Rick Guerin นักลงทุนที่ บัฟเฟตต์ เคยยกย่อง แต่โลกลืม /โดย ลงทุนแมน
เมื่อพูดถึงนักลงทุนรุ่นเก๋า เราก็น่าจะคุ้นเคยกับสองคู่หูแห่ง Berkshire Hathaway
คือ Warren Buffett และ Charlie Munger
ทั้งคู่ถือเป็นนักลงทุนต้นแบบด้านการลงทุนแบบเน้นคุณค่า
จากการที่อยู่ในตลาดหุ้นมาแล้วหลายทศวรรษและยังประสบความสำเร็จ
รวมถึงเป็นผู้คอยให้คำแนะนำแก่เหล่านักลงทุนหน้าใหม่
แต่รู้หรือไม่ว่า ก่อนหน้านี้ในปี 1970 Berkshire Hathaway ยังมีหุ้นส่วนอีกคนหนึ่ง
มีชื่อว่า “Rick Guerin” ผู้ที่ได้รับการยกย่องจาก Buffett ว่าเป็นคนที่เฉลียวฉลาดที่สุดในกลุ่ม
โดยกองทุนที่เขาบริหารส่วนตัวสามารถสร้างผลตอบแทนเฉลี่ยถึง 33% ต่อปี
ติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนานถึง 19 ปีด้วยกัน
แล้วทำไมอยู่ดี ๆ เขาถึงกลายเป็นนักลงทุนที่ถูกลืม ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Rick Guerin เกิดที่ลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 1929
เขาเริ่มทำงานตั้งแต่อายุ 6 ขวบ โดยประกอบอาชีพเป็นคนส่งน้ำแข็งและหนังสือพิมพ์
Guerin ได้เข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัย สาขาเอกคณิตศาสตร์
และเมื่อจบการศึกษา เขาก็ได้เข้าทำงานเป็นเซลส์แมนที่ IBM
หลังจากนั้นจึงได้เข้าสู่วงการนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
แม้ว่า Guerin จะย้ายมาทำงานในแวดวงการลงทุนแล้ว
แต่เขาก็ยังไม่เคยบริหารเงินทุนมาก่อน โดยคนที่ทำให้เขาเข้าสู่วงการนี้ไม่ใช่ใคร
เขาคนนั้นก็คือ Munger นั่นเอง ซึ่งพวกเขาได้รู้จักกัน
ในช่วงที่ Munger กำลังเข้าสู่วงการลงทุนแบบเต็มตัว
ช่วงเวลานั้น Munger เห็นว่า Guerin มีความสนใจในวงการการลงทุนอย่างมาก
จึงตัดสินใจชวนให้เขาเข้ามาทำงานร่วมกันที่บริษัทด้านการลงทุนของตน
และที่แห่งนี้เอง เป็นสถานที่ที่ทำให้เขาเข้าใจโลกการลงทุนมากยิ่งขึ้น
แม้ว่า Guerin จะไม่ได้จบสายการเงินหรือแม้กระทั่งสายธุรกิจ
แต่เขาสามารถเรียนรู้และเข้าใจเรื่องการลงทุนแบบเน้นคุณค่าได้อย่างรวดเร็ว
ขนาด Buffett เองยังยอมรับทักษะและความคิดด้านการลงทุนของเขา
หลังจากร่วมงานกับ Munger ไปสักระยะเวลาหนึ่ง จนเริ่มมีฝีมือ
Guerin ก็ออกมาบริหารกองทุนของตัวเอง ที่มีชื่อว่า “Pacific Partners”
สไตล์การลงทุนของ Guerin คือการเลือกกิจการพื้นฐานที่ดีและราคาที่ถูก
ตรงตามต้นตำรับการลงทุนเน้นคุณค่าของคู่หู Buffett และ Munger
และจากการที่เขามีแนวคิดการลงทุนและนิสัยใจคอที่ใกล้เคียงกัน
นั่นทำให้เขาได้กลายมาเป็นหุ้นส่วนกับ Berkshire Hathaway ในเวลาต่อมา
หากดูหุ้นในพอร์ตของเขาเทียบกับ Buffett และ Munger จะพบว่าคล้ายกันมาก
จากเรื่องนี้เองทำให้พวกเขาทั้งสามคนมักจะพูดคุยและร่วมเข้าซื้อกิจการด้วยกัน
การเข้าซื้อกิจการที่โด่งดังที่ Guerin มีส่วนสำคัญในการตัดสินใจคือ Blue Chip Stamps
Blue Chip Stamps เป็นบริษัทที่ทำคูปองส่วนลดให้แก่ร้านค้าปลีก เพื่อให้แต่ละรายนำไปแจกจ่ายให้ลูกค้าต่อ สำหรับการสร้าง Brand Loyalty
เหตุผลที่พวกเขาเข้าซื้อกิจการแห่งนี้เพราะว่า จะได้ใช้ Float ของบริษัทหรือเงินสดที่ได้รับจากการออกคูปอง แต่ยังไม่มีใครมาเคลม สำหรับเข้าซื้อกิจการอื่น ๆ ต่อไป
โดยกิจการที่ใช้เงินจาก Float ในการเข้าซื้อ ตัวอย่างเช่น
See's Candy ร้านขนมหวาน
Wesco Financial บริษัทด้านการเงิน
The Buffalo Evening News สำนักพิมพ์
การลงทุนเหล่านี้ล้วนสร้างผลตอบแทนดีและก็ได้กลายเป็นรากฐานของ Berkshire Hathaway ที่เรารู้จักในปัจจุบัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าการดีลครั้งนี้ ถือเป็นจุดสำคัญที่ทำให้ Berkshire Hathaway ยิ่งใหญ่ได้
อย่างไรก็ตาม แม้แนวทางการเลือกหุ้นของพวกเขาจะคล้ายกัน
แต่สิ่งที่ทำให้ Guerin แตกต่างออกไปคือ “การใช้มาร์จินในการซื้อหุ้น”
การใช้มาร์จิน คือ การกู้ยืมเงินจากโบรกเกอร์เพื่อนำมาซื้อหุ้น
ยกตัวอย่าง เช่น หากเรามีเงิน 100,000 บาท คิดว่าหุ้น A กำลังอยู่ในช่วงขาขึ้น
แต่เราอยากได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ก็เพียงกู้เงินจากโบรกเกอร์อีก 100,000 บาท
เพื่อเพิ่มอำนาจในการซื้อเป็น 2 เท่า
ถ้าหุ้นขึ้น 10% ปกติเราจะได้กำไร 10,000 บาท คิดเป็นผลตอบแทน 10%
แต่ถ้าใช้มาร์จิน เราจะได้กำไรเป็น 2 เท่า คิดเป็น 20,000 บาท ผลตอบแทนกลายเป็น 20%
ก่อนหักด้วยค่าดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงิน
ด้วยเหตุผลนี้จึงทำให้มีนักลงทุนหลายรายชอบใช้มาร์จินสำหรับการซื้อหุ้น
รวมถึง Guerin ก็เช่นเดียวกัน ที่ต้องการจะรวยได้อย่างรวดเร็ว
จากการใช้มาร์จินส่งผลให้กองทุนของเขาช่วง 8 ปีแรก
มีอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยถึง 55% ต่อปี
ซึ่งมีเพียงปีเดียวที่ขาดทุน และขาดทุนแค่ 7% เท่านั้น
หมายความว่าในช่วงเวลาดังกล่าว
หากใครที่นำเงินไปลงทุนในกองทุนของเขา มูลค่า 1,000,000 บาทเป็นระยะเวลา 8 ปี
เงินก้อนนั้นจะเติบโตเป็น 33,000,000 บาท เลยทีเดียว
อย่างไรก็ตาม เหรียญมีสองด้านเสมอ
หากมาร์จินสามารถสร้างผลตอบแทนที่มหาศาลแล้ว
ในทางกลับกัน มาร์จินที่ผิดทางก็ทำให้เราขาดทุนมหาศาล เช่นกัน
ดังนั้นเห็นได้ว่าการใช้มาร์จินมีความเสี่ยงอย่างมาก
เพราะถ้าหากเราทายผิด มีโอกาสขาดทุนอย่างมหาศาล
ซึ่งเหตุการณ์ที่น่ากลัวนี้เองได้เกิดขึ้นกับ Guerin ในที่สุด
เมื่อตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกาเผชิญกับวิกฤติช่วงปี 1973-1974
เนื่องจากนโยบายด้านเศรษฐกิจของประธานาธิบดี Richard Nixon
ไม่สามารถควบคุมเงินเฟ้อได้ ซ้ำร้ายยังเจอ OPEC ร่วมกันงดส่งออกน้ำมันไปยังสหรัฐอเมริกา
ส่งผลให้ในปี 1973 และ 1974 นักลงทุนต่างพากันวิตกกังวลและเทขายหุ้น
ดัชนี S&P จึงลดลงถึง 14.8% และ 26.4% ตามลำดับ
และด้วยความที่ Guerin ใช้มาร์จินเพื่อทวีคูณผลตอบแทน
แต่พอผิดทาง ผลตอบแทนของกองทุน Pacific Partners จึงติดลบหนักกว่าตลาด
ปี 1973 อัตราผลตอบแทนของ Pacific Partners อยู่ที่ -42%
ในขณะที่ปีต่อมา อัตราผลตอบแทนอยู่ที่ -34.4%
หากใครลงทุนเมื่อต้นปี 1973 ด้วยเงินจำนวน 1,000,000 บาท
สิ้นสุดปี 1974 จะเหลือเพียง 382,800 บาทเท่านั้น
จากเหตุการณ์ในครั้งนั้นส่งผลให้ Guerin โดนบังคับต้องขายหุ้นบางส่วนที่มีออกมา
เพื่อปิดสถานะการขาดทุนที่ถือเอาไว้
ซึ่งหนึ่งในหุ้นที่ขายออกมานั้นคือ Berkshire Hathaway
เรื่องนี้เอง ได้ทำให้ความเป็นพาร์ตเนอร์ของเขากับ Buffett และ Munger สิ้นสุดลง
โดยเขาได้ขายหุ้น Berkshire Hathaway คืนให้กับ Buffett ในราคาที่ต่ำกว่า 40 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น
ซึ่งถ้าเรามาดูราคาหุ้น Berkshire Hathaway ในปัจจุบัน
อยู่ที่ประมาณ 419,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น
หมายความว่าถ้า Guerin ไม่ได้ขายหุ้นออกไป การลงทุนของเขาก็เติบโตเป็น 10,475 เท่าในระยะเวลา 28 ปีหลังจากนั้น หากคิดอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจะสูงถึง 21% ต่อปี
นอกจากพอร์ตที่ย่ำแย่แล้ว เรื่องนี้ก็ส่งผลต่อชื่อเสียงของ Guerin อีกด้วย
นักลงทุนและหุ้นส่วนหลายคนสูญเสียศรัทธาเช่นเดียวกับ Buffett และ Munger
อย่างไรก็ตามหลังจากนั้น 2 ปีเขาก็สามารถฟื้นฟูผลตอบแทนกลับมาคืนทุนได้อีกครั้ง
ตั้งแต่ 1965 ถึง 1983 กองทุน Pacific Partners สร้างผลตอบแทนถึง 222 เท่า
คิดเป็นอัตราผลตอบแทนเฉลี่ย 33% ต่อปี
แต่ด้วยความที่ Guerin ไม่ได้มีส่วนร่วมใน Berkshire Hathaway อีกต่อไป
นั่นจึงทำให้ชื่อเสียงของเขานั้นค่อย ๆ จางลงและเลือนหายไปในที่สุด
ปิดท้ายด้วยข้อความที่ Buffett เคยกล่าวไว้ว่าตนและ Munger
รู้อยู่เสมอว่าจะกลายเป็นคนที่มั่งคั่งอย่างไม่น่าเชื่อ
พวกเขาจึงไม่รีบร้อนที่จะรวยให้เร็ว
ซึ่งต่างจาก Guerin ที่รีบร้อนเกินไป จึงทำให้เขาพลาดโอกาส ครั้งสำคัญ..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.valuewalk.com/rick-guerin/
-https://www.usatoday.com/story/money/2020/03/21/stock-market-collapse-how-does-todays-compare-others/2890885001/
-https://finance.yahoo.com/news/case-study-fall-rick-guerin-170021290.html
-https://www.lutz.us/nobody-talks-about-rick-anymore/
-https://www.jpguerin.com/obituary
-https://finance.yahoo.com/news/why-warren-buffetts-blue-chip-164748907.html
-หนังสือ Damn Right! Behind the Scenes with Berkshire Hathaway Billionaire Charlie Munger โดย Janet Lowe
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過31萬的網紅Spark Liang 张开亮,也在其Youtube影片中提到,[藍籌股真的可以取代定期存款嗎?] 現在銀行定存的利息越來越低 把錢放在銀行 就覺得錢一直的貶值 不划算 想投資又怕風險 有得說自己年齡比較大, 要選穩健優質的公司, 承受不到高風險投資。 有些說自己是投資新手, 不知道如何開始投資 如何找穩定回報低風險的項目, 不求大賺, 但求可以穩定的讓資產...
「blue chip stock」的推薦目錄:
blue chip stock 在 Facebook 的最佳貼文
Sementara nak tunggu lockdown habis dan kena duduk rumah boleh rilek-rilek layan video-video ni.
Video 1 : Apa Itu Saham?
Video 2 : Wajib Buka Akaun CDS
Video 3 : Apa Itu CDS?
Video 4 : Tanggungjawab Berzakat Ke Atas Pelaburan
Video 5 : Trading Plan
Video 6 : Apa Yang Seronok Pasal Saham Ini?
Video 7 : Contoh Kajian Saham (AJINOMOTO)
Video 8 : Labur Vs Judi
Video 9 : Formula Shares
Video 10 : Modal vs Pulangan (ROI)
Video 11 : Apakah Maksud Pelaburan Guarantee Untung?
Video 12 : Apa Itu Broker Saham?
Video 13 : Cara Cari Broker Saham
Video 14 : Cara Semak Saham Patuh Syariah
Video 15 : 7 Kelebihan Melabur di Bursa Malaysia
Video 16 : Apa Itu Bursa Marketplace?
Video 17 : Tabung Pengurusan Wang T.Harv Ecker
Video 18 : 12 Cara Menyimpan Wang Untuk Melabur
Video 19 : 4 Jenis Kos Semasa Membeli Saham
Video 20 : 5 Tips Pelabur Saham Untuk Newbie
Video 21 : Apa Maksud Jerung Dalam Pelaburan Saham
Video 22 : Apa Itu Saham Blue Chip?
Video 23 : Cara Kira Pulangan (ROI)
Video 24 : Apa Itu Share Split?
Video 25 : Apa Itu FBMKLCI?
Video 26 : 5 Emosi Dalam Saham
Video 27 : 5 Mitos Yang Sampai Sekarang Orang Percaya
Video 28 : 9 Tanda Anda Dah Bersedia Nak Menjadi Pelabur Saham
Video 29 : Apa Itu Bull Market?
Video 30 : Apa Itu Bear Market?
Video 31 : Cara Beli Saham Menggunakan Platform RHB Tradesmart
Video 32 : Cara Jual Saham Dengan Menetapkan Good Till Date Menggunakan Platform RHB Tradesmart
Video 33 : Cara Jual Saham Dengan Set Stop Loss
Video 34 : Apa Itu Bonus Issue?
Video 35 : Apa Itu Dividen?
Video 36 : Contoh Pengiraan Dividen
Video 37 : Cara Baca Portfolio
Video 38 : Apa Itu Papan Utama, Papan Ace & Leap?
Video 39 : Pedagang vs Pelabur
Video 40 : Apa Itu IPO?
Video 41 : Apa Itu Waran?
Video 42 : Apa Beza Analisis Fundamental Dengan Analisis Teknikal?
Video 43 : Cara Mudah Jual Beli Saham Guna Smartphone (RHB TRADESMART)
Video 44 : Cara Cari Saham Bawah Nilai
Video 45 : Waran VS Waran Berstruktur
Video 46 : 7 Dosa Besar Pelabur Saham
Video 47 : Apa Itu Analisis Teknikal?
Video 48 : Apa Itu Trading Plan?
Video 49 : Cara Cari Saham Ikut Sektor
Video 50 : 6 Jenis Trading Skill
Video 51 : Cara Daftar Akaun CDS Melalui Online
Video 52 : 3 Perkara Penting Dalam Trading Plan
Video 53 : Apa Beza Akaun CDS dan Akaun Trading
Video 54 : 4 Mindset Pelabur Bijak Yang Perlu Anda Ada
Video 55 : Apa Beza Remisier Dan Broker?
Video 56 : 4 Tips Nak Beli Saham Hebat
Video 57 : Cara Keluarkan Duit Dari Akaun Trading Dengan Menggunakan RHB Tradesmart
Video 58 : Apa Itu Penny Stock?
Video 59 : Dah tahu ke belum? (QL Resources)
Video 60 : Acah kaya Vs Bakal Kaya
Video 61 : 3 Jenis Dividen
Video 62 : Tips Pelabur Bijak (Right Mindset)
Video 63 : 5 langkah untuk mula melabur saham
Video 64 : Apa Itu Jerung? (THMA)
Video 65 : Cara Cari Senarai Dividend Syarikat di Bursa Malaysia
Video 66 : 5 Kesilapan Kewangan Anak Muda
Video 67 : Apa Itu Saham Blue Chip? (THMA)
Video 68 : Tips Pelabur Bijak (Right Management)
Video 69 : 5 Aplikasi Yang Anda Perlu Ada Dalam Telefon
Video 70 : Apa Itu Bonus Issue? (THMA)
Video 71 : Apa Itu Right Issue? (THMA)
Video 72 : Bagaimana Paras Sokongan Dan Paras Rintangan Berfungsi?
Video 73 : Apa Itu Trading Plan? (THMA)
Video 74 : Cara Cari Senarai Bonus Issue Syarikat
Video 75 : Dah Tahu Ke Belum? (Duopharma Biotech Berhad)
Video 76 : Apa Itu Share Split? (THMA)
Video 77 : Labur Saham vs Skim Cepat Kaya
Video 78 : 3 Prinsip Ke Arah Hidup Lebih Baik
Video 79 : Cara Kira Zakat Saham
Video 80 : 5 Soalan Popular Tentang Pelaburan Saham (Siri 1)
Video 81 : 5 Soalan Popular Tentang Pelaburan Saham (Siri 2)
Video 82 : 5 Sebab Kenapa Pelaburan Saham Best
Video 83 : Dah Tahu Ke Belum? (Solarvest Holding)
Video 84 : 5 Sebab Kenapa Pelaburan Saham Best (Siri 2)
Video 85 : 5 Persediaan Sebelum Nak Jadi Pelabur Saham
Video 86 : 10 Terma Pasaran Saham Untuk 'Beginner' (Siri 1)
* Lepas download hanya perlu update details di app untuk unlock Video Ekstra)
Ada ilmu basic dan intermediate. Mereka yang sekarang berjaya raih pulangan yang baik di pasaran saham juga bermula dengan ilmu-ilmu basic.
Muat turun aplikasi LABUR SAHAM di App Store & Google Play ok? Tag kawan-kawan yang minat nak belajar saham sama-sama.
blue chip stock 在 強尼金口筆譯教學日記 Facebook 的最讚貼文
▌時事英文 ▌
股海茫茫,誰現在也住公園 🤣
股票相關單字中英日大對照
1. 股票(股數):Share(s) of Stock:株(かぶ)
2. 劇烈震盪:Bumpy / Fluctuate Violently:乱高下(らんこうげ)する
3. 成交量:Trading Volume:出来高(できだか)
4. 內線交易:Insider Trading:インサイダー取引(とりひき)
5. 股東:Principal / Shareholder:株主(かぶぬし)
6. 暴跌: Collapse / Slump / Drop Sharply:暴落(ぼうらく)する
7. 暴漲:Jump / Boom / Soar / Skyrocket:暴騰(ぼうとう)する
8. 套牢:Underwater / Tied Up:水浸し(みずびたし)、塩漬け(しおづけ)
9. 零股:Odd Lot:端株(はかぶ)、単位未満株(たんいみまんかぶ)
10. 道瓊工業指數:Dow Jones Industrial Average:ダウ平均株価(へいきんかぶか)
11. 那斯逹克:NASDAQ Composite:ナスダック
13. 跌幅: Fall / Decline:下げ幅(さげはば)
14. 漲停:Limit Up:ストップ高(だか)
15. 跌停:Limit Down:ストップ安(やす)
16. K 線圖:Candlestick Chart:ロウソク足チャート
17. 開盤價:Ex-Distribution:始値(はじめね)
18. 收盤價:Close:終値(おわりね)
19. 壓力線:Resistance Line:抵抗線(ていこうせん)
20. 支持線:Support Line:支持線(しじせん)
21. 跌破最低大關:Fall Below the Mark:底を割る(そこをわる)
22. 疲軟:Weak:軟調(なんちょう)
23. 利多消息:Good / Bullish / Positive /Favorable News:好材料(こうざいりょう)
24. 利空消息:Bad / Bearish / Negative / Unfavorable News:悪材料(あくざいりょう)、不安材料(ふあんざいりょう)
25. 分析師:Stock Analyst:アナリスト
26. 股利、股息:Dividend:配当金(はいとうきん)
27. 散戶:Retail Players / Retail Investors / Individual Investors:個人投資家(こじんとうしか)
28. 法人股東:Corporate Shareholder:機関投資家(きかんとうしか)
29. 投機客:Speculator:スペキュレーター
30. 前景:Outlook:先行き(さきゆき)
31. 上市企業:Listed Company:上場企業(じょうじょうきぎょう)
32. 回升反彈:Rebound:反発する(はんぱつする)
33. 停損:Stop Loss:損切(そんぎり)
34. 獲益了結:Book Profit / Lock in Profits / Profit-Taking:利益確定(りえきかくてい)
35. 槓桿:Leverage / Gearing:レバレッジ
36. 資本利得:Capital Gain:キャピタルゲイン
37. 攤平成本買進:Average Down / Add to a Losing Position:ナンピン買い(がい)
38. 本益比:Price-Earnings Ratio:株価収益率(かぶかしゅうえきりつ)
39. 基本面:Fundamentals:ファンダメンタルズ
40. 技術面:Technicals:テクニカル
41. 每股盈餘:Earnings Per Share:一株あたりの利益
42. 稅後盈餘:Net Income after Tax:税引き後利益(ぜいびきごりえき)
43. 漲跌幅限制:Price Limit:値幅制限(ねはばせいげん)
44. 毛利率:Gross Margin:粗利率(あらりりつ)
45. 產能利用率:Capacity Utilization:生産稼働率(せいさんかどうりつ)
46. 高處脫手:Sell at a High Point:売り抜け(うりぬけ)
47. 全年展望:Stock Market Outlook of the Year:通年の見通し(つうねんのみとおし)
48. 牛市:Bull Market:強気相場(つよきそうば)
49. 熊市:Bear Market:弱気相場(よわきそうば)
50. 多頭氣氛:Bull Position:強気(つよき)ムード
51. 空頭氣氛:Bear Position:弱気(よわき)ムード
52. 觀望氣氛:Wait-and-see Position:様子見(ようすみ)ムード
53. 下市:Delisting:上場廃止(じょうじょうはいし)
54. 熱門股:Popular Stock:人気株(にんきかぶ)
55. 績優股:Blue Chip:優良株(ゆうりょうかぶ)
56. 科技股:Technology Stock:ハイテク株
57. 概念股:Concept Stock:関連株(かんれんかぶ)
58. 總市值:Market Capitalization:時価総額(じかそうがく)
59. 以美元計價:Dollar-Denominated:ドル建て(だて)
60. 買超:Overbought:買いこし
61. 賣超:Oversold:売りこし
62. 損益平衡點:Break-even Point:損益分岐点(そんえきぶんきてん)
63. 護盤:Boost Market Confidence / Engage in Price Stabilization:買い支え(かいささえ)
64. 恐慌性賣壓:Panic Selling:パニック売り(うり)
65. 股票選擇權:Stock Option:ストックオプション
66. 股價創新低:Touch Another Low:安値を更新する(やすねをこうしんする)
67. 黃金交叉:Golden Cross:ゴールデンクロス
68. 死亡交叉:Death Cross:デッドクロス
#翻譯日常 #翻譯 #筆譯 #口譯 #自由譯者 #自由業 #英文 #中文
blue chip stock 在 Spark Liang 张开亮 Youtube 的精選貼文
[藍籌股真的可以取代定期存款嗎?]
現在銀行定存的利息越來越低
把錢放在銀行
就覺得錢一直的貶值
不划算
想投資又怕風險
有得說自己年齡比較大,
要選穩健優質的公司,
承受不到高風險投資。
有些說自己是投資新手,
不知道如何開始投資
如何找穩定回報低風險的項目,
不求大賺,
但求可以穩定的讓資產增值
就有聽過人家說
藍籌股很穩定,
有些每年又可以分到股息,
感覺把錢投資在藍籌股是一個好的選擇。
真的是這樣嗎?
影片中我會分享
藍籌股是否可以取代定存?
影片概括:
0:00 Start
0:30 什麽是藍籌股
1:37 藍籌股例子
3:44 藍籌股可以取代定存?
4:35 為什麼不該追求穩定投資?
5:07 30年下來如果把錢放在定期存款會怎麼樣?
6:34 通貨膨脹,錢貶值了,有什麼不好的影響?
7:58 是不是應該追求風險和最大的投資回報率?
10:08 投資藍籌股應該怎麽做?
10:53 總結
.
獲取我的獨家理財貼士
http://bit.ly/get-spark-financial-tips
.
【免費】股票投資工作坊 - 從0開始學股票
http://bit.ly/join-free-webinar-now
.
🔥點擊連結瞭解更多詳情或購買🔥
https://valueinmind.co/zh/sparks/
.
我們需要人才
我們需要你
向我們展現你不可多得的能力與實力
數不盡的各種公司福利就等你
點擊鏈接提交求職申請:https://valueinmind.co/join-us/
.
🔥【Etoro】Spark 投資組合和表現 🔥
http://bit.ly/31FPXEz
.
全世界都可以用
eToro申请链接
简体
https://bit.ly/2NkOlen
繁體
https://bit.ly/3eqlZLG
英文
https://bit.ly/2Z5uAwV
.
免責聲明:
高波動性投資產品,您的交易存在風險。過往表現不能作為將來業績指標。
視頻中談及的內容僅作為教學目的,而非是一種投資建議。
.
👇更多相關影片👇
如何防止上當受騙?
https://bit.ly/2CAmmVV
.
大學白讀了!為什麼我不鼓勵讀大學?
https://bit.ly/2zM0MN8
.
MRTA MLTA絕對不要買!
https://bit.ly/2zIOOns
.
⚡ Spark 的 Facebook 很熱閙
http://bit.ly/2X3Cgwr
.
⚡Spark 的 YouTube 很多教學
http://bit.ly/2KMqMvR
.
⚡Spark 的 Instagram 很多八卦
http://bit.ly/31YMLon
.
⚡理财交流站
http://bit.ly/finspark-group
.
⚡美股交易交流区
http://bit.ly/finspark-foreign-stocks
#投资教学 #蓝筹股 #定期存款
blue chip stock 在 TD U.S. Blue Chip Equity Fund 的推薦與評價
The fundamental investment objective is to achieve long- term capital growth by investing primarily in common stocks of large and medium- sized blue chip ... ... <看更多>