โพสต์นี้ว่าด้วยเรื่องของ "น้ำหนักร่างกาย"
ที่ผมต้องมาพูดประเด็นนี้ เรื่องจากตอนนี้การป้องกันโรคดูจะเป็นเรื่องสำคัญไม่แพ้กับการรักษาโรคไปแล้ว ณ ตอนนี้ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
.
และหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้อาการต่างๆแย่ลงได้ นั่นก็คือ "ภาวะน้ำหนักเกิน" (overweight) นั่นเองครับ เพราะน้ำหนักที่เกินในระยะเวลานานๆจะทำให้ร่างกายมีปัญหาของเรื่องความดันโลหิตสูง เบาหวาน metabolic syndrome และอะไรตามอีกมากมาย ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของอัตราการเสียชีวิตอย่างเห็นได้ชัด
.
น้ำหนักที่เกิน (overweight) นี้ ขอใช้นิยามเดียวกับคนทั่วไป คือ ไม่ได้มีสัดส่วนของกล้ามเนื้อที่มากกว่าปกติ เช่น คนเล่นกล้าม ที่น้ำหนักอาจจะเกินเกณฑ์มาตรฐานได้ โดยที่ทั้งๆที่สัดส่วนของร่างกายดูปกติ เพราะบางครั้งการวัดน้ำหนักตามเกณฑ์ BMI อาจจะทำให้เราพลาดในส่วนนี้ไปได้ แต่รายละเอียดตรงนี้อาจจะไม่จุดประสงค์ที่จะพูดกันในวันนี้ครับ
.
ผมอยากจะขอพูดเรื่องสิ่งที่เรียกว่า "ความอ้วน" เป็นหลักมากกว่า โดยไม่ได้พูดเรื่องน้ำหนักที่เกินเกณฑ์ตามประโยคข้างต้น เอาแบบให้เห็นภาพคือ เราอ้วน เราใส่กางเกงตัวเดิมไม่ได้ทั้งๆที่เราใส่ได้ น้ำหนักเราขึ้นมาหลายสิบกิโลกรัมในช่วงหลายปีที่ผ่านมาทั้งๆที่เราไม่ได้อยู่ในวัยที่เจริญเติบโตของร่างกายใดๆ หรือใครที่กำลังคิดถึงรูปร่างของเราเมื่อสักช่วงสมัยเรียนมหาวิทยาลัยอะไรประมาณนั้นครับ
.
ผมขอยกเนื้อหาบางส่วนมาจากหนังสือที่มีชื่อว่า "The Obesity Code" ของ Dr.Jason Fung ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจ โดยขอสรุปใจความเนื้อหาไว้ดังนี้ครับ
.
หลายๆคนอาจจะเข้าใจว่า "ความอ้วน" มาจาก แคลอรี่ที่กินเข้าไป > แคลอรี่ที่ใช้ออกมา เช่น เราจะคิดว่า เพราะเรากินมาก แต่ออกกำลังกายน้อย นั่นทำให้เราอ้วน ซึ่งอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว เพราะจริงๆแล้วร่างกายมีการปรับระดับอัตราการเผาผลาญให้มากขึ้นหรือลดลงได้ตามพลังงานที่ร่างกายได้รับเข้ามา
.
Total Energy Expenditure ตัวย่อ TEE แปลว่า พลังงานที่ร่างกายได้เผาผลาญไปในวันนั้นๆ จะมาจาก 3 ส่วน คือ 70% มาจาก Basal metabolic rate ซึ่งร่างกายจะปรับขึ้นลงโดยอัตโนมัติ 10% มาจาก Thermic Effect of food ซึ่งก็คือพลังงานที่ต้องใช้ในการย่อยอาหารที่เรากินเข้าไป โดยโปรตีนจะใช้พลังงานมากที่สุด และ อย่างสุดท้าย 20% เป็น Physical Activity ของเรานั่นเอง นั่งดูทีวี เดินไปทำงาน เดินไปซื้อกาแฟ พลังงานที่ใช้จะอยู่ในส่วนนี้ ซึ่งถ้าสมมติว่าคนๆหนึ่งใช้พลังงานต่อวันคือ 2,000 Kcal เท่ากับ พลังงานที่เกิดจากกิจกรรมนั้นจะอยู่ที่ราวๆ 300-400 Kcal เท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ประเด็นหลัก เพราะเรามีผลวิจัยมากมายที่ชี้ว่า ถ้าเรากินมากขึ้น พลังงานจะถูกเผามากขึ้นจาก (BMR + TEF ที่มากขึ้น)
.
การกินน้อยเพื่อลดน้ำหนัก (Caloric restriction) อาจจะได้ผลในช่วงแรก แต่ผลลัพธ์สุดท้าย ร่างกายจะปรับ BMR ให้ลดต่ำลงจากพลังงานที่เข้ามาน้อย เพราะร่างกายจะเข้าสู่โหมด starvation คือต้องสงวนพลังงานเอาไว้ใช้
.
ลองคิดภาพตามนะครับ ถ้าจริงๆแล้ว ร่างกายเราต้องใช้พลังงาน 2,000 kcal ต่อวัน แล้วเราทานวันละ 1,500 kcal ต่อวัน จนสุดท้ายร่างกายปรับ TEE มาเหลือ 1,500 kcal ต่อวัน นั่นแปลว่า Calories in - Calories out = 0 นั่นคือทางตันของน้ำหนักที่ลดแล้วใช่ไหมครับ ??? อันนี้คือจุดเริ่มต้นของ Yoyo effect ที่เราพยายามหลีกเลี่ยงนั่นเอง เพราะถ้าเรากินแค่วันละ 1,000 kcal ต่อวัน เราไม่สามารถทำได้ในระยะยาว เพราะร่างกายจะทรุดโทรมอย่างมาก จนสุดท้ายเราจะกลับมากินอย่างมากมาย และน้ำหนักจะขึ้นพรวดพราด และสิ่งที่เร็วร้ายที่สุดคือ การกู้ metabolic rate ให้กลับมาเท่าเดิม นั้นต้องใช้เวลานานมากครับ และนั่นถืงเป็นสาเหตุว่า ทำไมเวลาเกิน Yoyo effect แล้ว น้ำหนักถึงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมักกลับขึ้นเกินน้ำหนักเดิมที่ก่อนตั้งใจลดน้ำหนักเสียอีก
.
จากบทสรุปด้านบน อาจจะบอกได้จริงๆแล้ว ความอ้วน ไม่ได้มาจาก แคลอรี่ แล้ว ความอ้วน มาจากอะไร???
.
เมื่อเราเริ่มต้นหาจุดกำเนิดของความอ้วนที่เกิดขึ้นทั่วโลก เราจะพบว่าความอ้วนของมนุษย์พึ่งมาเกินในช่วงหลังราวๆสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ก่อนหน้านี้ประวัติศาสตร์ของความอ้วนมีอยู่เพียงกลุ่มเฉพาะ ไม่ได้เป็นโรคระบาดเหมือนในปัจจุบัน โดยความอ้วนที่เกิดแบบชุกที่สุดจะเกิดในชาติตะวันตก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อเราไปสังเกตว่าสิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในช่วงนี้ เราจะพบว่า "อาหาร" คือปัจจัยที่สำคัญที่สุด โดยอาหารที่ว่าก็คือ "บรรดาอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต + แป้ง" หรือ Fast food นั่นเอง ที่คนอเมริกันบริโภคกันอย่างมหาศาล แล้วตอนนี้เราจะเหมารวมว่า "แป้งหรือคาร์โบไฮเดรต" เป็นผู้ร้ายได้หรือไม่
.
ในขณะเดียวกันถ้าเราไปดูประเทศอย่างจีน หรือ ญี่ปุ่น ที่เรียกกว่ากินข้าวกันเป็นกระสอบในช่วงเวลาเดียวกัน ภาวะโรคอ้วนกลับไม่พบอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นผู้ต้องสงสัยที่เรากำลังหมายหัวอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว แสดงว่าต้องมีอะไรที่อยู่ในแป้งที่เรากำลังสงสัยอยู่
.
นั่นคือที่มาของคาร์โบไฮเดรตที่มีคำว่า unprocessed กับ processed นั่นเองครับ สิ่งที่คนอเมริกันกินประจำคือ processed carb หรือพวกบรรดาขนมปังเบอร์เกอร์ ขนมเค๊ก ในขณะที่คนเอเชียทาน ข้าวเจ้า หรือ unprocessed carb ความแตกต่างของการขัดสีแป้ง ทำให้พวกบรรดาใยอาหารต่างๆนั้นสูญหายไประหว่างการผลิตซึ่งถือเป็นจุดสำคัญที่สุดของเรื่องราว เพราะเมื่ออาหารที่ไม่มีกากใยย่อมดูดซึมได้ง่ายและเราจะทานได้มากกว่าปกติเพราะอิ่มยาก ในขณะที่อาหารที่มีกากใยทุกอย่างจะเกิดขึ้นในทางตรงกันข้าม ในคิดภาพ ระหว่างทานข้าวกล้อง กับ ขนมปัง ดูครับ จะเห็นได้ชัด
.
แต่ความแตกต่างที่มากที่สุดต่อ แป้ง 2 ชนิดนี้คือ ผลลัพธ์ของการกระตุ้นฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) นั่นเอง โดย processed carbohydrate จะทำให้อินซูลินหลั่งอย่างมากมาย เนื่องจากอินซูลินมีหน้าที่เก็บ กลูโคส (Glucose) หน่วยที่เล็กที่สุดของแป้งหลังจากผ่านการย่อยในระบบทางเดินอาหารเมื่อเข้าไปสู่ในกระแสเลือด โดยอินซูลินจะทำการเก็บกลูโคสไปไว้ในเซลล์เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดลง โดยที่ในขณะที่อินซูลินกำลังทำงาน สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ ร่างกายจะปิดระบบการเผาผลาญพลังงานด้วยไขมันในทันที ร่างกายจะใช้โหมด energy storage แทน อินซูลินที่หลั่งกำลังบอกเราเรากำลังเอาอาหารเข้าไปสะสมนั่นเองครับ ซึ่งอาหารที่เป็น unprocessed carbohydrate จะเกิดในลักษณะที่ใกล้เคียงกันแต่ความชันของกราฟการหลั่งอินซูลินนั้นจะต่ำกว่าและชันน้อยกว่ามาก ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในร่างกายเลยไม่เหมือนกัน
.
เราพอจะมองเห็นแล้วใช่ไหมครับว่า จริงๆแล้วผู้ต้องสงสัยจริงคือใคร ณ ตอนนี้ มันไม่ใช่ แป้ง ไม่ใช่ข้าว แต่มันคือ "น้ำตาล" (sugar) นั่นเอง เพราะน้ำตาลทำให้อินซูลินหลั่งอย่างรวดเร็ว อธิบายให้เห็นภาพว่า ถ้าเรากินน้ำอัดลม 3 กระป๋อง (600 kcal) กับ การทานข้าวกล้อง 600 kcal เช่นเดียวกัน ตัวเลขพลังงานเท่ากัน แต่ความอ้วนที่เกิดขึ้นไม่เท่ากันแน่นอน
.
ทีนี้เราอาจจะบอกว่า ในเมื่อสุดท้ายแล้ว ไม่ว่าจะแป้งอะไรก็ตามก็ต้องย่อยเป็นกลูโคสอยู่ดี แล้วมันจะแตกต่างกันได้อย่างไร เราอธิบายได้ด้วยเรื่องของกราฟการหลั่งอินซูลินด้านต้นนั่นเองครับ ยิ่งร่างกายหยุดหลั่งอินซูลินได้เร็วเท่าไรคือกลับมาแตะเลข 0 ร่างกายเราก็จะเปลี่ยนโหมดพลังงานจากการเก็บ (storage) ไปเป็นการใช้นั่นเองครับ ซึ่งจริงๆโทษของคาร์โบไฮเดรต เราอาจจะโทษน้ำตาลไม่ได้ แต่เราต้องไปโทษที่ ระบบการขัดสีหรือปรุงแต่งอาหาร (process) มากกว่าครับ อะไรก็ตามที่มีรูปร่างแตกต่างจากธรรมชาติมากเท่าไร นั่นแปลว่ายิ่งผ่านการแปรรูปมามากเท่านั้น ในอีกนัยยะคือยิ่งทำให้อินซูลินหลั่งมากขึ้นนั่นเอง
.
ทวนอีกครั้งนะครับ คร่าวๆ
อินซูลิน (Insulin) หลั่งมาก ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะสะสมพลังงาน เปลี่ยน glucose ให้กลายเป็น triglyceride (fat) ลดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis)
อินซูลิน ไม่หลั่ง ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะการใช้พลังงาน เกิดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis) เกิดการสร้างกลูโคสใหม่จากไขมัน (gluconeogenesis)
.
ผลลัพธ์ของการทำให้อินซูลินหลั่งมากและหลั่งอยู่ตลอดระยะเวลาเป็นเวลานานๆ คืออะไรครับ นั่นคือ ภาวะการดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) นั่นเอง และภาวะการดื้ออินซูลินคือจุดเริ่มต้นของปัญหาอีกทั้งปวงที่จะตามมา
.
同時也有8部Youtube影片,追蹤數超過8,540的網紅長谷川ろみの腸活研究所,也在其Youtube影片中提到,そばっておいしいよなぁ… 夏になるとつるつるっと冷たいざるそばを食べたくなります。 食欲増えちゃうなぁ…。 矛盾してますが、蕎麦ダイエットの成功のコツをまとめてみました。笑 -------------------------------------------------------------...
obesity effect 在 Facebook 的最佳貼文
[Prevention--- 8大最新減肥方法 話你知 #1] X [ 營養師Kathy]
我哋會每日出一個方法, 想減肥成功, 大家留意啦!
💥💥💥💥💥💥💥💥💥💥
吓!世界各地著名嘅體重控制Clinic的醫生權威,最新嘅8大減肥秘訣, 竟然唔係叫大家食啲乜嘢又或者做運動!!!! 究竟係乜嘢? 我哋會每日講一個重點, 因為係好值得我哋詳細啲講,好有用!
第一個 秘訣: "Know your 'why.'"
如果大家唔知自己點解要減肥....
1.為咗減而減, 沒有原因;
2. 為咗磅數而不斷掙扎,甚至忘記初衷點解要減肥;
就算減到都只能持續短期,又或多數反彈,唔能夠長遠保持理想體重。
💉For example:
因為想打針做咗body check, 然後發現有膽固醇高/過重, 所以決心努力令身體健康啲, 減低打針有side effect嘅機會, 知道咗目標,減肥一定成功!
你哋減肥有冇清晰嘅目標呀?
A.有
B.冇
Ethan Lazarus, M.D., obesity medicine physician at Clinical Nutrition Centre on Greenwood Village, CO
#Prevention
#最新減肥秘訣
#家營營養師
#營養師Kathy
👉我喺MeWe開咗fans page ar~
大家search "Kathy 營養師 身營心營" 就搵到㗎啦!
==================
「家營」營養中心
營養師幫您建立健康飲食習慣
每月$3,180,送相等月份保養期 (手機出示coupon,或講得出介紹人名可折至 $2,680),零雜費
可以選擇最夾自己嘅營養師咖!
銅鑼灣營養中心 Tel: 25034800
旺角營養中心 Tel: 35202640
http://kat-spirit.com/contact/
obesity effect 在 新思惟國際 Facebook 的精選貼文
Meta-analysis 的書,隨便買都厚厚一大本,光是 fixed-effect model 就一大章,都還沒講到 random-effects model 就想投降,更別說,後面還有 heterogeneity、subgroup analysis、publication bias 等。
但是,這就像我們去買汽車的教科書,光引擎原理就一大章,還沒講到缸內直噴、渦輪增壓、油電混合就投降,更別說後面的傳動系統、主被動安全、自動駕駛。
不過,難的是懂「汽車原理」,如果只想學會「開車」,並不難。難的是懂「meta-analysis 公式與理論」,如果只想學會「發表 meta-analysis 文章」,並不難。
從「學問」的角度去看,那可是一片森林,人家「寫教科書」的,自然應該全部涵蓋。
但我們在這浩瀚森林中,不過是個「採香菇」的,你只要知道在哪裡可以找到香菇、應該怎麼採、如何避免採到毒菇,然後順利的把香菇帶到市場上賣,就行。
延續這樣的概念,如果我們反過來,不從 meta-analysis 的理論與公式教,而從「剛開始發表 meta-analysis」所需要知道的統計項開始教呢?
就像教了油門、煞車、方向燈之後,讓你先上路,在安全的環境逐漸熟悉。駕輕就熟之後,有了自信,你想學任何汽車的原理甚至改裝,自然水到渠成。
這堂課,我們不講複雜理論,只講實際應用的重要概念。減少混亂,化繁為簡。
雖說是「簡」,但在寫作、投稿、審閱過程中,重要的眉角,依然將以最實用的角度,與您分享。
【以發表 SCI 為學習目的,一天學會統合分析的技能!】
⠀⠀
✓ Meta-analysis 研究規劃技巧:以指定論文為例
✓ 拆解論文架構:照這樣做,最容易。
✓ 那些重要的專有名詞:Meta-analysis 重要數值
✓ 互動實作時間:完成一套 Meta-analysis 圖表
✓ 我是怎麼搜尋文獻的:以發表為導向
✓ Meta-analysis 圖表優化重點
✓ 給初學者的起步建議:減少卡關,邁向成功。
⠀⠀
🚩 無經費、無資源者的起步首選
⠀⠀
最新梯次|7 / 31(六)統合分析工作坊
瞭解課程|https://meta-analysis.innovarad.tw/event/
[快訊] 蔡宗佑醫師團隊,關於口腔癌淋巴結的預後價值之統合分析,獲 The Laryngoscope 刊登!
[快訊] 羅乾鳴醫師團隊,關於食道切除術使用單腔氣管內管之統合分析,獲 Journal of Cardiothoracic Surgery 刊登!
[快訊] 許智維醫師團隊,關於出生月與心理疾患關聯之健保資料庫與統合分析研究,獲 Acta Psychiatrica Scandinavica 刊登!
[快訊] 楊大緯醫師團隊,關於 X 光偵測上消化道異物之統合分析,獲 Diagnostics 刊登!
[快訊] 黃暉凱醫師團隊,關於 COVID-19 患者,BMI 與死亡率成 J 型關聯的統合分析,以致編者信形式,獲 Diabetes, Obesity & Metabolism 刊登!
⠀⠀⠀⠀
《#統合分析工作坊》,就是根據「統計不同」與「資源較少」,所提出的 solution。用新思惟一貫的高品質課程規劃,與高效率教學方法,加上廣獲好評的互動實作,以往的三大研究課程,已經帶出非常多學術起飛的校友。
⠀⠀
🎖 【年度回顧】新思惟研究課程之友,2020 年共 689 篇論文發表!
🎖 2021 年 4 月新思惟校友總計 96 篇發表,其中 11 位是首篇論文發表!
⠀⠀
無論你是想從 0 到 1 的完全新手,或是想提高論文量產的資深老手,現在正是把握 meta-analysis 的好時機!
越來越多年輕醫師,願意在繁忙訓練的同時,盡早奠定研究基礎、學會寫作技能,讓自己往後的醫學職涯,邁向更好的發展。⠀⠀
【學員評價】
真希望在醫學生或實習醫師時期就有機會上新思惟。
上完課,馬上就可以開始寫統合分析!
跟著講師的經驗走,這條路,最短、最快!
經驗豐富的講者,才能把複雜概念簡單化!
我要發表|7 / 31(六)統合分析工作坊
立即報名|https://meta-analysis.innovarad.tw/event/
obesity effect 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最讚貼文
そばっておいしいよなぁ…
夏になるとつるつるっと冷たいざるそばを食べたくなります。
食欲増えちゃうなぁ…。
矛盾してますが、蕎麦ダイエットの成功のコツをまとめてみました。笑
-----------------------------------------------------------------------
▼参考文献
-----------------------------------------------------------------------
そばの栄養学から健康を考える
https://www.chemistry.or.jp/journal/ci20p920-922.pdf
ルチンを多く含むダッタンソバ「満天きらり」加工品の体脂肪率上昇抑制効果
https://www.naro.go.jp/project/results/4th_laboratory/harc/2016/16_039.html
Rutin ameliorates obesity through brown fat activation
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/28049156/
Effect of tartary buckwheat, rutin, and quercetin on lipid metabolism in rats during high dietary fat intake
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/31993146/
Rutin and Its Combination With Inulin Attenuate Gut Dysbiosis, the Inflammatory Status and Endoplasmic Reticulum Stress in Paneth Cells of Obese Mice Induced by High-Fat Diet
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/30455677/
Antioxidative Activities in Rutin Rich Noodles and Cookies Made with a Trace Rutinosidase Variety of Tartary Buckwheat (Fagopyrum tataricum Gaertn.), ‘Manten-Kirari’
https://www.jstage.jst.go.jp/article/fstr/22/4/22_557/_html/-char/ja
-----------------------------------------------------------------------
▼関連動画
-----------------------------------------------------------------------
食べるだけで-12kg痩せる蕎麦!ダイエット講師が教えるどれだけ食べても太らない蕎麦【十割そば】
https://www.youtube.com/watch?v=8V5AmHroPY0
絶対食べろ!これを食べるとめちゃ体重減ります!【日体大准教授】
https://www.youtube.com/watch?v=or9KhsdZGWQ
【蕎麦ダイエット】2週間蕎麦で減量をしてみました[ぼっち筋トレVlog]
https://www.youtube.com/watch?v=N2-Y1QyCxF0
【劇的に痩せるダイエット食】半年で113→76kgまで体重が減った神食材!!
https://www.youtube.com/watch?v=I-ed9VOW058
痩せる蕎麦と痩せない蕎麦はここが違う!
https://www.youtube.com/watch?v=EcpY1Z5FnBo
-----------------------------------------------------------------------
▼免責事項
-----------------------------------------------------------------------
※各動画内で紹介している方法は、いかなる効果をも確実に保証するものではありません。従って、いかなる場合でも動画制作者は一切の責任を追うものではございません。実行の際は、各自の責任と判断のもとで行ってくださるようお願いいたします。
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
※以上をご留意のうえ、ぜひご自身の健康や腸内環境、そして腸内細菌に向き合う時間をほんの数分でも増やしていただけますと幸いです。
-----------------------------------------------------------------------
▼連絡先等
-----------------------------------------------------------------------
腸活に関するご相談やお仕事依頼:hasegawaromi63@gmail.com
(個人用SNS)
Twitter: https://twitter.com/hasegawaromi/
Instagram: https://www.instagram.com/hasegawaromi/
メディア: https://www.chounaikankyou.club/
活動概要:https://lit.link/hasegawaromi
#蕎麦
#ダイエット
#腸活
obesity effect 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的精選貼文
「お蕎麦は健康にいい」ってよく聞きませんか?
そこには明確な理由が…そして、蕎麦は健康にいいだけじゃなく、健康的に痩せるダイエットツールとしてもかなり使えるシロモノです。もちろん腸活にもバッチリ!今回はそんなお話をしてみました。
-----------------------------------------------------------------------
▼参考文献
-----------------------------------------------------------------------
そばの栄養学から健康を考える
https://www.chemistry.or.jp/journal/ci20p920-922.pdf
ルチンを多く含むダッタンソバ「満天きらり」加工品の体脂肪率上昇抑制効果
https://www.naro.go.jp/project/results/4th_laboratory/harc/2016/16_039.html
Rutin ameliorates obesity through brown fat activation
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/28049156/
Effect of tartary buckwheat, rutin, and quercetin on lipid metabolism in rats during high dietary fat intake
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/31993146/
Rutin and Its Combination With Inulin Attenuate Gut Dysbiosis, the Inflammatory Status and Endoplasmic Reticulum Stress in Paneth Cells of Obese Mice Induced by High-Fat Diet
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/30455677/
Antioxidative Activities in Rutin Rich Noodles and Cookies Made with a Trace Rutinosidase Variety of Tartary Buckwheat (Fagopyrum tataricum Gaertn.), ‘Manten-Kirari’
https://www.jstage.jst.go.jp/article/fstr/22/4/22_557/_html/-char/ja
-----------------------------------------------------------------------
▼関連動画
-----------------------------------------------------------------------
食べるだけで-12kg痩せる蕎麦!ダイエット講師が教えるどれだけ食べても太らない蕎麦【十割そば】
https://www.youtube.com/watch?v=8V5AmHroPY0
絶対食べろ!これを食べるとめちゃ体重減ります!【日体大准教授】
https://www.youtube.com/watch?v=or9KhsdZGWQ
【蕎麦ダイエット】2週間蕎麦で減量をしてみました[ぼっち筋トレVlog]
https://www.youtube.com/watch?v=N2-Y1QyCxF0
【劇的に痩せるダイエット食】半年で113→76kgまで体重が減った神食材!!
https://www.youtube.com/watch?v=I-ed9VOW058
痩せる蕎麦と痩せない蕎麦はここが違う!
https://www.youtube.com/watch?v=EcpY1Z5FnBo
-----------------------------------------------------------------------
▼免責事項
-----------------------------------------------------------------------
※各動画内で紹介している方法は、いかなる効果をも確実に保証するものではありません。従って、いかなる場合でも動画制作者は一切の責任を追うものではございません。実行の際は、各自の責任と判断のもとで行ってくださるようお願いいたします。
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
※以上をご留意のうえ、ぜひご自身の健康や腸内環境、そして腸内細菌に向き合う時間をほんの数分でも増やしていただけますと幸いです。
-----------------------------------------------------------------------
▼連絡先等
-----------------------------------------------------------------------
腸活に関するご相談やお仕事依頼:hasegawaromi63@gmail.com
(個人用SNS)
Twitter: https://twitter.com/hasegawaromi/
Instagram: https://www.instagram.com/hasegawaromi/
メディア: https://www.chounaikankyou.club/
活動概要:https://lit.link/hasegawaromi
#蕎麦
#ダイエット
#腸活
obesity effect 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最佳貼文
絶対これ、腸にやさしいやつやん…
っていう腸活ダイエットカレーを作りました。笑
前回、スパイスとか材料をカルディで買ってきたので
前編もみてね(*´▽`*)
↓コレ
https://youtu.be/ara-QS9jl4Y
今回は実際に作って食べてみています。
#ダイエット
#ダイエット食事
#腸活
-----------
▽長谷川ろみの活動概要
・元おデブ-20kg/アラフォー
・発酵ライフ推進協会 通信校 校長 &プロデュース
・東京商工会議所認定 健康経営アドバイザー
・腸活メディア「腸内革命」編集長 & 講師
・著書「発酵菌早わかりマニュアル」
・2019/6~腸活youtuber始めました!
↓こっそり裏チャンネルやってます
https://www.youtube.com/channel/UCyyarsrT2I1U5L94elPeHsA/join
Twitter:https://twitter.com/haseromi
Instagram:https://www.instagram.com/hasegawaromi/
-----------
▼関連動画
【朝カレー×ダイエット】カレーダイエットが終わりました。やってみたら意外な結果に!?
https://www.youtube.com/watch?v=c-bC-yk8s8A
【減量飯】ゆりやんが30キロのダイエットに成功した超簡単、激ウマのご飯です。
https://www.youtube.com/watch?v=rXvQ0mGjeZA
-34kg痩せた"ゆりやんレトリィバァ"さんのダイエットカレーを再現してみた!【レシピ】
https://www.youtube.com/watch?v=IMVQC9B22po
【スパイスカレーvlog】5ヶ月間スパイスカレーを食べてダイエット効果は?健康面は?5ヶ月カレー食べた僕が教えます。
https://www.youtube.com/watch?v=vqyfdZywbyo
【ダイエット中でも食べれる】痩せるカレーが最強すぎる!【ヘルシーレシピ】
https://www.youtube.com/watch?v=HKKAevyJzeQ
▼参考論文&研究
Spices in a High-Saturated-Fat, High-Carbohydrate Meal Reduce Postprandial Proinflammatory Cytokine Secretion in Men with Overweight or Obesity: A 3-Period, Crossover, Randomized Controlled Trial
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32211803/
Effects of dietary fat on gut microbiota and faecal metabolites, and their relationship with cardiometabolic risk factors: a 6-month randomised controlled-feeding trial
https://gut.bmj.com/content/68/8/1417
The Effect of Cumin cyminum L. Plus Lime Administration on Weight Loss and Metabolic Status in Overweight Subjects: A Randomized Double-Blind Placebo-Controlled Clinical Trial
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5065707///
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
obesity effect 在 The Effects of Obesity on Your Body - Healthline 的相關結果
Being overweight or having obesity greatly increases the risk of stroke, where blood stops flowing to your brain. Obesity can also have a profound effect on ... ... <看更多>
obesity effect 在 Obesity - NHS 的相關結果
Read about obesity and how it can seriously affect your health. Ways to lose weight safely include eating a healthy, reduced-calorie diet and exercising ... ... <看更多>
obesity effect 在 The Health Effects of Overweight and Obesity | Healthy Weight ... 的相關結果
The Health Effects of Overweight and Obesity · All-causes of death (mortality) · High blood pressure (Hypertension) · High LDL cholesterol, low HDL cholesterol, or ... ... <看更多>