieczorek, L. Morrison1, P. L. Croot, A. L. Allcock, E. MacLoughlin, O. Savard4, H. Brownlow, T. K. Doyle Front. Mar. Sci., 2018
https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fmars.2018.00039/full
[6] A New California Bill Would Require Labe, Arthur Friedmanl 2018.2.26
https://leginfo.legislature.ca.gov/faces/billTextClient.xhtml?bill_id=201720180AB2379
[7] Carbon footprint of three different textile products during its life cycle Jungmichel, N., The Carbon Footprint of Textiles, Systain Consulting, Berlin, Germany, 2010.
https://www.researchgate.net/publication/276193965_Carbon_Footprint_of_Textile_and_Clothing_Products (last accessed: Sep. 5 2020)
[8] 環境資訊中心 邪惡的白T Shirt
https://e-info.org.tw/node/20857
[9] Nations, U. Statistics: Graphs and Statistics. 2013, from UN
[10] Jungmichel, N., The Carbon Footprint of Textiles, Systain Consulting, Berlin, Germany, 2010.
[11] Textile Exchange, 2018
[12] A.Barber, G. Pellow. Life Cycle Assessment: New Zealand Merino. Industry – Merino Wool Total Energy Use and Carbon Dioxide.
[13] 羊毛的製程
https://www.peta.org/issues/animals-used-for-clothing/wool-industry/
[14] Is silk vegan?
https://www.peta.org/blog/is-silk-vegan/
[15] How sustainable is linen
https://goodonyou.eco/how-sustainable-is-linen/
[16] 夏日穿這最防曬
https://health.tvbs.com.tw/regimen/318013
[17] 天絲、萊賽爾、木代爾、嫘縈有什麼不同?
https://oghome.com.tw/tencel-level/
[18] Rayon Man Made Fiber: Spinning-methods
https://www.brainkart.com/article/Rayon---Man-Made-Fiber---Spinning-methods,-Manufacturing,-Properties_1767/
[19] Bernie Thomas, Matt Fishwick, James Joyce, A Carbon Footprint for UK Clothing and Opportunities for Savings, Anton van Santen Environmental ResourcesManagement Limited (ERM)
[20] 紡織品資訊應用知識服務網 全球有機棉生產飆升56% http://monitor.textiles.org.tw/newsdetail.aspx?id=32992
carbon cycle 在 M13 Youtube 的最讚貼文
Tour Taiwan with me: http://taiwantoursm13.com/
Private Channel: https://www.patreon.com/M13
My Facebook: https://www.facebook.com/Mordeth13
Support M13 buy my Private Series: http://www.m13online.com/?page_id=294
World's best motorcycle pants are RHOK (search Ebay for them) Made my Hello Kitty quicker.
Nokitthecat: Its good to have top quality synthetic mix oil for two stokes.
AmsOil http://ww2.amsoil.com/shop/by-product/motor-oil/2-stroke/interceptor-2-cycle-oil/
The high grade oil in important to reduce coking, soot, carbon, varnish and contaminants that will stick rings and accelerate two stroke cylinder wear.
If the cylinder has been honed, take it easy during break in to keep heat from building up and seizing engine.
Sustained high RPM and high speed with wind friction will load the engine thus make allot of heat in the cylinder and piston and may seize or score piston and cylinder.
Short bursts of acceleration then city cruising is good.
The short bursts will put pressure on the rings and help them seat well but not generate too much heat.
With the added performance they might have ported the intake ports or they might have serviced the centrifugal clutch.
You can get performance by changing the weights and springs in the centrifugal clutch and by porting the intake and exhaust.
A larger expansion chamber on the exhaust pipe will help tune the power RPM band.
Upgrading the reeds (just past the carburetor) is an easy way of picking up low end power as well.
There are many ways of making extra power.
carbon cycle 在 Carbon and Climate 的推薦與評價
How are the Global Carbon Cycle and Climate Change / Global Warming connected? The Earth is warmed by the Sun. This warmth is returned from ... ... <看更多>