หุ้น Amazon : “วันนี้ยังคงเป็นวันนับหนึ่ง” วลีเด็ดเเห่งยักษ์ใหญ่ ecommerce
AMZN-Amazon.com,Inc.
Price : 3306.37$ (07/05/2021)
PE(FWD) : 61.17
Market cap : 1.65 ล้านล้านเหรียญ
Amazon.com ยักษ์ใหญ่เเห่งอาณาจักรค้าปลีกออนไลน์ ที่สร้างความเปลี่ยนเเปลงให้กับยุคสมัย โดยผู้ก่อตั้งนามว่า “เจฟ เบซอส” เจฟ เป็นคนที่มีวิสัยทัศน์ ในเเง่ของธุรกิจเเละ การลงทุนอย่างมาก ถ้าใครได้ติดตามเขา จะรู้ว่า เจฟ มีประโยคเด็ด ในการประชุมผู้ถือหุ้นเสมอ ถ้าได้อ่านรายงานการประชุมทุกปี คือ “Day1”
เจฟ นำหลักเเนวความคิดว่า “Day1” มาใช้ ทั้งในการสร้างธุรกิจ เเละ สร้างวัฒนธรรมองค์กร ให้คนในบริษัทมองว่า เรายังเป็นเเค่เพียงวันเเรก ที่ต้องเริ่มต้นทำสิ่งใหม่ๆ เเละ ไม่หยุดพัฒนาตัวเองเสมอ
ซึ่งได้มีคนมาถามเขาเหมือนกันว่า “เเล้วเมื่อไหร่จะ Day2 หละเจฟ?” (ซึ่งก็เป็นคำถามที่น่าสนใจเหมือนกัน555555)
เจฟบอกว่า Day2 จะทำให้เป็นเหมือนบริษัทใหญ่ๆ หลายบริษัท ที่คิดว่าตนเองสำเร็จเเล้ว เเละยึดกับความสำเร็จเดิมๆ ทำให้เขามองว่าน่ากลัวมาก เพราะ จะทำให้เราไม่ก้าวไปไหน
นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งเเนวคิดที่ตอกย้ำความสำเร็จให้เขาเเตกต่างจากคู่เเข่งรายอื่นๆ ก็คือ “Customer Centric” หรือ การใช้ลูกค้าเป็นจุดศูนย์กลาง ทำให้เขาสามารถคิดค้นนวัตกรรมฝหม่ๆ มาให้ลูกค้าก่อนที่ลูกค้าจะรู้ตัวเสียอีก อย่าง การทำ Amazon prime ,AWS(Amazon Web Service ) ,Kindle , Amazon fullfillment เเละอีกมากมาย
ซึ่งเจฟได้ให้ความเห็นอันนี้ต่อ การ disruption ว่า อีกสิบปีผ่านไป สิ่งหนึ่งที่ตะไม่เปลี่ยนก็คือ ลูกค้า คุณต้องหาว่าลูกค้าต้องการอะไร ที่ดีที่สุด เเล้วคุณจะไม่กลัวการ disrupt เลย เพราะเราจะหาสิ่งที่ดีที่สุดมาให้ลูกค้าอยู่เเล้ว ซึ้งนั้นมักจะเป็นนวัตกรรมไปในตัว
โดยเจฟ ทำให้ Amazon.com ที่เป็นบริษัทที่ขาดทุน(ทางบัญชี) มานานหลายสิบปี เเต่ มีกระเเสเงินสดค่อนข้างสูงเลยทีเดียว เพราะเขามักจะนำ เงินจากกำไรเพื่อไปลงทุนต่อ เพราะเขาเขื่อ ว่า สิ่งที่สำคัญในการลงทุนเเละทำธุรกิจคือการมอง ยาวๆ เเละ การลงทุนเพื่อไปสร้างกระเเสเงินสดในอนาคตซึ่งนับว่าสำคัญกว่า ตัวเลขกำไรทางบัญชีในปัจจุบัน
เพื่อนๆ จะเห็นว่า เเนวความคิดที่เขาได้เเสดงออกมาย้ำให้เห็นถึง ความใส่ใจในรายละเอียด เเละ พร้อมสู่ชัยชนะ อย่างมาก พร้อมทั้งความรู้ความเข้าใจต่อเเนวความคิดในการลงทุนระยะยาวอีกด้วย
.........
งั้นเรากลับเข้าเรื่องดีกว่า ว่า เเล้วหุ้น Amazon.com จะยังคงน่าลงทุนอยู่หรือไม่?
การจะลงทุนได้นั้น คงต้องมองจากปัจจัยว่า บริษัทนี้ยัง เติบโตได้หรือไม่ เเละ จะยังสามารถเเข่งขันในตลาดอันดุเดือดนี้ได้ในระยะยาวหรือไม่
ทีนี้มาดูกันว่าโครงสร้างได้ Amazon ประกอบด้วยอะไรบ้าง....
•retail product
•retail third party seller
•AWS
•subscription
•others (ads,cobranded,..etc)
...........
ซึ่งในQ1 2021 ทุกคนน่าจะได้เห็นเเล้วว่า รายได้ยังเติบโตถึง 44% เเละ มีกำไรเติบโตถึง 3หลัก จาก 2.5พันล้านเหรียญไป ถึง 8.1 พันล้านเหรียญ!!
เพราะมีการเติบโตจาก ทั้ง ผู้ใช้งานที่เพิ่มขึ้น จากปัจจัยสนับสนุนของโควิด19 เเละ การเข้ามาของผู้ขายที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้ ผู้ใช้งานได้รับความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ไปอีก
ในฝั่งของ ธุรกิจ startup ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ก็ยังทำให้ AWS ของ amazon เติบโตได้อย่างดี ซึ่งให้บริการด้าน cloud computing ซึ่งกิน market share ถึง 32% อันดับหนึ่งของโลก (Azure ของ microsoft เป็นอันดับ2 ที่20%) เพราะเเม้เเต่ Airbnb ,Netflix ก็ใช้ของ AWS
........
ในเเง่ของความยั่งยืนของตัวธุรกิจ ย่อมเกิดจาก เเนวความคิด ของ เจฟ ที่ได้สร้างไว้ว่า ผู้บริโภคเป็นตัวตั้ง เมื่อเป็นเช่นนั้นเเล้ว Amazon เเทบไม่ได้สนว่าคู่เเข่งจะทำอะไร กลับกัน มองว่าผู้บริโภค ต้องการอะไรมากขึ้นเรื่อย เเละ สร้างนวัตกรรมให้ผู้บริโภคใช้งานได้ง่ายขึ้นสะดวกขึ้น
จึงมีปราการที่ค่อนข้างชัดเจน ในเเง่การเปลี่ยนเเปลงของผู้บริโภคไปใช้คนอื่น(switching cost)
........................................
ติดตามข้อมูล เศรษฐกิจ การลงทุนในต่างประเทศ ในไทย ได้ที่คุยการเงินกับที
........................................
Ref :
หนังสือ invent & Wander
Amazon Q1 2021 earnings report
https://www.investopedia.com/amazon-q1-2021-earnings-report-recap-5181230
AWS market share
https://www.statista.com/chart/18819/worldwide-market-share-of-leading-cloud-infrastructure-service-providers/
Amazon: The Most Clearly Undervalued Company
https://seekingalpha.com/article/4424794-amazon-clearly-undervalued-company
Trin T
amazon kindle customer service 在 Instagram.com/cuddle.thereader Facebook 的最讚貼文
Xin chào 🤓
Đây là review cuốn The diary of a bookseller 📚
#cuddlereads
➖➖➖
Chẳng nhớ vì sao lúc ấy tớ lại chọn cuốn này nữa, có lẽ là chọn bừa trong số những cuốn có trên Kindle thôi, nhưng em nó hóa ra lại là một sự lựa chọn không hề tệ chút nào anh em ạ. Có lẽ cái tựa đề đã gợi Chi nhớ tới mơ ước hồi bé, là mở một hiệu sách của riêng mình, ngày ngày không lo nghĩ gì, chỉ ngồi đọc sách. Lớn lên mới thấy cái vế giữa thật là không thể =))
Anh em có bao giờ tự hỏi về cuộc sống của một người bán sách cùng sự khác biệt của nghề bán sách ngày trước và bây giờ—thời đại thương mại điện tử phát triển, người người nhà nhà mua sách online không? Cuốn này có thể sẽ giúp anh em hình dung phần nào những điều vui buồn, cùng những khó khăn họ phải đối mặt đó.
Cuốn này được viết dưới dạng nhật kí ghi chép lại mỗi ngày về công việc mua bán sách, các vị khách, số lượng đơn hàng trong ngày của The Bookshop – hiệu sách cũ lớn nhất Scotland. Tác giả, cũng chính là chủ hiệu sách, Shaun Bythell kể chuyện khá là duyên, vừa đủ chân thành, vừa đủ hài hước châm biếm.
Những ngày ở hiệu sách, chúng ta sẽ được tiếp xúc với muôn vàn kiểu khách hàng mua sách. Khách tới mua, khách chỉ xem không mua, khách hàng là trẻ con tới và để lại những mớ hỗn độn, và đặc biệt, như thể là đặc sản của những hiệu sách, đó là những khách hàng với những câu hỏi kì lạ. Những phần này mang lại cảm giác như hồi tớ đọc cuốn ‘Những điều khó đỡ khách hàng nói trong hiệu sách’, buồn cười và khó đỡ lắm, kiểu vừa hơi ngô nghê lại vừa bực bực sao ấy, nhưng gây cười thì không phải bàn. Tớ rất thích những ngày người đọc được theo chân Shaun đi đến nhà riêng của khách để mua lại sách cũ của họ, thường là người thân muốn bán đi những cuốn sách của người quá cố. Nhìn vào kệ sách, ta sẽ biết được gu đọc của một người, cũng như phần nào tính cách của người đó, và những giây phút lặng lẽ khi Shaun lái xe trở về hiệu sách cùng thùng sách đã mua, như thể đem theo một phần của người ấy về cùng vậy.
Với tớ thì cuốn này không quá đặc sắc, nhưng tớ yêu cái bầu không khí ngập tràn mùi sách của nó, cũng như cái nhịp điệu bình yên nơi hiệu sách cũ. Mỗi ngày đọc trước khi đi ngủ, sẽ dễ chịu lắm đó anh em.
➖➖
Cùng Shaun Bythell sống cuộc đời của một người bán sách tại hiệu sách cũ lớn nhất Scotland, vui vẻ và khó khăn luôn đồng hành...
➖
「WEDNESDAY, 14 JANUARY
Online orders: 5
Books found: 4
Before I opened the shop, I dropped off the van at the garage for a service. I had forgotten about it, so it meant we had no vehicle and couldn’t visit Jessie. When I told Vincent that Jessie was in hospital, he assured me that he would service the van as quickly as possible.
The Shearings coach tour turned up at about 11 a.m. Normally a swarm of miserly pensioners shuffles from the bus and invades the shop. They never buy anything, grab everything that’s free and complain about the prices, but today the only one who came in was a young woman who was polite and interesting and even bought some books. I asked her if they had kidnapped her. She looked blankly back at me, then slowly backed towards the door.
In the afternoon a customer spent about an hour wandering around the shop. He finally came to the counter and said, ‘I never buy second-hand books. You don’t know who else has touched them, or where they’ve been.’ Apart from being an irritating thing to say to a second-hand bookseller, who knows whose hands have touched the books in the shop? Doubtless everyone from ministers to murderers. For many that secret history of provenance is a source of excitement which fires their imagination. A friend and I once discussed annotations and marginalia in books. Again, they are a divisive issue. We occasionally have Amazon orders returned because the recipient has discovered notes in a book, scribbled by previous readers, which we had not spotted. To me these things do not detract but are captivating additions – a glimpse into the mind of another person who has read the same book.
Till total £77.80
8 customers」
➖➖➖
⭐️⭐️⭐️⭐️ 4/5
#bookstagram #bibliophile #bookstagramvn #thediaryofabookseller
amazon kindle customer service 在 Do not tell my boss Facebook 的最佳解答
รู้จักเฮีย...
» ถอดรหัสความคิด พิชิต 2.36 ล้านล้าน ของ Jeff Bezos แห่ง Amazon.com
ในปี 1997 Jeff Bezos นำบริษัท Amazon ซึ่งเป็น online retailer ที่ก่อตั้งมาได้สองปี (มียอดขาย 150 ล้านเหรียญ จาก ลูกค้า 1.5 ล้านคน) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ NASDAQ เพื่อระดมเงินทุนมาขยายกิจการ
ในหนังสือชี้ชวนให้นักลงทุนมาซื้อหุ้นของบริษัท Jeff Bezos ให้ความเห็นอย่างชัดเจนว่า Amazon ไม่มีความประสงค์ที่จะทำกำไรในช่วงห้าปีข้างหน้า!
เพราะ Amazon มีแผนที่จะขยายกิจการขนานใหญ่อย่างไม่หยุดยั้ง และเงินที่ขยายกิจการมาจากกระแสเงินสดของบริษัทประกอบกับการสร้างหนี้ก้อนใหญ่เพื่อสานฝันให้เป็นจริง
::::::::::::::::::
มีนักลงทุนถาม Jeff Bezos ว่าทำไมบริษัทถึงให้ความเห็นเช่นนั้นในหนังสือชี้ชวน มันเท่ากับเป็นการฆ่าตัวตาย เพราะจะมีนักลงทุนหน้าไหนอยากซี้อหุ้น IPO ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าบริษัทนี้จะขาดทุนติดต่อกันอย่างน้อยห้าปี
Jeff Bezos ตอบคำถามว่า...บริษัทต้องพูดความจริงให้นักลงทุนรับรู้ว่าอะไรคือยุทธศาสตร์ของธุรกิจภายใต้การดูแลของเขา
เขายกคำพูดของ Warren Buffet มาตอบได้อย่างเห็นภาพ...
“คุณสามารถจัด Rock concert ก็ได้ถ้าคุณอยากทำ หรือคุณอยากจัด Ballet show ก็ได้ถ้านั่นเป็นสิ่งที่คุณสนใจที่จะทำ แต่สิ่งที่คุณไม่ควรทำคือคุณจัด Rock concert แล้วโฆษณาว่าเป็น Ballet show”
และนี่เป็นความรับผิดชอบของบริษัทมหาชนอย่าง Amazon ที่ต้องให้นักลงทุนทราบถึงความชัดเจนว่าเราจะจัด Rock concert หรือ Ballet show
ดังนั้นใครที่สนใจลงทุนกับ Amazon จะได้ไม่มีความผิดหวังในผลตอบแทนระยะสั้น
::::::::::::::::
ในสิบปีแรก...หุ้นของ Amazon มีราคาที่ต้อยเตี้ยต่ำมาก เพราะสิ่งที่ Jeff Bezos ทำคือลงทุนอย่างบ้าคลั่งในระบบโครงสร้างพื้นฐาน
ด้วยการสร้างคลังเก็บสินค้า ลงทุนในเรื่อง R&D การพัฒนาบุคคลากร สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ และการควบรวมกิจการ
ทำให้ทุกวันนี้ Amazon ขายสินค้าตั้งแต่สากกะเบือยันเรือรบ
กว่า Amazon จะทำกำไรก็ปาเข้าไปในปี 2003 เป็นปีที่เจ็ดที่เข้าตลาดหุ้น และมีผลกำไรเพียงน้อยนิด
มีคนถาม Jeff Bezos ว่า อะไรคือปรัชญาในการทำธุรกิจของเขา เขาตอบว่ามันเกิดจากคำเพียงสามคำ
1. Vision - วิสัยทัศน์
2. Customer obsession แปลเป็นไทยว่า มีความหลงใหลที่จะทำสิ่งดี ๆ ให้กับผู้บริโภค
3. Take a long term view - เป็นคนมองการณ์ไกล
::::::::::::::::::
1. Vision
Jeff Bezos ขยายความคำว่า "วิสัยทัศน์" ว่า องค์กรต้องมีความดื้อที่จะยึดติดกับสิ่งที่ตนเองเชื่อ ใจต้องไม่วอกแวก
“We are stubborn on vision. We are flexible on detail”
แปลเป็นไทยว่า...ความฝันไม่เคยเปลี่ยน ที่ต้องการเป็น Online retailer ที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่ Amazon มีความยืดหยุ่นกับรายละเอียด ความหมายคือเส้นทางของการเดินเข้าหาเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนได้
--
2. Customer Obsession
บริษัท Amazon ให้ความสำคัญกับเรื่องนวัตกรรมของสินค้าและบริการ ตัวอย่างของนวัตกรรมอันหนึ่งคือผลิตภัณฑ์ Kindle ซึ่งเป็น E book reader
ในประเด็นเรื่องนวัตกรรม Jeff Bezos มีหลักการง่าย ๆ อยูู่ประการหนึ่งคือกล้าลองผิดลองถูก
เขาให้ความเห็นว่า “If you double the number of experiments you do per year you’re going to double your inventiveness”
ถ้าคุณเพิ่มอัตราของการทดลองทำอะไรใหม่เป็นปริมาณสองเท่า เท่ากับว่าคุณเพิ่มนวัตกรรมให้กับองค์กรของคุณในอัตราเดียวกัน
--
3. Take a long term view
Jeff Bezos บริหารธุรกิจโดยมุ่งที่ผลระยะยาว เขาอธิบายตรรกะของเขาไว้ได้ดีมาก เขาบอกว่าถ้า Amazon มุ่งเป้าที่ผลประกอบการระยะสั้นเท่ากับ Amazon ต้องแข่งขันกับคู่แข่งเป็นร้อยบริษัท
แต่ถ้าเขามีนโยบายการลงทุนที่หวังผลระยะยาว นั่นเท่ากับว่า Amazon มีคู่แข่งเพียงกระหยิบมือเดียว เพราะมีน้อยบริษัทที่กล้าคิดแบบนี้
ด้วยหลักคิดอันนี้ทำให้ Amazon กล้าลงทุนพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ อย่างเช่น Kindle หรือ โครงสร้างพื้นฐานของ Web service
หว่านเมล็ดลงดินด้วยความเชื่อมั่น แล้วยินดีรอคอยให้ต้นกล้าค่อย ๆ โตเป็นเวลาห้าถึงเจ็ดปี แล้วค่อยเก็บเกี่ยวผลผลิต
--
ด้วยความที่ Jeff Bezos ให้ความสำคัญกับการสร้างอัตราการเติบโตระยะยาวมากกว่าคาดหวังกำไรระยะสั้น นี่เป็นปัจจัยที่สร้าง Amazon สู่ความเป็นผู้นำตลาด
ผลของการลงทุนอย่างบ้าคลั่งในสิบปีแรกทำให้เกิด Exponential growth ให้กับ Amazon ในทุกวันนี้
ถ้าพูดให้เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย ๆ มันคือหลักการอดเปรี้ยวไว้กินหวาน
::::::::::::::::::
อะไรคือผลตอบแทนของการเป็นคนสายตายาวของ Jeff Bezos
ในปี 2013 ประมาณการของยอดขายมีมูลค่า 75,000 ล้านเหรียญ
ราคาหุ้นของ Amazon ในวันนี้สร้างผลตอบแทนมีมูลค่าเพิ่มขึ้น 12,397% เทียบกับราคา IPO เมื่อปี 1997
ซึ่งถ้าวัดเทียบกับมูลค่าเฉลี่ยของตลาดหุ้น NASDAQ เพิ่มขึ้นเพียง 100% ในระยะเวลาเดียวกัน
และ Price earning ratio ของหุ้น Amazon มีค่าเท่ากับ 180 เท่า ความหมายคือเป็นหุ้นที่มีราคาแพงมาก เพราะทุกคนมีความเชื่อว่า Jeff Bezos ยังสามารถสร้างการเติบโตแบบก้าวกระโดดให้กับองค์กรได้อีก
ในปี 2013 Jeff Bezos ให้ความเห็นกับผู้ถือหุ้นในรายงานประจำปีของบริษัทว่า หลักคิดสำคัญของ Amazon ที่พาองค์กรมาได้ไกลขนาดนี้คือ
Take a long term view and the interests of customer and shareholders align. Our approach remains the same, and it’s still Day 1
เราบริหาร Amazon โดยมุ่งผลระยะยาว ให้ความใส่ใจทั้งประโยชน์ลูกค้าและผู้ถือหุ้น นี่เป็นหลักการที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลง และวันนี้เปรียบเสมือนวันแรกที่เราก่อตั้งบริษัท
::::::::::::::::::
Credit : แกะดำทำธุรกิจ - ประเสริฐ เอี่ยมรุ่งโรจน์
#Life101Page #Amazon #JeffBezos #แกะดำทำธุรกิจ
amazon kindle customer service 在 How to Contact Amazon Customer Service: Phone, Email, Chat 的相關結果
Amazon 's customer service phone number is 1-888-280-4331, and that number is live 24 hours a day, seven days a week. But calling Amazon often ... ... <看更多>
amazon kindle customer service 在 Kindle customer service - GetHuman 的相關結果
I deactivated my kindle to set it up with my new Amazon Account and lost all my books... Hi I bought * kids kindles tied to my amazon account. I have a Kindle ... ... <看更多>
amazon kindle customer service 在 Customer Service - Amazon.com 的相關結果
沒有這個頁面的資訊。 ... <看更多>